You are on page 1of 114

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒


ชุดวรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านจับใจความ เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ................................... ผู้ใช้ แผน นางสุ ปรียา ปานเมือง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ
แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๑ การอ่ าน
 บทเรี ยน เรื่ อง “เก่งใหญ่ กับ เก่งเล็ก”
 การตอบคำถาม
การจับใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่านเป็ นการบันทึกความจำเรื่ องราวที่ผา่ นทาง
ประสาทตา บันทึกไว้ในห้วงมโนทัศน์ เพื่อเตรี ยมพร้อมที่จะถ่ายโอนสาระที่อ่านไปสู่ ผนื่ ได้
ด้วยสำนวนภาษาของตนเอง
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการอ่าน
- ความสามารถในการเก็บสาระสำคัญ
- ความสามารถในการตอบคำถาม

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนจับใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่านได้
๓.๒ นักเรี ยนตั้งคำถาม - ตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่านได้
๓.๓ นักเรี ยนนำข้อคิดจากเรื่ องมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒ ให้นกั เรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน บทที่ ๓ รื่ นรสสักวา จำนวน
๒๐ ข้อ เสร็ จแล้วครู ตรวจสอบความถูกต้อง ประกาศผลเป็ นคะแนนให้นกั เรี ยนทราบโดยที่
ยังไม่ตอ้ งเฉลย
๗.๓ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่ อง “รื่ นรสสักวา” พร้อมกันแล้วช่วยกันอภิปราย
เนื้อหาของเรื่ อง เขียนสรุ ปแล้วส่ งตัวแทนออกมาอ่านบทสรุ ปที่หน้าชั้นเรี ยนทีละกลุ่ม
๗.๔ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านบทร้อยกรอง “ สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน” แล้ว
ตอบคำถามและสรุ ปเรื่ องโดยใช้สำนวนของนักเรี ยนเพิม่ เติม เสร็ จแล้วส่ งตัวแทนอ่านที่หน้า
ชั้นเรี ยน
๗.๕ นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนสรุ ปใจความสำคัญ นำ
ส่ งครู ตรวจสอบและประเมินผลงาน
๗.๖ นักเรี ยนทุกคนทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๒ ( ท้ายแผน ) ชุด ตั้งคำถาม – ตอบคำถาม
เตรี ยมอ่านนำเสนอหน้าชั้นเรี ยนในชัว่ โมงต่อไป
๘. สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้ / บุคคล
รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งที่ได้ มา
ลำดับที่
๑ บัตรคำศัพท์ นักเรี ยนเรี ยนรู ้ค ำศัพท์และบอก ครู จดั เตรี ยม
ความหมาย
๒ แบบทดสอบก่อนเรี ยน นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน ครู จดั ทำ
๓ บทอ่าน นักเรี ยนฝึ กอ่านจับใจความ ครู จดั เตรี ยม
๔ แบบฝึ กหัดชุดที่ ๑ นักเรี ยนทำใบงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๕ แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒ นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ครู จดั ทำ
๖ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
ลำนำ ชั้น ป.๒
๗ เฉลยแบบฝึ กหัด ตรวจสอบแบบฝึ กหัด ครู จดั ทำ
๘ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๙ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม และ ครู จดั ทำ
พฤติกรรม และแบบประเมิน บันทึกผลงานรายบุคคล
ผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน
กิจกรรมที่ประเมิน การประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบประเมินการสังเกต ๑๖ = ดีมาก
คุณลักษณะ พฤติกรรม และแบบ สังเกตรายบุคคล ๑๓ – ๑๕ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๐ = ปรับปรุ ง
๒. นักเรี ยนเขียนสรุ ปเรื่ อง แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๕ = ดีมาก
๔ = ดี
๓ = พอใช้
ต่ำกว่า ๓ = ปรับปรุ ง
๓. นักเรี ยนทำ แบบประเมินการสังเกต ๑๘ - ๒๐ = ดีมาก
แบบทดสอบก่อนเรี ยน พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุคคล ๑๖ – ๑๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๒ – ๑๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๒ =
ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑ สังเกตรายกลุ่ม ๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินการสังเกต ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๒ พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุคคล ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
………….
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
…………………….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………..………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ ๓

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว


๑. บ้านของลุงตลับอยูท่ ี่ใด
ก. ท้ายตลาด ข. ท้ายวัด
ค. ริ มตลิ่ง
๒. ลุงตลับมีอาชีพใด
ก. ทำนา ข. ค้าขาย
ค. ทำจักสาน
๓. ลุงตลับแสดงสิ่ งใดให้เด็กดูและฟัง
ก. เล่านิทาน ข. ร้องเพลงพื้นบ้าน
ค. เล่นลิเก
๔. บทร้องใดที่ลุงตลับไม่ได้ให้เด็กๆฟัง
ก. ลิเก ข. เพลงฉ่อย
ค. บทสักวา
๕. บทสักวาขึ้นต้นด้วยคำใด
ก. เอ๋ ย ข. เอย
ค. สักวา
๖. ลำตัดนิยมเล่นกันที่ภาคใดของไทย
ก. ภาคกลาง ข. ภาคใต้
ค. ภาคอีสาน
อ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม ข้อ ๗ – ๑๐

“ สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน
ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
กลิ่นประเทียบเปรี ยบดวงพวงพะยอม
อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
แม้ลอ้ ลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม
ดังดูดดื่มบอระเพ็ดที่เข็ดขม
ผูด้ ีไพร่ ไม่ประกอบชอบอารมณ์
ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย”

๗. บทร้อยกรองนี้ มีใจความเกี่ยวกับเรื่ องใด


ก. คำพูด ข. บอระเพ็ด
ค. ดอกพะยอม
๘. คำว่า พจมาน หมายถึงสิ่ งใด
ก. ชื่อดอกไม้ ข. ชื่อผูห้ ญิง
ค. คำพูด
๙. คำพูดหวานเปรี ยบได้กบั สิ่ งใด
ก. ความหอมของดอกไม้ ข. ความหอมของผูห้ ญิง
ค. ความขมของบอระเพ็ด
๑๐. คำพูดไม่ดี เปรี ยบได้กบั สิ่ งใด
ก. เสี ยงสายลม ข. ความขมของบอระเพ็ด
ค. ความเหม็นของดอกไม้
๑๑. คำใดที่มีความหมายแตกต่างจากคำอื่นมากที่สุด
ก. ปลาบปลื้ม ข. เปรี ยบเปรย
ค. ปลื้มใจ

๑๒. คำใดตรงกับรู ปภาพนี้


ก. เล่นเพลงฉ่อย ข. เล่นลำตัด
ค. เล่นสักวา
๑๓. คำว่า “ ชิวหา” หมายความว่าอย่างไร
ก. ค้นหาสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด ข. ลิ้น
ค. คิว้ และตา
๑๔. คำในข้อใดเป็ นชื่อนก
ก. กาหลง ข. ประทิ่น
ค. ดุเหว่า
๑๕. คำใดเป็ นชื่อภาชนะใส่ ของ
ก. กระบุง ข. กระเดือก
ค. กระดาก
๑๖. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ บอระเพ็ด”
ก. ของขม ข. เกร็ ดนิทาน
ค. พวงพะยอม
๑๗. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ พจมาน”
ก. พวงพะยอม ข. สักวา
ค. ที่หวานหอม
๑๘. คำใดออกเสี ยงแตกต่างจากคำอื่นมากที่สุด
ก. ตลับ ข. ตลาด
ค. ตะลุง
๑๙. “รู งู เลื้อย ลง” เรี ยงเป็ นประโยคได้อย่างไร
ก. เลื้อยงูลงรู ข. งูเลื้อยลงรู
ค. งูลงรู เลื้อย
๒๐. คำใดมีความหมายในทางที่ไม่ดี
ก. ปลาบปลื้ม ข. ประทิ่น
ค. หยามหยาบ

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยน บอกข้อคิดจากการอ่าน เรื่ อง รื่ นรสสักวา ใน
กรอบข้างล่างนี้

………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……………………………………………………

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้

๑. บ้านของลุงตลับอยูท่ ี่ใด
๒. ลุงตลับมีอาชีพใด
๓. ลุงตลับชอบความบันเทิงใดบ้าง
๔. ลุงตลับแสดงสิ่ งใดให้เด็กดูและฟัง
๕. ในสมัยโบราณบทสักวานิยมร้องกันในโอกาสใด
กระดาษคำตอบ
.....................................................................................................................
..................................................................................................................... .....
................................................................................................................ ..........
........................................................................................................... ...............
...................................................................................................... ....................
................................................................................................. .........................
............................................................................................ ..............................
....................................................................................... ...................................
..................................................................................

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม

ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านนิทาน
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๑ การอ่ านจับใจความสำคัญ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบทดสอบก่ อนเรียน
การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๔๐ – ๔๔ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๙ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง บทสั กวา เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ................................... ผู้ใช้ แผน นางสุ ปรียา ปานเมือง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑ .๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหา
และสร้างวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- อ่านทำนองเสนาะบทสักวา
- การอธิบายความหมายของบทสักวา
สักวา เป็ นคำประพันธ์ที่แต่งด้วยกลอนแปด ขึ้นต้นด้วยคำว่า สักวา ลงท้ายด้วย
เอย
ในสมัยโบราณเป็ นกลอนลำนำสำหรับใช้ขบั ร้องโต้ตอบกันระหว่างหญิงกับชาย เพือ่ ให้เกิด
ความบันเทิงในช่วงว่างจากงาน
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๒. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๒.๑. นักเรี ยนอ่านบทสักวาได้
๒.๒. บอกความหมายของบทสักวาได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๒ เป็ นผูน้ ำและผูต้ ามที่ดีได้
๕.๓ เลือกอ่านบทร้อยกรองที่มีคุณค่าได้
๕.๔ กล้าแสดงออกในทางที่ดี
๕.๕ มีความขยันประหยัดและอดทน
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. การเขียนบทสักวา
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู เปิ ดเทป / ซีดี บทร้องสักวาที่ครู เตรี ยมมาให้นกั เรี ยนฟัง แล้วซักถาม
นักเรี ยน
เกี่ยวกับบทร้องสักวา ด้วยคำถามที่ครู ต้ งั ขึ้นมาเอง
๗.๓. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านเนื้อหาในบทที่ ๓ รื่ นรสสักวา ในหนังสื อเรี ยนชุด
ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล ำนำ ชั้น ป. ๒ หน้า ๒๕ – ๒๙ โดยอ่านออกเสี ยงต่อกันกลุ่ม
ละ
๑ ย่อหน้า
๗.๔. แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนกลุ่มศึกษาใบความรู ้ เรื่ องบทสักวา ( ท้ายแผน ) จาก
นั้น
ตั้งคำถามให้กลุ่มอื่นตอบกลุ่มละ ๓ คำถาม
๗.๕. ครู สาธิตการอ่านบทสักวาเป็ นทำนองเสนาะ โยอ่านบทสักวาในหนังสื อเรี ยน
วรรณคดีล ำนำ หน้า ๒๖ จากนั้นนักเรี ยนฝึ กอ่านทำนองเสนาะพร้อมกัน และอ่านทีละกลุ่ม
๗.๖. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓ ( ท้ายแผน ) ชุด บอกความหมายบทสักวา
เสร็ จ
แล้วนำส่ งครู ตรวจสอบและประเมินผลงาน
๗.๗. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔ ( ท้ายแผน ) ชุดตอบ
คำถาม
จากภาพ
๗.๘. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนไปทำแบบฝึ กที่ ๕ ( ท้ายแผน ) ชุดหาความ
หมาย
คำศัพท์ที่ก ำหนดให้เป็ นการบ้านนำมาส่ งและตรวจสอบในชัว่ โมงต่อไป
๗.๙. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปบทเรี ยนเรื่ อง บทสักวา
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. เทป / ซีดี
๒. บทสักวา
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓ – ๕
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - แบบบันทึกการอ่าน - บทสักวา
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การบอกความหมายบทสักวา - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านบทสักวามีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ทำนองเสนาะ ชัดเจนและได้ลีลาจังหวะดีมาก
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง อ่านได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ทำนองเสนาะ ชัดเจน
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านได้ไม่ค่อยถูกต้องตาม
หลักการอ่านทำนองเสนาะ
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรูเ้ รื่องบทสักวา

บทสักวา มาจากคำเดิมว่า “ สักวาทะ” หรื อ “ สักวาที” มีความหมาย


เป็ นสองอย่างคือ ประการแรก เป็ นคำประพันธ์ที่แต่งด้วยกลอนแปดบทหนึ่ง
มีแปดวรรค ขึ้นต้นด้วยตำว่า “ สักวา” ลงท้ายด้วย “เอย” อีกประการหนึ่ง
หมายถึง กลอนลำนำสำหรับขับร้องโต้ตอบกันระหว่างหญิงและชายขับร้อง
ในทำนองลำพระทองบ้าง ทำนองอื่นบ้าง โดยประดิษฐ์เสี ยงให้ไพเราะ
ประวัติการเล่นสักวาพบว่า มีการเล่นสักวาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา
เช่นเดียวกับการเล่นเพลงดอกสร้อย ครั้นถึงสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ พระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก หลังสถาปนากรุ งเทพฯ ขึ้นเป็ นเมืองหลวง
แล้วได้โปรดให้ขดุ คลองมหานาคขึ้น สำหรับชุมนุมเล่นสักวาในฤดูน ้ำนอง
ในสมัยรัชการที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั การเล่นสักวาเจริ ญ
ถึงขั้นสูงสุ ดมีผนู้ ิยมเล่นกว้างขวาง โดยเฉพาะงานฉลองวัดราชโอรส พ.ศ.
๒๓๗๔ การเล่นสักวามีมากกว่าการแสดงอื่นๆ ด้วยมีผบู้ อกสักวาล้วนแต่
เป็ นคนที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ สุ นทรภู่ หลวงจักปาณี ( ฤกษ์ ) กรมหลวงภูวเนตร
นริ นทร์ฤทธิ์ ส่ วนที่เป็ นหญิงก็มีคุณพุม่ หรื อบุษบาท่าเรื อจ้าง
กับอำแดงสี ทอง แต่การเล่นสักวาเริ่ มซบเซาลงในสมัยรัชกาลที่ ๔ ครั้นถึง
สมัยรัชกาลที่ ๕ พระองค์ทรงฟื้ นฟูข้ ึนมาใหม่ จัดให้มีการแสดงการเล่น
สักวาหน้าพระที่นงั่ หลายครั้ง ทั้งที่บริ เวณสระน้ำพระราชวังบางปะอิน
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ที่พระที่นงั่ สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
ในสมัยก่อนนิยมเล่นสักวาบนเรื อกลางน้ำระหว่างฝ่ ายหญิงและฝ่ ายชาย
ฝ่ ายละเท่าๆกัน ปัจจุบนั การมีเล่นสักวาเพือ่ อนุรักษ์ไว้เท่านั้น

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอธิบายความหมายของบทสักวาต่อไปตามความเข้าใจ

อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้ นซาก
แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย
แม้นเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย
เจ็บจนตายนั้นเพราะเหน็บให้เจ็บใจ
เป็ นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก
จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา
จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มดูภาพแล้วตอบคำถามต่อไปนี้

๑. ในภาพนี้น่าจะเป็ นการละเล่นชนิดใด
............................................................................................................
๒. มีวิธีการเล่นอย่างไร
............................................................................................................
๓. ประวัติความเป็ นมาของการเล่นชนิดนี้มีอย่างไรบ้าง
............................................................................................................
............................................................................................................
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกความหมายของคำต่อไปนี้


ที่ คำ ความหมาย
๑ กฐิน
๒ กระบุง
๓ กระมล
๔ ชิวหา
๕ ตลิ่ง
๖ เตลิด
๗ ประทิ่น
๘ พจมาน
๙ สกุณา
๑๐ ระอา
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านทำนองเสนาะ
๒. การตั้งคำถาม – ตอบคำถาม
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๒ บทสั กวา
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓ – ๔


มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕


มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านออกเสี ยง รื่นรสสั กวา เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ................................... ผู้ใช้ แผน นางสุ ปรียา ปานเมือง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑ .๑ กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหาและ
สร้างวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ได้ถูกต้อง
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๑ การอ่ าน
- บทอ่านเสริ มทบเรี ยน เรื่ อง รื่ นรสสักวา
- การอภิปรายแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม
- การคัดลายมือ
การอ่านเสริ มทบเรี ยนเป็ นการอ่านฝึ กทักษะในการอ่านออกเสี ยง ต้องอ่านออกเสี ยง
ให้ถูกต้องชัดเจน และปฏิบตั ิตนในการอ่านถูกต้อง จึงจะทำให้ผเู้ รี ยนสามารถแสดงความคิด
เห็นและตอบคำถามได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การอ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องและชัดเจน
๓.๒. การแบ่งวรรคตอน จังหวะการอ่าน และอ่านเหมือนเสี ยงธรรมชาติ
๓.๓. การอภิปราย แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามได้
๓.๔. การคัดลายมือ ได้สวยงาม ถูกต้อง สะอาด และเป็ นระเบียบ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. การตอบคำถาม
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒ ครู ให้นกั เรี ยนอ่านบทกลอนเกี่ยวกับการพูด ดังนี้


เป็ นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก
จะได้ยากโหยหิ วเพราะชิวหา
แม้นพูดมีคนเขาเมตตา
จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
๗.๓ ครู และนักเรี ยนช่วยกันอธิบายความหมาของเนื้ อหา
๗.๔ ให้นกั เรี ยนดูรูปภาพในบทเรี ยนเรื่ อง รื่ นรสสักวา แล้วอธิบายเกี่ยวกับภาพว่า
มี
ใคร ที่ไหน และอย่างไร
๗.๕ ให้นกั เรี ยนอ่านบทเรี ยน รื่ นรสสักวาพร้อม ๆ กัน
๗.๖ ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรี ยนเกี่ยวกับการพูดจา
ไพเราะ และไม่ไพเราะ
๗.๗. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนแผนภาพความคิดโดยทำแบบฝึ กหัด
ชุดที่ ๖
๗.๘. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปถึง ประโยชน์ของการพูดดีและโทษของการพูดไม่
ดี
๗.๙. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗ แล้วออกมานำเสนอผลงาน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. รู ปภาพ
๒. หนังสื อเรี ยนชุดภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล ำนำ
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - สังเกตการอ่าน - บทสักวา
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การเล่าเรื่ อง - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสี ยงมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านออกเสี ยงได้ชดั เจน ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้ดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้พอใช้
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตาม
อักขรวิธี มีผดิ พลาดบ้าง วางบุคลิกในการอ่านไม่ค่อยดี
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำอ่านของคำต่อไปนี้
ที่ คำ อ่านว่า
๑ กฐิน
๒ ตลับ
๓ ตลอด
๔ ตลาด
๕ ตลิ่ง
๖ เตลิด
๗ สักวา
๘ พจมาน
๙ สกุณา
๑๐ เข็ดขยาด
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนบอกประโยชน์ของการพูดจา


สุ ภาพไพเราะและโทษของการพูดคำหยาบ

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านข่าว
๒. การพูดเล่าเรื่ อง
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๓ การอ่ านออกเสี ยง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านสะกดคำ เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย นางสุ ปรียา ปานเมือง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑ .๑ กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหาและ
สร้างวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ได้ถูกต้อง
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การอ่านออกเสี ยงชวนอ่าน ชวนคิด
- การเรี ยงคำให้เป็ นประโยค
การอ่านสะกดคำ เป็ นการอ่านสะกดคำที่มีแจกลูกสะกดคำ ตามหลักเกณฑ์ของ
ภาษาจะทำให้ผเู้ รี ยนอ่านเขียน ได้ถูกต้อง
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อ่านออกเสี ยงแจกลูกสะกดคำได้ถูกต้อง
๓.๒. เขียนแจกลูกสะกดคำได้ถูกต้องและคล่องแคล่ว
๓.๓. เรี ยงคำให้เป็ นประโยคได้ถูกต้อง
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. การเขียนสะกดคำ
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. ทบทวนคำยากในบทเรี ยนโดยใช้บตั รคำ จัดแบ่งกลุ่มร่ วมกัน สนทนา


ความหมายของคำ และนำคำมาแต่งประโยค ๑ คำ โดยให้ตวั แทนกลุ่มมาแต่งประโยคปาก
เปล่าหน้าชั้นเรี ยน
๗.๓. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงแจกลูกสะกดคำ โดยใช้แผนภูมิให้นกั เรี ยนฟังและ
สังเกต
การออกเสี ยง
๗.๔. นักเรี ยนฝึ กอ่านตามครู ให้คล่อง เน้นการออกเสี ยงให้ถูกต้อง (หน้า ๓๑
หนังสื อวรรณคดีล ำนำ ป. ๒)
น้อมกาย น้อมจิต น้อมใจ น้อมนำ
ประทัง ประทับ ประเทียบ ปราบปลื้ม
เปรี ยบเปรย เปรี ยบเทียบ เปรี ยบประดุจ เปรี ยบเหมือน
พจี วจี พจนา พจมาน
ลมปาก ลมปลิว ล้อเลียน ล้อหลอก
หยาบหยาม หยามน้ำหน้า หยามน้ำใจ
๗.๕. นักเรี ยนฝึ กอ่านเองเป็ นกลุ่มและรายบุคคลจนคล่องแคล่วคัดลงสมุด
๗.๖. หมดเวลาเรี ยนส่ งตัวแทนกลุ่มนำเสนอความรู ้ในบทเรี ยนที่หน้าชั้นเรี ยนครู คอย
เสนอแนะเพิม่ เติมให้
๗.๗. นักเรี ยนอ่านบทกลอนเกี่ยวกับการพูดแล้วอภิปรายความหมาย
๗.๘. นักเรี ยนทำแบบฝึ กที่ ๘ ( ท้ายแผน ) แล้วอ่านพร้อมกัน
๗.๙. นักเรี ยนอ่านบทสักวาในแบบฝึ กหัดที่ ๙ ( ท้ายแผน ) จากนั้นเรี ยงคำให้
เป็ น
ประโยคในแบบฝึ กหัดชุดเดียวกัน
๗.๙. นักเรี ยนอ่านคำที่เรี ยนไปทั้งหมด
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. รู ปภาพ
๒. หนังสื อเรี ยนชุดภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล ำนำ
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการอ่าน - บทอ่าน
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การอ่านสะกดคำ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านสะกดคำมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านสะกดคำได้ชดั เจน ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้ดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านสะกดคำได้ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้พอใช้
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านสะกดคำได้ถูกต้องตาม
อักขรวิธี มีผดิ พลาดบ้าง วางบุคลิกในการอ่านไม่ค่อยดี
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่งประโยคจากคำที่ก ำหนดให้

๑. ตะกร้ า ประโยค …………………………………..


๒. กระบุง ประโยค …………………………………..
๓. เพลงฉ่ อย ประโยค …………………………………..

๔. บอระเพ็ด ประโยค …………………………………..

๕. ตลาด ประโยค …………………………………..

๖. ลุงตลับ ประโยค …………………………………..

๗. ตลิง่ ประโยค …………………………………..


๘. จระเข้ ประโยค …………………………………..
๙. สกุณา ประโยค …………………………………..

๑๐. ลมปาก ประโยค …………………………………..

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๙


ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ๑. ให้น ำคำที่ก ำหนดเรี ยงเป็ นประโยคที่ถูกต้อง

๑. ดอกไม้ ผึ้ง ตอม


…………………………………………………………………….
๒. รู งู เลื้อย ลง
…………………………………………………………………….
๓. แพ ใน อยู่ ชุลี
…………………………………………………………………….
๔. คลาน ต้วมเตี้ยม เต่า
…………………………………………………………………….
๕. สวนสัตว์ ชอบ เด็ก ไป
…………………………………………………………………….
๒. ให้ นักเรียนแต่ละคนอ่านบทสั กวาข้ างล่างนีท้ ีละคน
สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
กลิ่นประเทียบเปรี ยบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
แม้ลอ้ ลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขม
ผูด้ ีไพร่ ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การสะกดคำ
๒. การนำเสนอผลงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
การประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒

ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๔ การอ่ านสะกดคำ


คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๙
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านเสริมเพิม่ ความรู้ (บอระเพ็ด) เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย นางสุ ปรียา ปานเมือง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕ .๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๓ ท่องจำบทอาขยานตามที่ก ำหนด และบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๕ วรรณคดี วรรณกรรม
- อ่านเสริ มเพิ่มความรู ้ เรื่ องบอระเพ็ด
การอ่านเสริ มบทเรี ยนเป็ นการเพิม่ ประสบการณ์ดา้ นการอ่าน ปลูกฝังให้ผเู้ รี ยนรัก
การอ่านและศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ขยายขอบเขตการเรี ยนรู ้ให้ผเู้ รี ยนได้เปิ ดโลกทัศน์ที่
กว้างไกล รู ้จกั คิดวิเคราะห์เรื่ องที่อ่านและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อ่านบทเสริ มบทเรี ยนเรื่ อง “บอระเพ็ด” ได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน
๓.๒. ใช้ภาษาพูดได้ถูกต้องและชัดเจน
๓.๓. พูดออกเสี ยง ร ล และควบกล้ำได้ถูกต้องและชัดเจน
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. แบบบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. นักเรี ยนและครู ร่วมกันท่องบทสักวา เกี่ยวกับการพูด นักเรี ยนฝึ กอ่านครู และ


นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับความหมายบทสักวา
๗.๓. ครู น ำบอระเพ็ดมาให้นกั เรี ยนดู แล้วอธิบายถึงประโยชน์ของบอระเพ็ด
๗.๔. ให้นกั เรี ยนอ่านเรื่ อง บอระเพ็ด (หน้า ๓๔ หนังสื อ วรรณคดีล ำนำ) และ
เรื่ อง
บึงบอระเพ็ด ( ท้ายแผน ) แล้วให้ตอบคำถามลงในแบบฝึ กหัดที่ ๑๐ ( ท้ายแผน )
๗.๕. ตัวแทนกลุ่มออกมาตอบคำถาม กลุ่มละ ๑ คน
๗.๖. ให้นกั เรี ยนอ่านคำศัพท์ และความหมายของคำศัพท์ (หน้า ๓๔ – ๓๕
หนังสื อ
วรรณคดีล ำนำ)
๗.๗. ให้นกั เรี ยนคัดคำศัพท์ลงสมุด คนละ ๑๐ คำ
๗.๘. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปบทเรี ยน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. รู ปภาพ
๒. หนังสื อเรี ยนชุดภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล ำนำ
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการอ่าน - บทอ่าน
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การอ่านสะกดคำ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการทำแบบทดสอบหลังเรี ยนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๑๕ – ๒๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๑ – ๑๔
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๐
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๑๑ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่…
ใบ…เดือน……………..พ.ศ……….
ควา
มรู ้
เรื่อ
ง“
บอ
ระ
เพ็ด
บอระเพ็ดเป็ นชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ”เถาอ่อนมีผวิ สี เขียวเรี ยบ เถาแก่มีสี
น้ำตาลอมเขียว และผิวขรุ ขระเป็ นปุ่ ม ๆ มีรสขมจัดบอระเพ็ดขึ้ นและเกาะอยู่
กับต้นไม้อื่น มีรากอากาศคล้ายเชือกเส้นเล็ก ๆ ห้อยลงมาเป็ นสาย ต้นบอระ
เพ็ดขึ้นในดินทัว่ ไปโดยเฉพาะดินร่ วนซุย ทุกส่ วนของบอระเพ็ดใช้เป็ นยา
รักษาโรคต่าง ๆ
คนไทยสมัยก่อน ใช้ยางจากเถาบอระเพ็ด ซึ่งมีรสขมมาป้ ายหัวนมของ
แม่ลูกอ่อน เพื่อทำให้เด็กไม่อยากดูดนมแม่ และหย่านมได้ในที่สุด

บึงบอระเพ็ด เป็ นบึงน้ำจืดที่ใหญ่ท่ สี ุ ดในประเทศไทย ครอบคลุมพื้ นที่ ๓ อำเภอ


คือ อำเภอเมือง ฯ อำเภอท่าตะโก และอำเภอชุมแสง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๙ กระทรวง
เกษตราธิการและกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ประกาศให้บึงบอระเพ็ดเป็ นที่เพาะพันธุ ป์ ลา
และเป็ นเขตหวงห้าม มีเนื้ อที่ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ มีการ
ประกาศยกเลิกเป็ นเขตหวงห้าม จึงมีผูค้ นเข้าไปใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในบึงบอระเพ็ด
เหลือพื้นเพียง ๑๓๒,๗๓๗ ไร่ ๕๖ ตารางวา แต่ระบบนิ เวศของบึงบอระเพ็ดยังคงสภาพ
สมบูรณ์พอสมควร โดยมีพืชน้ำกว่า ๙๘ ชนิ ด ปลาน้ำจืด ๑๔๘ ชนิ ด นกน้ำ ๑๖๒ ชนิ ด
ถือเป็ นแหล่งเพาะพันธ์ปลาและแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญของจังหวัด ปลาที่ข้ ึนชื่อและทำ
รายได้ให้กบั จังหวัดมากที่สุด คือ ปลาเสือตอ และปลาบู ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาเสือตอ
แต่ส่ ิงที่เป็ นหัวใจและสร้างชื่อเสียงให้บึงบอระเพ็ใบ ดกลับสู ญสิ้ นไปแล้วนั่นคือ “จระเข้”
ในอดีตจระเข้เคยนอนอาบแดดกันมากมายที ่ บึงบอระเพ็ดแห่งนี้ แต่เนื่ องจากหนัง
และไข่จระเข้ท ำรายได้ให้แก่ผูล้ า่ ได้เป็ นอย่างดีควา จมรู
ระเข้ จึงถูกล่าจนสู ญพันธ์ไป ปั จจุบนั เหลือ
เพียงแต่บึงใหญ่และกอบัวสุ ดสายตา นอกจากนี้ บึ้ งบอระเพ็ดจึงเป็ นยังเป็ นเขตสงวนพันธ์
นกน้ำ เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาธรรมชาติของประชาชนโดยทั เรื่อ ว่ ไป ทัง้ ยังเป็นสถานที่พกั ผ่อนที่
ขึ้นชื่อของจังหวัดอีกด้วย สำหรับการเดินทางเข้ามายังพึงบอระเพ็ดต้องใช้เส้นทางสาย
นครสวรรค์ – ชุมแสง ระยะทางประมาณ ๑๑งกิโ“ลเมตร แล้วเลี้ยวขวาไปตามถนนลาดยาง
อีกประมาณ ๑ กิโลเมตร ก็จะถึงบึงธรรมชาติบึแห่งงนี้
บอ
ระ ด
บึงบอระเพ็
เพ็ด

อุทยานนกน้ำ
อุทยานนกน้ำเป็ นพื้นที่สว่ นหนึ่ งของบึงบอระเพ็ด อยูท่ างทิศใต้ของบึง ในเขตตำบล
พระนอนทางราชการได้ประกาศเป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด อยูใ่ นความควบคุม
ดูแลของกรมป่ าไม้ บริ เวณอุทยานเป็ นที่อยูอ่ าศัยของนกน้ำหลากชนิ ด ซึ่งมีอยูส่ อง
ประเภท ประเภทแรกเป็ นนกน้ำที่อพยพมาจากถิ่นอื่น คือในช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคม
ซึ่งเป็ นช่วงที่มนี กน้ำชุกชมมากที่สุดเหมาะแก่การ เที่ยวชม นกน้ำประเภทนี้ได้แก่ เป็ ดแดง
เป็ ดลาย เป็ ดหอม เป็ ดเขียว ส่วนนกน้ำประเภทที่สอง คือ นกน้ำประจำถิ่น เช่น นกอี
แจว นกอีโก้ง นกอีลุม้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๑ ได้คน้ พบนกนางแอ่นพันธ์ใหม่ชนิ ดหนึ่ ง ลำ
ตัวยาว ๑๕ เซนติเมตร สีขนตามลำตัวเป็ นสีด ำเหลือบเขียวหรื อสีน้ำเงินเข้ม หน้าผาก
เป็ นขนสีด ำคล้ายกำมะหยี่ ขอบตาขาว ขาสีชมพู หางสัน้ กลมมน ขนใต้คอเป็ นสีน้ำตาล
อมดำ และได้ตงั้ ชื่อเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ว่า “นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร” พร้อมทัง้ ได้ประกาศให้นกเจ้าฟ้ าหญิงสิรินธรเป็ นสัตว์ป่า
สงวนของไทยด้วย แต่หลังจากปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ก็ไม่มใี คร พบเห็นอีกเลย ซึ่งคาดว่าอาจ
สู ญพันธ์ไปแล้ว
บริ เวณริ มบึงมีหอดูนกไว้ให้นักท่องเทียวชมฝูงนกน้ำเดิน สวนย่อม ศาลาที่พกั
และบ้านพักรับรอง ซึ่งต้องติดต่อเจ้าหน้าที่อุทยานก่อนเข้าพัก ทางอุทยานใช้เส้นทาง
นครสวรรค์-ท่าตะโก เข้าไปประมาณ ๑๖ กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนลาดยาง
อีก ๔ กิโลเมตร
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๐

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้
๑. บอระเพ็ดเป็ นชื่อของพันธ์ไม้ประเภทใด
...............................................................................................................
๒. บอระเพ็ด มีรสชาติเป็ นอย่างไร
...............................................................................................................
๓. บอระเพ็ด ชอบเกิดในบริ เวณใด
...............................................................................................................
๔. บอระเพ็ด มีประโยชน์หรื อไม่ อย่างไร
...............................................................................................................
๕. คนในสมัยโบราณ นิยมใช้บอระเพ็ดไปทำอะไร
...............................................................................................................
๖. บึง “ บอระเพ็ด” อยูใ่ นจังหวัดใด
...............................................................................................................
๗. ปลาที่มีชื่อเสี ยงในบึงบอระเพ็ดคือปลาชนิดใด
...............................................................................................................
๘. นกที่มีชื่อเสี ยงในบึงบอระเพ็ดคือปลาชนิดใด
...............................................................................................................

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การสะกดคำ
๒. การนำเสนอผลงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
การประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๕ การอ่ านสะกดคำ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๐


มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๘ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุดวรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง สำนวนโวหาร เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้
ตัดสิ นใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๑ การอ่ าน
- สำนวนโวหาร
การใช้สำนวนภาษาเป็ นการใช้ถอ้ ยคำเปรี ยบเทียบเพราะสำนวนไทยเป็ นมรดกแห่ง
ภูมิปัญหาทางภาษาของไทยที่สะท้อนความเป็ นมาของชาติ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา การ
ดำเนินชีวิตที่เป็ นจริ งของคนไทยในทุกยุคสมัย
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. เข้าใจความหมายของสำนวน และโวหาร
๓.๒. นำสำนวนและโวหารไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. แบบบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู อธิบายเรื่ อง สำนวนโวหาร โดยใช้แถบประโยคและภาพประกอบ ให้
นักเรี ยนสังเกตว่า สำนวนโวหารเป็ นคำกล่าวหรื อถ้อยคำคมคายสั้น ๆ ที่มีความหมายน่า
จดจำ เป็ นเชิงเปรี ยบเทียบหรื อเป็ นเชิงสอนให้ปฏิบตั ิหรื อไม่ควรปฏิบตั ิ เช่น จับปลาสองมือ
หมายถึง การทำอะไรสองอย่างหรื อหลายอย่างในคราวเดียวกัน จะประสบความสำเร็ จได้ยาก
เป็ นต้น ให้นกั เรี ยนดูสำนวนโวหารอื่น ๆ แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันแปลความหมาย โดยครู
คอยให้ความช่วยเหลือ
๗.๓. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง สำนวนโวหาร ว่าเป็ นคำกล่าวหรื อ
ถ้อยคำคมคายสั้น ๆ ที่ผกู เข้าเป็ นประโยค มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรื อมีความหมายอื่น
แฝงอยู่
๗.๔. ครู ให้นกั เรี ยนเรี ยงคำที่ก ำหนดให้มาเป็ นสำนวนโวหารที่ถูกต้อง ลงในแบบ
ฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑ ( ท้ายแผน ) เสร็ จแล้วสุ่ มให้อ่านที่หน้าชั้นเรี ยน
๗.๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มแล้วนำเสนอผลงานที่หน้าชั้น และจัดแสดงผลงานที่
ป้ ายนิเทศ
๗.๖. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มเขียนความหมายของสำนวนภาษาในแบบฝึ กหัด
ชุดที่ ๑๒ ( ท้ายแผน )
๗.๗. ให้นกั เรี ยนนำผลงานมาจัดป้ านนิเทศ
๗.๘. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการทำกิจกรรม
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. ใบความรู ้
๒. รู ปภาพ
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑ และ ๑๒
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการอ่าน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การบอกความหมายสำนวน - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการหาความหมายสำนวนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี บอกความหมายได้ถูกต้องหมด
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ บอกความหมายผิด ๑ – ๒ สำนวน
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง บอกความหมายผิด ๓
สำนวนขึ้นไป
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..
……………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรู้เรื่อง สำนวนโวหาร

สำนวนโวหาร
สำนวนโวหาร หมายถึง คำกล่าวหรื อถ้อยคำคมคายสั้น ๆ ที่ผกู เข้าเป็ น
ประโยค มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรื อมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น

เขียนเสื อให้ ววั กลัว


หมายถึง ขู่ให้กลัว ทั้ง ๆ ที่ไม่น่ากลัว
เอาไม้ ซีกไปงัดไม้ ซุง
มายถึง ไปขัดขวางคนที่มีอ ำนาจจะเดือดร้อน
จับปลาสองมือ
หมายถึง ทำอะไรสองอย่างพร้อม ๆ กันจะล้มเหลวทั้งสองอย่าง
ไกเห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
หมายถึง ต่างคนต่างเห็นความไม่ดีของตนเอง
เข็ญครกขึน้ ภูเขา
หมายถึง ทำงานยากลำบาก
ตำนำพริกละลายแม่ น้ำ
หมายถึงลงทุนในสิ่ งที่ไม่มีประโยชน์

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้มาเรี ยงเป็ นสำนวนโวหารที่ถูกต้อง

๑. ตูม กระตาย ตื่น


………………………………………………………………………
๒. ซอ สี ฟัง ควาย ให้
………………………………………………………………………
๓. ตาย ปาก เพราะ หมอ ปลา
………………………………………………………………………
๔. แต่ง เพราะ งาม คน งาม ไก่ เพราะ ขน
………………………………………………………………………
๕. ผูก ลูก ตี รัก วัว ให้ รัก ให้
………………………………………………………………………
๖. น้ำ ปาก ท่วม
………………………………………………………………………
๗. ไม่ โทษ ดี โทษ รำ ปี กลอง
………………………………………………………………………
๘. ไม้ เลน หลัก ปัก
……………………………………………………………………

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๒

คำชี้แจง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนความหมายของสำนวนที่ก ำหนดให้ต่อไปนี้

ที่ สำนวน ความหมาย


๑ ใกล้เกลือกินด่ าง
๒ ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
๓ ไข่ ในหิน
๔ เข็ญครกขึน้ ภูเขา
๕ คางคกขึน้ วอ
๖ ปลาหมอตายเพราะปาก
๗ ปอกกล้วยเข้ าปาก
๘ ข้ าเก่าเต่าเลีย้ ง
๙ มือไม่ พายเอาเท้ าราน้ำ
๑๐ งมเข็มในมหาสมุทร
๑๑ สี ซอให้ ควายฟัง
๑๒ รำไม่ ดโี ทษปี่ โทษกลอง
๑๓ น้ำลดตอผุด
๑๔ ช้ างตายทั้งตัวเอาใบบัวปิ ด
๑๕ หน้ าต่ างมีหูประตูมีช่อง

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การตอบคำถาม
๒. การพูดรายงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา แผนที่ ๖ สำนวนโวหาร
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๒


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๔ ชั่วโมง
เรื่อง การพูดเล่ าเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้
ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท. ๓.๑ ป.๒ / ๒ เล่าเรื่ องที่ฟังและดูท้ งั ที่เป็ นความรู ้และความบันเทิง
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การพูดเล่าเรื่ อง
การพูดเล่าเรื่ อง เป็ นการพูดเพือ่ ถ่ายทอดเรื่ องราวต่างๆให้ผอู้ ื่นได้รับรู ้ ผูพ้ ดู จะต้องมี
ความรู ้ หรื อประสบการณ์ในการเล่าเรื่ อง จึงจะทำให้การเล่าเรื่ องเกิดประสิ ทธิภาพ
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. สามารถพูดเล่าเรื่ องได้
๓.๒. สามารถตอบคำถามจากเรื่ องที่พดู ได้
๓.๓. อ่านเรื่ องแล้วตอบคำถามได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. การตอบคำถาม
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู น ำภาพให้นกั เรี ยนดูภาพหรื อหัวข้อข่าวที่น่าสนใจ จากนั้น ครู เล่าเรื่ อง
เกี่ยวกับภาพ หรื อหัวข้อข่าวนั้นให้นกั เรี ยนฟัง แล้วถามนักเรี ยนว่าถ้านักเรี ยนรู ้เรื่ องราวอะไร
อย่างดีแล้ว จะสามารถเล่าเรื่ องนั้นให้เพื่อนฟังได้หรื อไม่

๗.๓. ครู ถามว่ามีใครอยากเล่าเรื่ องอะไรให้ครู และเพื่อน ๆ ฟังบ้าง ให้อาสาสมัคร


ออกมาเล่าประมาณ ๒ – ๓ คน จากนั้น ให้นกั เรี ยนสังเกตว่า การเล่าเรื่ องของเพื่อนเป็ น
อย่างไร คิดว่าใครเล่าดีที่สุดเพราะเหตุใด
๗.๔. ครู อธิบายว่า การเลาเรื่ องที่ดีจะทำให้คนฟัง ฟังด้วยความสนใจสนุกสนาน
และ
อาจได้ความรู ้จากเรื่ องที่เล่านั้นด้วย ดังนั้นการเป็ นนักเล่าเรื่ องที่ดีจะต้องมีเคล็ดลับ หรื อวิธี
การที่นกั เรี ยนควรฝึ กฝนไว้โดยดูตวั อย่างจากเพื่อน ๆ ที่พดู เก่ง หรื อนักพูดต่าง ๆ ที่นกั เรี ยน
เคยเห็นว่าเขามีวิธีการพูดที่มีจุดเด่นอะไรบ้าง
๗.๕. ครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันยกตัวอย่าง เช่น การเตรี ยมเรื่ องที่พดู เป็ นอย่างดี เรื่ อง
น่าสนใจ การวางท่าทางที่ดี การใช้สายตาขณะพูด การออกเสี ยงชัดเจนถูกอักขรวิธี การใช้
อารมณ์หรื อน้ำเสี ยงตามอารมณ์ของเรื่ อง และสอดแทรกอารมณ์ขนั ให้สนุกสนานอย่าง
เหมาะสม เรื่ องที่พดู มีการเกริ่ นนำเรื่ องก่อน จากนั้น เป็ นเนื้อหาแล้วสรุ ปเรื่ องในตอนท้าย
ครู สรุ ปเป็ นหลักในการพูดเล่าเรื่ อง
๗.๖. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การพูดเล่าเรื่ อง ดังนี้
1) การพูดเล่นเรื่ อง เป็ นการพูดที่ผพู้ ดู จะต้องมีความรู ้ หรื อประสบการณ์ใน
เรื่ องที่เล่า การพูดเล่าเรื่ องจะทำให้ผฟู้ ังได้รับความรู ้ หรื อคติสอนใจ และความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน
2) หลักปฏิบตั ิในการเล่าเรื่ อง มีดงั นี้
(๑) เตรี ยมเรื่ องที่จะเล่า โดยมีข้นั นำ ขั้นเนื้อหา และขั้นสรุ ป
มีการวางท่าทางที่ดี การใช้สายตาขณะพูดมองผูฟ้ ังอย่างทัว่ ถึง
ออกเสี ยงให้ชดั เจน และถูกอักขระวิธี
(2) มีการวางท่าทางที่ดี การใช้สายตาขณะพูดมองผูฟ้ ังอย่างทัว่ ถึง
(3) ออกเสี ยงให้ชดั เจน และถูกอักขรวิธี
(4) การใช้อารมณ์หรื อน้ำเสี ยงตามอารมณ์ของเรื่ อง และสอดแทรก
อารมณ์ขนั ให้สนุกสนานอย่างเหมาะสม

(5) ใช้ค ำสุ ภาพ เช่น สวัสดี ขอบคุณ หรื อแสดงความเคารพ ตาม
โอกาสที่
เหมาะสม
3) เรื่ องที่น ำมาเล่าแบ่งได้หลายประเภท เช่น นิทาน ตำนาน ประสบการณ์ของ
ผู้
เล่าเรื่ องราวหรื อเหตุการณ์สำคัญ ความรู ้ทวั่ ไป เรื่ องสนุกขำขัน ข่าวและ
เหตุการณ์ เป็ นต้น
๗.๗. ให้นกั เรี ยนอ่านข่าวในหนังสื อพิมพ์ที่ครู แจกให้ แล้วเขียนเล่ารายละเอียดของ
ข่าวที่อ่านนั้น
๗.๘. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม ส่ งตัวแทนนออกมามายงานผลการทำกิจกรรม
๗.๙. ให้นกั เรี ยนนำผลงานมาจัดป้ ายนิเทศ
๗.๑๐. ให้นกั เรี ยนฟังข่าวที่เพือ่ นอ่านหน้าเสาธงตอนเช้า แล้วมาบันทึกใส่ แบบ
ฝึ กหัด

๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้


๑. หนังสื อพิมพ์
๒. วิทยุ หรื อโทรทัศน์
๓. บัตรคำ
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๓ – ๑๔
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการพูดเล่าเรื่ อง - เรื่ องเล่า
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การเล่าเรื่ อง - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเล่าเรื่ องมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เล่าเรื องได้ดีมาก บุคลิกท่าทางดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เล่าเรื องได้ดี บุคลิกท่าทางดี
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เล่าเรื องได้ บุคลิกท่าทางใช้ได้
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรูเ้ รื่องการพูดเล่าเรื่อง

การพูดเล่าเรื่อง
การพูดเล่าเรื่ อง เป็ นการพูดที่ผพู้ ดู จะต้องมีความรู้หรื อประสบการณ์
ในเรื่ องที่จะเล่า
การพูดเล่าเรื่ องที่จะทำให้ผฟู้ ังได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลินและได้รับ
ความรู้หรื อคติสอนใจนั้น มีหลักในการปฏิบตั ิ ดังนี้
1. เตรี ยมว่าจะพูดเล่าเรื่ องอะไร แล้วมีเค้าโครงเรื่ องอย่างไรจะเล่าอะไร
ก่อน อะไรหลัง
2. เริ่ มต้นเล่าเรื่ องตามลำดับที่เตรี ยมไว้ ในขณะเล่าเรื่ องไม่ควรเล่าเรื่ อง
อื่น ๆ แทรก เพราะอาจทำให้ผฟู้ ังสับสนได้
3. เมื่อเล่าเรื่ องจบแล้ว ควรแสดงความคิดเห็นของตนด้วย
การเล่าเรื่ อง แบ่งออกได้หลายประเภท ดังนี้
- การเล่านิทาน ตำนาน
- การเล่าประสบการณ์ที่ผา่ นมาของผูเ้ ล่า
- การเล่าเรื่ องราว หรื อเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ
- การเล่าความรู้ทวั่ ๆ ไป

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔

คำชี้แจง ฟังเพื่อนอ่านข่าวจากหนังสื อพิมพ์ หรื อฟังจากวิทยุ โทรทัศน์


แล้วเขียนเล่าย่อ ๆ ให้ได้ใจความ

ข่าวเรื่ อง……………………………………………………………..
จาก (หนังสื อพิมพ์ –วิทยุ – โทรทัศน์)………………………………………
วันที่………………………………………………………………………...
ความว่า……………………………………………………………..
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………….

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนฝึ กอ่านบทร้อยกรองให้ถูกต้องแล้วตอบคำถาม

กระต่ ายตื่นตูม
ฮูม ! ฮูม! ฮูม! ฮูม! ตื่นตูมกระต่าย
วิ่งฝุ่ นกระจาย ตระหนกตกใจ
เหนื่อยหอบอบนัก ขอพักได้ไหม
เรานี้ล้ ีภยั ฟ้ าถล่มจมเดิน
ฮา! ฮา! ฮา! ฮา! ไหนฟ้ าถล่ม
มะพร้าวลูกกลม หล่นให้ได้ยนิ
ลิงปลิดปาลง ตรงแง่กอ้ นหิน
ลิงหลอกแลบลิ้น กินแล้วยิงฟัง
1. เสี ยงฮูม! ฮูม! เป็ นเสี ยงอะไร
1. เสี ยงวิ่งของกระต่าย
2. เสี ยงฟ้ าถล่ม
3. เสี ยงลิงร้อง
2. ทำไมกระต่ายจึงพากันวิ่งหนีดว้ ยอาการตระหนักตกใจ
1. วิ่งหนีพวกลิง
2. คิดว่าฟ้ าถล่ม
3. เกิดฟ้ าร้อง
3. การที่กระต่ายวิ่งหนีโดยไม่คิดและไม่ดุให้แน่ใจก่อน แสดงว่ากระต่าย
เป็ นอย่างไร
1. เบาปัญญา
2. ปัญญาไว
3. ตกใจง่าย
4. เสี ยงดังที่กระต่ายเข้าใจผิดว่าเป็ นเสี ยงฟ้ าถล่ม ที่จริ งเป็ นเสี ยงอะไร
1. ลูกตาลหล่น
2. มะพร้าวหล่น
3. ลิงตกจากต้นไม้
5. ข้อความนี้ มีค ำที่สะกดด้วย แม่เกย กี่ค ำ
1. ๒ คำ
2. ๓ คำ
3. ๔ คำ
6. ข้อใดมีตวั สะกดต่างจากข้ออื่น
1. มะพร้าว
2. ลี้ภยั
3. กระจาย
7. คำว่า ลิงหลอกเจ้า ตรงกับข้อความใดมากที่สุด
1. ลิงปลิดปาลง
2. ลิงหลอกแลบลิ้น
3. กินแล้วยิงฟัน

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านข่าว
๒. การพูดเล่าเรื่ อง
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๗ การพูดเล่ าเรื่อง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๑๐ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง อักษรนำ เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษา และพลังของภาษาภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็ น
สมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒ / ๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษา
- อักษรนำ
อักษรนำคือการนำเอาพยัญชนะ ๒ ตัวมาเรี ยงกันแล้วประสมด้วยสระเดียวกัน
เวลาอ่านออกเสี ยงต้องออกเสี ยงพยัญชนะตัวแรกเป็ นเสี ยง อะ กึ่งมาตรา
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การยกตัวอย่าง คำอักษรนำ
๓.๒. การนำคำอักษรนำ ไปแต่งประโยค
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกผลการประเมินการอ่านการเขียนอักษรนำ
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู น ำบัตรคำคำว่า อย่า อยู่ อย่างอยาก มาให้นกั เรี ยนอ่านแล้วร่ วมกัน
อภิปรายถึงความหมายของคำ
๗.๓. ให้นกั เรี ยนร้องเพลงอักษรนำ แล้วนำคำมาแต่งประโยคลงในแบบฝึ กหัดชุด
ที่ ๒๐ ( ท้ายแผน )
๗.๔. ให้นกั เรี ยนหาคำที่ซ่อนอยูใ่ นตาราง แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖ แล้วหัดอ่าน
๗.๕. นักเรี ยนนำคำมาแต่งเป็ นประโยค แล้วบันทึกลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗
๗.๖. ให้นกั เรี ยนอ่านใบความรู ้ พร้อม ๆ กัน แล้วครู อธิบายเพิ่มเติม
๗.๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการทำกิจกรรม
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. เพลง
๒. ใบความรู ้
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การอ่านอักษรนำ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการแต่งประโยคมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เขียนได้ถูกต้อง แสดงความคิดเห็นได้อย่าง
สร้างสรรค์
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนผิดอยูบ่ า้ ง แสดงความคิดเห็น
ได้อย่างสร้างสรรค์
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนผิดมาก ไม่ค่อยมี
ความคิดสร้างสรรค์
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….……………………..……………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………..
……………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………….……………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ใบวันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ควา
มรู ้
เรื่อง
อักษ
รนำ

อักษรนำ
อักษรนำ คือ คำที่มีพยัญชนะสองตัวเรี ยงกัน ได้แก่ พยัญชนะตัวแรก
เป็ นอักษรสูง หรื ออักษรกลาง พยัญชนะตัวที่สองเป็ นอักษรต่ำ (ตัว ง ญ ณ
น ม ย ร ล ว ฬ)
แล้วประสมสระตัวเดียวกัน เวลาออกเสี ยง พยัญชนะตัวแรกจะออก
เสี ยง อะ กึ่งเสี ยง พยัญชนะตัวกลางจะอ่านออกเสี ยงเหมือนมี ห นำ เช่น
อักษรกลางนำ อ่านว่า อักษรสู งนำ อ่านว่า
อร่ อย อะ –หร่ อย ถนน ถะ-หนน
ตลาด ตะ -หลาด ขนุน ขะ -หนุน

ถ้า ห นำ อักษรต่ำ หรื อ อ นำ ย ไม่ตอ้ งอ่านออกเสี ยง อ เช่น เหงา หมอ


หรู หรา อยู่ อยาก เป็ นต้น ซึ่งคำที่มี อ นำ ย ในภาษาไทยมี อยู่ ๔ คำ คือ
อย่า อยู่ อย่าง อยาก
ถ้าพยัญชนะตัวที่สองเป็ นอักษรต่ำที่นอกเหนือจากตัว ง ญ ณ น ม ย ร
ล ว ฬ แล้ว เวลาออกเสี ยง พยัญชนะตัวแรกจะออกเสี ยง อะ กึ่งเสี ยง ส่ วน
พยัญชนะตัวหลังออกเสี ยงตามสระที่มาประสม เช่น
ไผท อ่านว่า ผะ –ไทย
เผชิญ อ่านว่า ผะ –เชิน

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มฝึ กร้องเพลง อักษรนำ แล้วช่วยกันนำคำ


มาแต่งประโยค ๕ ประโยค
เพลง อักษรนำ
ทำนอง Are you sleeping คำร้อง พวงผกา วุฒิวราวรรณ

อย่า อยู่ อย่าง อยาก (ซ้ำ) อ นำ ย (ซ้ำ)


จำไว้หนออักษรนำ (ซ้ำ) มีสี่ค ำ (ซ้ำ
หมา หมู หมี หมอก หลาก หลาย หลอน หลอก
หน้า หนอน หนี ใหญ่ หญิง หยี
นี้กเ็ ป็ นอักษรนำ คำทุกคำ มี ห นำ
จำให้ดี มีมากมาย
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ๑. ให้หาคำที่ซ่อนอยูใ่ นตาราง ตามที่ก ำหนดให้ แล้วฝึ กอ่านคำเหล่านี้
อ ก ฐ ค จิ ฏ ฆ จ ฉ ญ ฮ ซ
ย อ ก ณ ก ถ น ง ห ม อ ค
า ฎ ผ ข บ อ ย่ า ง ช ร่ ข
ก ยี ป พ ฑ ยู่ ท ฆ อ ฬ อ ฌ
ด ร ม รู ฝ ภ พ ริ ก ช ย ป
ย กา ฒ ป ส ธ ง ต จ ฏ ญ า
ล ฟ ร ภ ห เ ล ข ซ ก ฉ ก
ไ ว ศ า ฐ ม ฎ ษ ห ม ว ก
ผ ต ฑ พ ถ ฆ ฟ ธ น ฌ บ า
ท ล า ย ป พ ด ท ส บ า ย
ฒ อ ด ณ อ ย่ า ว บู่ ผ ร ล
ต ด ภ ฝ ม ศ บ ฟ ส ย จ บ

อย่า ไผท หมอ สบู่ เลข รู ปภาพ อยู่


ทะลาย ตลอด ปากกา พริ ก ดาบ อย่าง
หงอก สบาย จิก ยอก อยาก อร่ อย
หมวก เมฆ ยีราฟ

๒. ให้นกั เรี ยนเขียนคำใหม่ตามคำอ่านที่ก ำหนดให้ต่อไปนี้

สะ –หนิด = ……………………. ขะ –หยัน =…………………..


จะ -หมูก = ……………………. ขะ -หมิ้น =…………………..
ขะ -หนม = ……………………. สะ -หมัย =…………………..
ขะ -หนุน = ……………………. ฉะ -หลาด =…………………..
ขะ -หนาด = ……………………. ตะ -หลอด =…………………..
สะ -หนอง = ……………………. สะ -หมุน =…………………..
ตะ -หลาด = ……………………. ฉะ -หลอง =…………………..
ตะ -หลับ = ……………………. สะ -เหมอ =…………………..
ถะ -หนน = ……………………. อะ –หงุ่น =…………………..
สะ -หมุด = ……………………. ฉะ –บับ =…………………..

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๘
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านอักษรนำ
๒. การแต่งประโยค
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา ประกอบแผนที่ ๘ อักษรนำ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การพูดโต้ ตอบ เวลา ๑ ชั่วโมง
๑. ใช้มาตรฐานการเรี
สอนวันที่ ................................................
ยนรู้ โดย..............................................
มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้
ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒ / ๗ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การพูดโต้ตอบ
การพูดโต้ตอบ เป็ นการพูดเพื่อติดต่อสื่ อสารกัน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ

๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. เป็ นผูพ้ ดู และผูฟ้ ังที่ดีได้
๓.๒. พูดสนทนาโต้ตอบได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกผลการประเมิน
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู สนทนากับนักเรี ยนเรื่ อง การพูดสนทนาโต้ตอบ ว่าหมายถึงอะไร และมี
ความสำคัญอย่างไร จากนั้น ให้นกั เรี ยนช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับข้อควรปฏิบตั ิในการ
สนทนาโต้ตอบ ครู คอยช่วยเหลือ โดยใช้ค ำถามช่วยนำความคิด จากนั้น ให้นกั เรี ยนช่วยกัน
สรุ ปข้อควรปฏิบตั ิในการสนทนาโต้ตอบ

๗.๒. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การพูดสนทนาโต้ตอบ ดังนี้


1) การพูดสนทนา เป็ นการพูดเพื่อติดต่อสื่ อสารกันระหว่างบุคคล ตั้งแต่ ๒
คน ขึ้นไป
2) ข้อควรปฏิบตั ิในการพูดสนทนาโต้ตอบ มีดงั นี้
 พูดในเรื่ องที่ควรพูด
 พูดด้วยน้ำเสี ยงธรรมชาติ
 พูดด้วยถ้อยคำที่สุภาพ
 ควรเปิ ดโอกาสให้ผอู้ ื่นได้พดู บ้าง
 ไม่พดู สอดแทรกในขณะที่ผอู้ ื่นกำลังพูด
 พูดสนับสนุนคำพูดของผูอ้ ื่นตามความเหมาะสม
 รู ้จกั ใช้ค ำขอโทษ ขอบคุณ สวัสดี ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
๗.๓. ให้นกั เรี ยนคิดบทสนทนาโต้ตอบ โดยใช้ค ำพูดที่สุภาพระหว่างนักเรี ยนกับ
เพือ่ น ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๘ ( ท้ายแผน ) แล้วนำเสนอผลงานที่หน้าชั้น และจัด
แสดงผลงานที่ป้ายนิเทศ
๗.๒. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มเขียนบทสนทนาจากภาพในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๙
( ท้ายแผน ) จากนั้นส่ งตัวแทนพูดสนทนาตามบทสนทนานั้นที่หน้าชั้นเรี ยน
๗.๒. ให้นกั เรี ยนนำผลงานมาจัดป้ ายนิเทศ
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. บทสนทนา
๒. บัตรคำ
๓. ใบความรู ้
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๘ – ๑๙
๕. รู ปภาพ
๖. หนังสื อเรี ยนชุด วรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๗. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายกลุ่ม
๘. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการพูด - บทพูด
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การเขียนบทสนทนา - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเขียนบทสนทนามีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เขียนบทสนทนาได้ดีมาก สอดคล้องกับภาพ
เป็ นเรื่ องราวต่อเนื่อง เขียนคำถูกต้อง
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนบทสนทนาได้ สอดคล้อง
กับภาพเป็ นเรื่ องราวต่อเนื่อง เขียนคำถูกต้อง
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนบทสนทนาได้ มีค ำ
เขียนผิดอยูบ่ า้ ง ไม่ค่อยสอดคล้องกับภาพ
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………...………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..
…………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ใบ
วันทีควา
่……เดือน……………..พ.ศ……….
มรู ้
เรื่อง
การ
พูด
สนท
นา
โต้ต
อบ
การพูดสนทนาโต้ตอบ
การพูดสนทนา เป็ นการพูดเพือ่ ติดต่อสื่ อสารกันระหว่างบุคคล
ตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป
การพูดสนทนาโต้ตอบ ควรปฏิบตั ิ ดังนี้
1. พูดในเรื่ องที่ควรพูด และพูดด้วยความจริ งใจ
2. พูดด้วยน้ำเสี ยงเป็ นธรรมชาติ
3. พูดด้วยถ้อยคำที่สุภาพ
4. ไม่ควรพูดอยูฝ่ ่ ายเดียว ควรเปิ ดโอกาสให้คู่สนทนาได้พดู บ้าง และควรฟังคู่
สนทนาพูดอย่างตั้งใจ
5. ไม่พดู สอดแทรกในขณะที่คู่สนทนากำลังพูด
6. พูดสนับสนุนคำพูดของคู่สนทนาบ้างตามความเหมาะสม
7. ใช้ถอ้ ยคำที่แสดงมารยาทในการพูดเช่น ขอโทษ ของคุณ สวัสดี
ในการพูดสนทนาโต้ตอบ อาจมีท้ งั การพูดตอบรับ หรื อพูดปฏิเสธ ซึ่ง
เราควรใช้ค ำพูดที่สุภาพ ไม่หว้ นหรื อไม่เป็ นคำหยาบคาย และเลือกใช้ค ำพูด
ให้เหมาะสมกับบุคคลด้วย

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๘

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนคิดบทสนทนาโต้ตอบระหว่างคน ๒ คนในภาพ
ข้างล่างนี้ ตามจินตนาการ
สวัสดีจ้ะธีระ เธอกำลังจะไปไหนจ๊ ะ ส่ วนฉันกำลังไปเที่ยวงานลอยกระทง

.
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๙

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนบทสนทนาของคนในภาพนี้

………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การเขียนบทสนทนา
๒. การนำเสนอผลงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. การแสดงบทบาทสมมุติ
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
ผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา แผนที ๙ การพูดสนทนา
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๘


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๙
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านบทร้ อยกรอง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้
ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒ / ๗ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การพูดโต้ตอบ
การอ่านออกเสี ยงคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองผูอ้ ่านต้องอ่านถูกต้องทั้ง
ด้านอักขระ การเว้นวรรคตอน ระดับสูงต่ำของเสี ยงตามบริ บทแห่งเนื้อหา จึงจะทำให้เกิด
อรรถรสและเพิม่ คุณค่าเด่นชัดทางด้านวรรณศิลป์
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการอ่านบทร้อยกรอง
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อ่านบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะได้
๓.๒. บอกคำที่เป็ นตัวสะกด แม่ กบได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกผลการประเมิน
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒ ครู ให้นกั เรี ยนอ่านบทร้อยกรอง บทสักวาในหนังสื อเรี ยนชุดวรรณคดีล ำนำ หน้า
๒๖ แล้วอธิบายเกี่ยวกับกลอนแปด ครู ซกั ถามให้นกั เรี ยนแข่งขันกันตอบด้วยคำถามที่ครู ต้ งั
ขึ้นมาเอง นักเรี ยนแข่งขันกันตอบ
๗.๓ ครู พดู คำ ๒ พยางค์ ได้แก่ค ำว่า “ กระบุง” ให้นกั เรี ยนแข่งขันกันต่อด้วยคำสาม
พยางค์ที่คล้องจองกัน โดยต่อไปอีก ๘ – ๑๐ คำ
๗.๓ นักเรี ยนอ่านบทร้อยกรองในหนังสื อเรี ยนชุดวรรณคดีล ำนำ หน้า ๓๒ – ๓๓
เป็ นทำนองเสนาะพร้อมกันจากนั้นร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของบทร้อยกรอง ให้
นักเรี ยนบอกคำคล้องจองจากบทร้อยกรองคนละ ๑ คู่ พร้อมทั้งบอกความหมาย
๗.๔ นักเรี ยนศึกษาใบความรู ้ เรื่ อง มาตราตัวสะกดแม่กบ ( ท้ายแผน ) จากนั้น
ให้แต่ละคนยกตัวอย่างคำที่มีตวั สะกดในแม่กบที่ตรงมาตราและไม่ตรงมาตราคนละ ๒ คำ
๗.๕ นักเรี ยนทำแบบฝึ กเสริ มทักษะ ชุดที่ ๒๐ ( ท้ายแผน ) ชุดหาคำที่มีตวั สะกดใน
มาตราแม่ กบที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา เสร็ จแล้วนำส่ งครู ตรวจสอบความถูก
ต้อง
๗.๖ นักเรี ยนทำแบบฝึ กเสริ มทักษะ ชุดที่ ๒๑ ( ท้ายแผน ) ชุดเขียนคำที่มีตวั สะกด
ในมาตราแม่กบจากภาพที่ก ำหนดให้
๗.๗ นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังเรี ยน บทเรี ยนที่ ๓ รื่ นรสสักวา เสร็จแล้วครู
เฉลย นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง ครู น ำผลคะแนนไปเปรี ยบเทียบกับการ
ทดสอบก่อนเรี ยน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. บทร้อยกรอง
๒. บัตรคำ
๓. ใบความรู ้
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒๐ – ๒๑
๕. รู ปภาพ
๖. หนังสื อเรี ยนชุด วรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๗. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายกลุ่ม
๘. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการพูด - บทพูด
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การเขียนบทสนทนา - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเขียนบทสนทนามีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เขียนบทสนทนาได้ดีมาก สอดคล้องกับภาพ
เป็ นเรื่ องราวต่อเนื่อง เขียนคำถูกต้อง
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนบทสนทนาได้ สอดคล้อง
กับภาพเป็ นเรื่ องราวต่อเนื่อง เขียนคำถูกต้อง
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนบทสนทนาได้ มีค ำ
เขียนผิดอยูบ่ า้ ง ไม่ค่อยสอดคล้องกับภาพ
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………...………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..
…………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

สิ่ งที่ต้องศึกษา

มาตราตัวสะกด แม่ กบ

มาตราตัวสะกดแม่ กบ คือ พยางค์ที่ออกเสี ยงเหมือนมีตวั “ บ” สะกด มีตวั


สะกดที่ไม่ตรงมาตราทั้งหมด ๔ ตัว คือ ป พ ฟ ภ เช่น กราบไหว้ รู ปร่ าง เคารพ
ยีราฟ โชคลาภ เป็ นต้น
คำที่มี บ เป็ นตัวสะกด เช่น กรอบ จับ คับแคบ เจ็บแสบ
คำที่มี ป เป็ นตัวสะกด เช่น ธูป บาป สาป อีสป
คำที่มี พ เป็ นตัวสะกด เช่น ภาพ ทัพ ภพ ศพ
คำที่มี ฟ เป็ นตัวสะกด เช่น กราฟ ยีราฟ
คำที่มี ภ เป็ นตัวสะกด เช่น โลภ ลาภ ปรารภ

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒๐

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำที่มีตวั สะกดตามหัวข้อที่ก ำหนดให้

คำในมาตรา แม่ กบ

คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา คำที่มีตัวสะกดไม่ ตรงตามมาตรา


ชื่อ …………………………………. ชั้น …………. เลขที่………………..
วันที่ ………………………………………………………………………….
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒๑

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำในมาตราแม่ กบ ที่ตรงกับภาพที่ก ำหนดให้

๑. ………………….. ๒. .............................

๓. ………………….. ๔. .............................

๕. ………………….. ๖. .........................

๗. ………………….. ๘. ........................

๙. ………………….. ๑๐. ........................


ชื่อ …………………………………. ชั้น …………. เลขที่………………..
วันที่ ………………………………………………………………………….
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ ๓

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว


๑. บ้านของลุงตลับอยูท่ ี่ใด
ก. ท้ายตลาด ข. ท้ายวัด
ค. ริ มตลิ่ง
๒. ลุงตลับมีอาชีพใด
ก. ทำนา ข. ค้าขาย
ค. ทำจักสาน
๓. ลุงตลับแสดงสิ่ งใดให้เด็กดูและฟัง
ก. เล่านิทาน ข. ร้องเพลงพื้นบ้าน
ค. เล่นลิเก
๔. บทร้องใดที่ลุงตลับไม่ได้ให้เด็กๆฟัง
ก. ลิเก ข. เพลงฉ่อย
ค. บทสักวา
๕. บทสักวาขึ้นต้นด้วยคำใด
ก. เอ๋ ย ข. เอย
ค. สักวา

๖. ลำตัดนิยมเล่นกันที่ภาคใดของไทย
ก. ภาคกลาง ข. ภาคใต้
ค. ภาคอีสาน
อ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม ข้อ ๗ – ๑๐

“ สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน
ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
กลิ่นประเทียบเปรี ยบดวงพวงพะยอม
อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
แม้ลอ้ ลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม
ดังดูดดื่มบอระเพ็ดที่เข็ดขม
ผูด้ ีไพร่ ไม่ประกอบชอบอารมณ์
ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย”

๗. บทร้อยกรองนี้ มีใจความเกี่ยวกับเรื่ องใด


ก. คำพูด ข. บอระเพ็ด
ค. ดอกพะยอม
๘. คำว่า พจมาน หมายถึงสิ่ งใด
ก. ชื่อดอกไม้ ข. ชื่อผูห้ ญิง
ค. คำพูด

๙. คำพูดหวานเปรี ยบได้กบั สิ่ งใด


ก. ความหอมของดอกไม้ ข. ความหอมของผูห้ ญิง
ค. ความขมของบอระเพ็ด
๑๐. คำพูดไม่ดี เปรี ยบได้กบั สิ่ งใด
ก. เสี ยงสายลม ข. ความขมของบอระเพ็ด
ค. ความเหม็นของดอกไม้
๑๑. คำใดที่มีความหมายแตกต่างจากคำอื่นมากที่สุด
ก. ปลาบปลื้ม ข. เปรี ยบเปรย
ค. ปลื้มใจ

๑๒. คำใดตรงกับรู ปภาพนี้


ก. เล่นเพลงฉ่อย ข. เล่นลำตัด
ค. เล่นสักวา
๑๓. คำว่า “ ชิวหา” หมายความว่าอย่างไร
ก. ค้นหาสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด ข. ลิ้น
ค. คิ้วและตา
๑๔. คำในข้อใดเป็ นชื่อนก
ก. กาหลง ข. ประทิ่น
ค. ดุเหว่า
๑๕. คำใดเป็ นชื่อภาชนะใส่ ของ
ก. กระบุง ข. กระเดือก
ค. กระดาก
๑๖. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ บอระเพ็ด”
ก. ของขม ข. เกร็ ดนิทาน
ค. พวงพะยอม
๑๗. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ พจมาน”
ก. พวงพะยอม ข. สักวา
ค. ที่หวานหอม
๑๘. คำใดออกเสี ยงแตกต่างจากคำอื่นมากที่สุด
ก. ตลับ ข. ตลาด
ค. ตะลุง
๑๙. “รู งู เลื้อย ลง” เรี ยงเป็ นประโยคได้อย่างไร
ก. เลื้อยงูลงรู ข. งูเลื้อยลงรู
ค. งูลงรู เลื้อย
๒๐. คำใดมีความหมายในทางที่ไม่ดี
ก. ปลาบปลื้ม ข. ประทิ่น
ค. หยามหยาบ

เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บทที่ ๓

ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕


ก ค ข ก ค
ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๙ ข้อ ๑๐
ก ก ค ก ข
ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๕
ข ค ข ค ก
ข้อ ๑๖ ข้อ ๑๗ ข้อ ๑๘ ข้อ ๑๙ ข้อ ๒๐
ข ค ค ข ค

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑๐
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การเขียนบทสนทนา
๒. การนำเสนอผลงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. การแสดงบทบาทสมมุติ
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
ผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๓ รื่นรสสั กวา แผนที ๑๐ การอ่ านบทร้ อยกรอง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒๐ – ๒๑


มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบทดสอบหลังเรียน
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๒๐ ๕๔









๑๐
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๔๕ – ๕๔ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๓๐ – ๔๔ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

You might also like