You are on page 1of 116

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒


ชุดวรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านจับใจความ เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ
แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๑ การอ่ าน
 บทเรี ยน เรื่ อง “เก่งใหญ่ กับ เก่งเล็ก”
 การตอบคำถาม
การจับใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่านเป็ นการบันทึกความจำเรื่ องราวที่ผา่ นทาง
ประสาทตา บันทึกไว้ในห้วงมโนทัศน์ เพื่อเตรี ยมพร้อมที่จะถ่ายโอนสาระที่อ่านไปสู่ ผนื่ ได้
ด้วยสำนวนภาษาของตนเอง
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการอ่าน
- ความสามารถในการเก็บสาระสำคัญ
- ความสามารถในการตอบคำถาม
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนจับใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่านได้
๓.๒ นักเรี ยนตั้งคำถาม - ตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่านได้
๓.๓ นักเรี ยนนำข้อคิดจากเรื่ องมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒ ให้นกั เรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน บทที่ ๒ นิทานอ่านใหม่ จำนวน


๒๐ ข้อ เสร็ จแล้วครู ตรวจสอบความถูกต้อง ประกาศผลเป็ นคะแนนให้นกั เรี ยนทราบโดยที่
ยังไม่ตอ้ งเฉลย
๗.๓ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่ อง “เก่งใหญ่ กับ เก่งเล็ก” พร้อมกันแล้ว
ช่วยกันอภิปรายเนื้ อหาของเรื่ อง เขียนสรุ ปแล้วส่ งตัวแทนออกมาอ่านบทสรุ ปที่หน้าชั้นเรี ยนที
ละกลุ่ม
๗.๔ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านนิทาน “ ราชสี ห์กบั หนู” แล้วตอบคำถามและสรุ ป
เรื่ องโดยใช้สำนวนของนักเรี ยนเพิม่ เติม เสร็ จแล้วส่ งตัวแทนอ่านที่หน้าชั้นเรี ยน
๗.๕ นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนสรุ ปใจความสำคัญ นำ
ส่ งครู ตรวจสอบและประเมินผลงาน
๗.๖ นักเรี ยนทุกคนทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๒ ( ท้ายแผน ) ชุด ตั้งคำถาม – ตอบคำถาม
เตรี ยมอ่านนำเสนอหน้าชั้นเรี ยนในชัว่ โมงต่อไป

๘. สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้ / บุคคล


รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งที่ได้ มา
ลำดับที่
๑ บัตรคำศัพท์ นักเรี ยนเรี ยนรู ้ค ำศัพท์และบอก ครู จดั เตรี ยม
ความหมาย
๒ แฟ้ มสะสมผลงาน นักเรี ยนเก็บสะสมผลงาน ครู จดั ทำ
๓ บทอ่าน นักเรี ยนฝึ กอ่านจับใจความ ครู จดั เตรี ยม
๔ แบบฝึ กหัดชุดที่ ๑ นักเรี ยนทำใบงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๕ แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒ นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ครู จดั ทำ
๖ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
ลำนำ ชั้น ป.๒
๗ เฉลยแบบฝึ กหัด ตรวจสอบแบบฝึ กหัด ครู จดั ทำ
๘ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๙ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม และ ครู จดั ทำ
พฤติกรรม และแบบประเมิน บันทึกผลงานรายบุคคล
ผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน
กิจกรรมที่ประเมิน การประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบประเมินการสังเกต ๑๖ = ดีมาก
คุณลักษณะ พฤติกรรม และแบบ สังเกตรายบุคคล ๑๓ – ๑๕ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๐ = ปรับปรุ ง
๒. นักเรี ยนเขียนสรุ ปเรื่ อง แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๕ = ดีมาก
๔ = ดี
๓ = พอใช้
ต่ำกว่า ๓ = ปรับปรุ ง
๓. นักเรี ยนทำ แบบประเมินการสังเกต ๑๘ - ๒๐ = ดีมาก
แบบทดสอบก่อนเรี ยน พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุคคล ๑๖ – ๑๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๒ – ๑๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๒ =
ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑ สังเกตรายกลุ่ม ๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินการสังเกต ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๒ พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุคคล ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
………….
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
…………………….………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………..………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. เก่งใหญ่เหมือนกับราชสี ห์ในข้อใด
ก. คิดว่าตนเองใหญ่กว่าคนอื่น
ข. ชอบเล่นไล่ล่าเหมือนกัน
ค. มีจิตใจโอบอ้อมอารี
๒. นิทานอีสป มีลกั ษณะเด่นในด้านใด
ก. เน้นความสนุกสนาน
ข. เน้นความบันเทิงมากกว่า
ค. เน้นการสอดแทรกคติสอนใจ
๓. อีสป เป็ นนักเล่านิทานชาติใด
ก. ชาวกรี ก ข. ชาวไทย
ค. ชาวอียปิ ต์
๔. เหตุใดราชสี ห์จึงคิดว่าหนูจะช่วยตนเองไม่ได้
ก. หนูชอบโกหก ข. หนูตวั เล็ก
ค. หนูป่วยขี้โรค
๕. ราชสี ห์ยอมปล่อยหนูไป แสดงว่าราชสี ห์มีนิสยั อย่างไร
ก. เชื่อง่าย ข. โอบอ้อมอารี
ค. เห็นแก่ตวั
๖. หนูเป็ นสัตว์ประเภทใด
ก. ตัวเล็กเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ข. ตัวใหญ่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ค. ตัวเล็กออกลูกเป็ นไข่
๗. ยุง้ ฉาง หมายถึงอะไร ใช้ประโยชน์อย่างไร
ก. ที่เก็บข้าวเปลือก ข. ที่เก็บข้าวสาร
ค. ที่เก็บผลผลิตพืชไร่
๘. ราชสี ห์ไปติด .......................... ที่นายพรานดักไว้
ก. ยุง้ ฉาง ข. บ่วงแร้ว
ค. กับดัก
๙. ราชสี ห์สิ้นปั ญญา ลงร้อง....................... ก้องไปทั้งป่ า
ก. ก้องกึก ข. เสี ยงดัง
ค. ครวญคราง
๑๐. หนูร้อง.....................ว่า “ ข้าพเจ้าขอชีวติ ไว้สกั ครั้งหนึ่งเถิด
ก. วิงวอน ข. ขอร้อง
ค. ระงม

๑๑. หนูชนิดใดนำเชื้อโรคแพร่ สู่คนได้ง่าย


ก. หนูนา ข. หนูบา้ น
ค. หนูท่อ
๑๒. ประโยคใดอธิบายรู ปภาพนี้ ได้ดีที่สุด
ก. ช้างตัวใหญ่ ข. ช้างลากซุง
ค. ช้างงัดซุง

๑๓. รู ปภาพนี้ ตรงกับคำใด


ก. วางเพลิง ข. ดับไฟ
ค. ดับเพลิง
๑๔. ตัวละครที่กล่าวถึงในเรื่ องนี้ คู่ใดเหมือนกันที่สุด
ก. เก่งเล็ก – เก่งใหญ่ ข. เก่งใหญ่ – หนู
ค. เก่งเล็ก – หนู
๑๕. ตัวละครคู่ใดแตกต่างกันมากที่สุด
ก. เก่งเล็ก – หนู ข. เก่งใหญ่ – หนู
ค. เก่งใหญ่ – ราชสี ห์

๑๖. คำว่า “ ราชสี ห์” อ่านออกเสี ยงอย่างไร


ก. รา – ชะ – สี ข. ราด – ชะ – สี
ค. ราด – สี
๑๗. การพูดหรื อแสดงกิริยาให้คนอื่นเจ็บใจ ตรงกับคำใด
ก. หัวร่ อ ข. วิงวอน
ค. เยาะ
๑๘. สิ่ งใดไม่ถูกกล่าวถึงในเรื่ อง “ นิทานอ่านใหม่”
ก. ราชสี ห์ ข. อีสป
ค. กระต่าย
๑๙. สถานที่ใดไม่ถูกกล่าวถึงในเรื่ องนี้
ก. โรงเรี ยน ข. ป่ าใหญ่
ค. ร่ มไม้
๒๐. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ หนูนา” มากที่สุด
ก. ราชสี ห์ ข. พาไป
ค. หนูบา้ น

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยน บอกข้อคิดจากการอ่าน เรื่ อง ราชสี ห์กบั หนู ใน
ช่องว่าง

………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………..

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒

คำชี้แจง อ่านข้อความที่ก ำหนดให้ แล้วตั้งคำถามตอบคำถามและสรุ ปเรื่ อง


การศึกษาในปัจจุบนั มีการใช้แหล่งเรี ยนรู้และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
ทำให้เด็กไทยสามารถสื บค้นข้อมูล ค้นคว้าหาความรู้ได้ดว้ ยตนเองตามความ
สนใจอย่างกว้างขวาง ดังนั้นนอกจากจะต้องฝึ กใช้เครื่ องมือค้นคว้าให้เป็ นแล้ว
การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารยังเป็ นความจำเป็ นอย่างยิง่ ที่เด็กทุกคนจะต้องฝึ กฝนให้
เกิดทักษะทั้งการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
ต่อการรับสาระความรู้และถ่ายทอดความรู้ความคิดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เช่น
ผูท้ ี่มีทกั ษะการฟัง การดู และการอ่าน จะทำให้จบั ใจความสำคัญ ประเด็นสำคัญ
สรุ ปความรู้จากการฟัง การดูและการอ่านเรื่ องนั้น ๆ ได้ตามต้องการ ผูท้ ี่พดู
และเขียนได้ดียอ่ มสรุ ปความ ย่อความ หรื อขยายความในการพูด บันทึกหรื อ
รายงานสิ่ งที่เป็ นความรู้ได้ชดั เจน
ตั้งคำถาม ตอบคำถาม

สรุ ป

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านนิทาน
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ ประกอบแผนที่ ๑ การอ่ านจับใจความสำคัญ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบทดสอบก่ อนเรียน
การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๔๐ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๙ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านออกเสี ยง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดไปใช้ตดั สิ นใจ แก้
ปัญหาและสร้างวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ได้ถูกต้อง
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๑ การอ่ าน
 อ่านออกเสี ยงในบทเรี ยนเรื่ อง นิทานอ่านใหม่
 คำศัพท์ในบทเรี ยน ยังฉาง เยาะ ละคร
การอ่านออกเสี ยงเป็ นการอ่านที่คนอื่นสามารถรับรู ้เรื่ องด้วยได้ ดังนั้น ผูอ้ ่านต้อง
อ่านให้ถูกต้องและชัดเจนจึงจะรับสารได้ท้งั คนอ่านและคนฟัง การฝึ กปฏิบตั ิเพื่อการอ่าน
ออกเสี ยง จึงเป็ นสิ่ งจำเป็ นเพื่อจะได้น ำไปใช้ได้ถูกต้องต่อไป
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อ่านออกเสี ยงคำใหม่และคำในบทเรี ยน เรื่ อง นิทานอ่านใหม่ ได้ถูกต้อง
และชัดเจน
๓.๒. บอกความหมายของคำและนำคำมาแต่งประโยคได้
๓.๓. คัดลายมือได้สวยงาม สะอาด และเป็ นระเบียบ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒ การบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ตัวแทนนักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมาเล่านิทานที่ตนเองเคยได้ยนิ มาแล้ว
ให้เพื่อนฟัง
๗.๓. ครู น ำคำศัพท์ในบัตรคำมาติดบนกระเป๋ าผนังทีละคำ แล้วนักเรี ยนคนที่อ่าน
เก่งออกมาอ่านให้ทุกคนอ่านตาม
๗.๔. จับฉลากเลขที่นกั เรี ยน ๑ คน มาอ่านคำใหม่ทีละคำให้เพื่อนอ่านตาม
๗.๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม แข่งขันการหาความหมายของคำ ดังนี้
 ครู อ่านคำศัพท์ทีละคำ
 แต่ละกลุ่มหาความหมายของคำศัพท์จากพจนานุกรมของนักเรี ยน
 กลุ่มใดพบก่อนให้ออกมาเอาคำศัพท์ที่กระเป๋ าผนัง
 หมดคำศัพท์ให้นบั คำศัพท์ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มใดได้มากถือว่าชนะ
๗.๖. จับฉลากเพื่ออกมาแต่งประโยคจากคำศัพท์ บนกระดานดำตามที่ครู อ่าน ให้
เขียน จากนั้นให้ทุกคนแต่งประโยคด้วยตนเอง
๗.๗. เปิ ดหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชุด วรรณคดีล ำนำ เรื่ อง นิทาน อ่านใหม่ (หน้า
๑๕
– ๑๖) แล้วอ่านออกเสี ยงในบทเรี ยนคนละ ๓ ประโยค เน้นการออกเสี ยงคำควบกล้ำ
สระ วรรณยุกต์และการเว้นวรรคตอนให้ถูกต้องและชัดเจน
๗.๘. ร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน
๗.๙. คัดลายมือตอนที่นกั เรี ยนชอบ คนละ ๕ บรรทัด
๗.๑๐. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓ ( ท้ายแผน )แล้วช่วยกันตรวจ
คำตอบ
๗.๑๑. ช่วยกันสรุ ปเรื่ องที่อ่านในบทเรี ยนอีกครั้งเพื่อเป็ นการทบทวน
๗.๑๒. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการทำกิจกรรม

๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้


๑. นิทาน
๒. บัตรคำ
๓. พจนานุกรม
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓
๕. หนังสื อเรี ยนชุดภาษาพาทีและวรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๕. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคลและรายกลุ่ม

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบการ่ วมกิจกรรม - แบบบันทึกผลการสังเกต
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การอ่านออกเสี ยง - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสี ยงมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี อ่านออกเสี ยงได้ชดั เจน ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้ดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี
วางบุคลิกในการอ่านได้พอใช้
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้องตาม
อักขรวิธี มีผดิ พลาดบ้าง วางบุคลิกในการอ่านไม่ค่อยดี
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
แบบฝึ กอ่านออกเสียง

ราชสี ห์กบั หนู


ราชสี ห์ตวั หนึ่งนอนหลับอยูใ่ ต้ตนไม้ ในเวลานั้นหนูตวั หนึ่งขึ้น
ไต่ขา้ มตัวราชสี ห์ ราชสี ห์รู้สึกตัว ตื่นขึ้นกระโดดตะครุ บเอาหนูตวั นั้น
ไว้ได้ ราชสี ห์นึกโกรธ จะขย้ำหนูตวั นั้นเสี ย หนูจึงร้องวิงวอนว่า “ข้า
พเจ้าขอชีวติ ไว้สกั ครั้งหนึ่งเถิด อย่าพึ่งฆ่าข้าพเจ้าเสี ยเลยถ้าท่านปล่อย
ข้าพเจ้าไป ข้าพเจ้าจะมีลืมคุณของท่านเลย”
ราชสี ห์หวั ร่ อแล้วว่า “ตัวเอ็งเล็กเท่านี้ เอ็งจะมาตอบแทนคุณ
อย่างไรได้” ว่าแล้วก็ปล่อยหนูไป
อยูม่ ามิชา้ มินาน ราชสี ห์ตวั นั้นไปติดบ่วงแร้วที่นายพรานเขา
ดักไว้ จะดิ้นรนเท่าไรก็ไม่หลุด ราชสี ห์สิ้นปั ญญา ลงร้องครวญคราง
ก้องไปทั้งป่ า ฝ่ ายหนูตวั นั้นได้ยนิ เสี ยงราชสี ห์ร้องจำได้ จึงวิง่ มาปี น
ขึ้นไปบนคันแร้ว เอาฟันแทะเชือกขาด ให้ราชสี ห์หลุดรอดพ้นจาก
ความตายไปได้
หนูจึงร้องไปแก่ราชสี ห์วา่ “แต่เดิมท่านก็หวั รอเยาะข้าพเจ้าว่า
เอ็งตัวเล็กเพียงเท่านี้ จะแทนคุณท่านอย่างไรได้ มาบัดนี้ ข้าพเจ้าก็ได้
แทนคุณของท่านซึ่ งเป็ นสัตว์ใหญ่และมีก ำลังมาก ให้เห็นประจักษ์แก่
ตาท่านอยูเ่ องแล้ว”

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓


คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันตอบคำถามต่อไปนี้

1. ราชสี ยอมปล่อยหนูไป แสดงว่าราชสี ห์มีนิสยั อย่างไร


…………………………………………………………………………..
2. หนูไปช่วยราชสี ห์ แสดงว่าหนูมีคุณธรรมข้อใด…………………………
………………………………………………………………………….
3. ในเรื่ องนี้ ระหว่างราชสี ห์ กับหนู ใครเป็ นผูย้ งิ่ ใหญ่ พร้อมให้เหตุผล
ประกอบ…………………………………………………………………
4. เปรี ยบเทียบตัวละครเด็กเล็กเก่งใหญ่ และราชสี ห์กบั หนูในนิทานว่า เหมือน
หรื อแตกต่างกันอย่างไร…………………………………………
5. เก่งใหญ่คิดอะไรได้ หลังจากฟังนิทานเรื่ อง ราชสี ห์กบั หนู……………..
………………………………………………………………………….
6. ทำไมคุณครู ใจดี จึงเล่านิทานอีสปเรื่ องนี้ ให้เด็ก ๆ ฟัง………………….
………………………………………………………………………….
7. นิทานเรื่ องนี้ ให้ขอ้ คิดอย่างไรบ้าง……………………………………….

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การร่ วมสนทนา
๒. การอ่านออกเสี ยง
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. การแสดงบทบาทสมมุต
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ ประกอบแผนที่ ๒ การอ่ านออกเสี ยง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓


มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๐ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๙ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านเสริมบทเรียน เวลา ๑ ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ สามารถอ่านได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน เข้าใจความหมายของคำและ
ข้อความที่อ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
- การอ่านเสริ มบทเรี ยน
การอ่านเสริ มบทเรี ยนเป็ นการเพิ่มประสบการณ์ดา้ นการอ่าน ปลูกฝังให้ผเู้ รี ยนรัก
การอ่านและศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ขยายขอบเขตการเรี ยนรู ้ให้ผเู้ รี ยนได้เปิ ดโลกทัศน์ที่กว้าง
ไกล รู ้จกั คิดวิเคราะห์เรื่ องที่อ่านและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อ่านบทอ่านเสริ มแล้วจับใจความสำคัญ
๓.๒. สรุ ปเรื่ อง แนวคิดและตอบคำถามจากเรื่ อง
๓.๓ อ่านออกเสี ยงอย่างถูกต้อง
๓.๔. นำแนวคิดของเรื่ องที่อ่านมาเขียนเรื่ องด้วยภาษาตัวเองและวาดภาพ
ประกอบ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การวาดภาพประกอบ
๖.๒ การทำฝึ กหัด

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม
๗.๒. นักเรี ยนอ่านเสริ มเพิ่มความรู ้ “หนู” แล้วสนทนา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
บทเรี ยน
๗.๓. นักเรี ยนบทอ่านเสริ ม เรื่ อง หนู โดยจับคู่อ่านกับเพื่อนจนคล่องแคล่วแล้ว
ตอบคำถามลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔ ( ท้ายแผน ) แล้วช่วยกันอ่านคำศัพท์ในบทเรี ยนจน
คล่อง
๗.๔. ให้นกั เรี ยนคัดคำศัพท์ลงในสมุด
๗.๕. นักเรี ยนติดแผนภูมิบทร้อยกรอง เรื่ อง หนูฉวี บนกระดานดำ
๗.๖. นักเรี ยนอ่านบทร้อยกรองตามครู ทีละวรรค (หรื อจะให้นกั เรี ยนที่อ่านเก่งมา
พาเพื่อนอ่านก็ได้ ) แล้วตอบคำถามจากครู
๗.๗. นักเรี ยนฝึ กอ่านเองจนคล่อง ถ้ายังบกพร่ องให้เพื่อนช่วยแนะนำ หรื อครู
ช่วยแก้ไขต่อไป
๗.๘. นักเรี ยนสังเกตคำคล้องจองที่ครู ยกตัวอย่างให้ดู เช่น
ตลาด กับ ขยาด
ตน กับ จน
ฉลาด กับ ตลาด
๗.๘. นักเรี ยนคัดบทร้อยกรองลงสมุด แล้วฝึ กอ่านให้คล่อง และโยงคำที่
คล้องจองกัน
๗.๙. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอ่านบทร้อยกรองและวาดภาพระบายสี ให้
สวยงามประกอบ
๗.๑๐. นักเรี ยนและครู ช่วยกันสรุ ปสาระสำคัญของเรื่ องที่อ่านอีกครั้ง

๗.๑๑. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งนิทานเกี่ยวกับสัตว์ ในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕


( ท้ายแผน ) แล้วส่ งตัวแทนนำเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรี ยน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. นิทานเรื่ อง “ หนู”
๒. รู ปภาพ
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การตอบคำถาม - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการตอบคำถามมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ตอบได้ถูกหมดทุกคำถาม
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ตอบผิด ๑ – ๒ คำถาม
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ตอบผิด ๓ คำถามขึ้นไป
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับ ๒ ขึ้นไป หรื อได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบฝึ กอ่านออกเสียง
หนู
หนูเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีฟันสำหรับแทะอาหาร อาศัยอยู่
ทัว่ ไปตามบ้านเอนและในถิ่นธรรมชาติ หนูมีหลายชนิดแพร่ พนั ธุ์ได้
รวดเร็ ว เราจะไม่คอ่ ยเห็นหนูเพราะมันชอบอยูใ่ นโพรงและชอบวิง่ หนี
เมื่อเจอคนหรื อสัตว์อื่น หนูกินพืชและอาหารต่าง ๆ หนูนาจะใช้หญ้า
ทำรังบนพื้นดินติดโคนต้นข้าว ส่ วน หนูด ำ หนูท่อ หรื อ หนูบา้ น จะ
อาศัยอยูต่ ามบ้านและยุง้ ฉางในชุมชนหนูเหล่านี้เป็ นตัวแพร่ เชื้อโรค
และชอบกัดแทะข้าวของเสี ยหาย

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งนิทานเกี่ยวกับสัตว์ที่นกั เรี ยน


ชอบพร้อมกับวาดภาพประกอบ
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
…………………………….

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ๑.ให้นกั เรี ยนอ่านบทร้อยกรองข้างล่างนี้แล้ววาดภาพประกอบ
แผนภูมิบทร้ อยกรอง “หนูฉวี”

คุณตาไปตลาด แกขยาดข้ามถนน
ขยับเขยกตน หกล้มจนถลาล้ม
หนูฉวีเด็กฉลาด ไปตลาดขมีขมัน
เห็นตาขณะนั้น รี บถลันช่วยเร็ วไว
คุณตาว่าหนูจ๋า เดี๋ยวแม่วา่ เถลไถล
ไปเถิดตาขอบใจ ขนมนี้ให้หนูคนดี
หนูฉวีคนขยัน ทุกทุกวันทำหน้าที่
น้ำใจก็อารี เด็กเช่นนี้ฉลาดเฉลียว

คำชี้แจง ๒. ให้นกั เรี ยนตอบคำถาม

1. คุณตาไปที่ไหน
……………………………………………………………………..
2. หนูฉวีเป็ นเด็กที่มีลกั ษณะอย่างไร
……………………………………………………………………..
3. นักเรี ยนอยากเป็ นเหมือนหนูฉวีหรื อไม่ ให้เหตุผล
……………………………………………………………………..
4. ที่ตลาดนักเรี ยนคิดว่าน่าจะมีของอะไรขายบ้าง
……………………………………………………………………..
5. นักเรี ยนเคยไปตลาดหรื อไม่
……………………………………………………………………..

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่าน
๒. การนำเสนอผลงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ ประกอบแผนที่ ๓ การอ่ านเสริมบทเรียน
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม

๓ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๔๐ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๙ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านนิทาน เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ สามารถอ่านได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน เข้าใจความหมายของคำและ
ข้อความที่อ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
 การอ่านนิทาน
 การตั้งคำถาม ตอบคำถาม
การอ่านนิทานเป็ นการเพิ่มประสบการณ์ดา้ นการอ่าน ปลูกฝังให้ผเู้ รี ยนรักการอ่าน
และศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ขยายขอบเขตการเรี ยนรู ้ให้ผเู้ รี ยนได้เปิ ดโลกทัศน์ที่กว้างไกล
รู ้จกั คิดวิเคราะห์เรื่ องที่อ่านและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๒. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๒.๑. อ่านบทอ่านเสริ มแล้วจับใจความสำคัญ
๒.๒. สรุ ปเรื่ อง แนวคิดและตอบคำถามจากเรื่ อง
๒.๓ อ่านออกเสี ยงอย่างถูกต้อง
๒.๔. นำแนวคิดของเรื่ องที่อ่านมาเขียนเรื่ องด้วยภาษาตัวเองและวาดภาพ
ประกอบได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การวาดภาพประกอบ
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ครู น ำภาพหนูกบั ราชสี ห์มาให้นกั เรี ยนดูแล้วเปรี ยบเทียบขนาดของสัตว์
ทั้ง ๒ ตัว
๗.๓. ให้นกั เรี ยนอ่านนิทานเรื่ อง ราชสี ห์กบั หนู แล้วช่วยกันตั้งคำถามเกี่ยวกับ
เนื้อหา แล้วทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖ ( ท้ายแผน )
๗.๔ ให้นกั เรี ยนแสดงบทบาทสมมุติ แล้วบันทึกบทสนทนาลงในแบบฝึ กหัด
ชุดที่ ๗ ( ท้ายแผน )
๗.๕ ครู สนทนาเรื่ อง การตั้งคำถามจากการอ่าน ว่าการอ่านหนังสื อควรมีการตั้ง
คำถาม และตอบคำถามจากรเรื่ องที่อ่าน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนื้ อเรื่ อง และสามารถ
จับใจความสำคัญของเรื่ องได้ ซึ่งลักษณะการตั้งคำถาม มี ๒ ลักษณะ คือ ประโยคคำถามที่
ต้องการคำตอบเกี่ยวกับชื่อบุคคลสิ่ งของ เวลา สถานที่ และวิธีการ ซึ่งจะมีค ำที่ใช้เป็ นคำถาม
ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไรอยูต่ น้ หรื อท้ายประโยค ส่ วนประโยคคำถามอีก
ลักษณะหนึ่ง คือ ประโยคคำถามที่ตอ้ งการคำตอบรับและปฏิเสธ มักมีค ำว่า หรื อ หรื อไม่
ไหม ใช่ไหม อยูท่ า้ ยประโยค
๗.๖ ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การตั้งคำถาม และตอบคำถามจาก
การอ่าน ดังนี้
 การตั้งคำภาม และตอบคำถามจากการอ่าน จะทำให้เข้าใจในเรื้ อหาของ
เรื่ องที่อ่านมากขึ้นสามารถจับใจความสำคัญได้
 ประโยคคำถามที่ตอ้ งการคำตอบเกี่ยวกับ ชื่อบุคคล สิ่ งของ เวลา สถานที่
และวิธีการ จะมีค ำที่ใช้เป็ นคำถามว่า ใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
อยูต่ น้ หรื อท้ายประโยค
 ประโยคคำถามที่ตอ้ งการคำตอบรับหรื อปฏิเสธ จะมีค ำว่า หรื อ หรื อไม่
ไหม ใช่ไหม อยูท่ า้ ยประโยค
๗.๗ ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปจากการทำกิจกรรม
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. นิทานเรื่ อง “ หนู”
๒. รู ปภาพ
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การตอบคำถาม - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการตอบคำถามมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ตอบได้ถูกหมดทุกคำถาม
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ตอบผิด ๑ – ๒ คำถาม
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ตอบผิด ๓ คำถามขึ้นไป
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับ ๒ ขึ้นไป หรื อได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….……………………………….…………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรู ้

การตั้งคำถาม และตอบคำถามจากการอ่ าน

การตั้งคำถาม และตอบคำถามจากการอ่ าน
การอ่านหนังสื อแต่ละครั้ง นักเรี ยนควรฝึ กตั้งคำถาม และตอบ
คำถามจากเรื่ องที่อ่าน เพือ่ ให้ได้รับความรู ้สูงสุ ด และได้ทบทวนความ
รู ้ดว้ ย
ในการตั้งคำถาม ควรตั้งคำถามให้ชดั เจนว่าต้องการคำตอบ
อย่างไร เช่น คำตอบที่บอกเวลา หรื อบอกสถานที่ เป็ นต้น ซึ่ งประโยค
คำถามที่ใช้ในการตั้งคำถามและตอบคำถามมี ๒ ลักษณะ คือ
1. ประโยคคำถามที่ตอ้ งการคำตอบเกี่ยวกับชื่อบุคคล สิ่ งของเวลา
สถานที่ วิธีการ โดยมักมีค ำที่ใช้เป็ นคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อย่างไร อยูต่ น้ หรื อท้ายประโยค
2. ประโยคคำถามที่ตอ้ งการคำตอบรับหรื อปฏิเสธ มักมีค ำว่า หรื อ
หรื อไม่ ไหม ใช่ไหม อยูท่ า้ ยประโยค

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖

คำชี้แจง อ่านหนังสื อเรี ยน วรรณคดีล ำนำ เรื่ อง ราชสี ห์กบั หนู แล้วเขียน
ประโยคคำถามเกี่ยวกับเรื่ อง มา ๓ – ๕ ประโยค พร้อม
วาดภาพประกอบ
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันเล่านิทาประกอบท่าทาง จากเรื่ อง


ราชสี ห์กบั หนู แสดงให้เพื่อนดูที่หน้าชั้นเรี ยน โดยเขียนบท
สนทนาระหว่างราชสี ห์กบั หนูลงในกรอบข้างล่างนี้
ราชสี ห์ : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
หนู : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
ราชสี ห์ : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
หนู : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
ราชสี ห์ : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
หนู : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
ราชสี ห์ : ……………………………………………………….
……………………………………………………….
หนู : ……………………………………………………….
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การตั้งคำถาม - ตอบคำถาม
๒. การแสดงบทบาทสมมุติ
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดภาษาพาที – วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ ภาษาไทยร่ ายรำ ประกอบแผนที่ ๔ การอ่ านเสริมบทเรียน
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๘ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้
ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒ / ๔ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การพูดแสดงความคิดเห็น
การฟัง การพูด การสนทนา การอภิปรายและการแสดงความคิดเห็น เป็ นทักษะ
ทางภาษที่ตอ้ งปฏิบตั ิฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ เพื่อที่จะนำไปใช้ให้ถูกต้องในการสื่ อสาร
ทางภาษาต่อไปได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. อภิปรายแสดงความคิดเห็นร่ วมกันในหัวข้อที่ครู ก ำหนด
๓.๒. เขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ และอ่านร่ ายงานหน้าชั้นเรี ยน
๒.๓. วาดภาพประกอบลำดับเหตุการณ์และตั้งชื่อเรื่ อง
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การเขียนแสดงความคิดเห็น
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับบทเรี ยนเรื่ อง นิทานอ่านใหม่ แล้วครู


อธิบายเพิม่ เติมก่อนพูดโยงสู่ บทเรี ยนต่อไป
๗.๓. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มตามเหมาะสม เพือ่ ทำกิจกรรมการแสดงความคิดเห็นตาม
หัวข้อที่ร่วมกันกำหนด
๗.๔. นักเรี ยนร่ วมกันตั้งหัวข้อเพื่อร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อหรื อ
เรื่ องที่ต้ งั นั้น เช่น
 ราชสี ห์มีพฤติกรรมอย่างไร
 การกระทำของหนูที่ช่วยราชสี ห์ เป็ นการกระทำที่เหมาะสมหรื อไม่
 ถ้านักเรี ยนเป็ นหนูนกั เรี ยนจะทำอย่างไร
๗.๕ แต่ละกลุ่มร่ วมกันสนทนา แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
แล้วเขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘ ( ท้ายแผน ) แล้วคัดเลือกตัวแทนกลุ่ม
ออกมาอ่านให้เพื่อนฟังและส่ งครู ตรวจต่อไป
๗.๖ แต่ละกลุ่มเขียนลำดับเหตุการณ์ของเรื่ องอย่างต่อเนื่องกันและตั้งชื่อให้
เหมาะสมแล้ววาดภาพประกอบจากนั้นส่ งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดหน้าชั้นเรี ยน
๗.๗ นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๙ ( ท้ายแผน ) แล้ว ออกมานำเสนอผลงาน
๗.๘ ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มไปเตรี ยมตัวฝึ กซ้อมการแสดงบทบาท
สมมุติ
ตามนิทานเรื่ อง หนูกบั ราชสี ห์ ให้ไปจัดเตรี ยมวางตัวตัวละคร เตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์เครื่ อง
แต่งกายของตัวละครแต่ละตัวให้พร้อม เพือ่ นำมาแสดงในชัว่ โมงต่อไป
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. กระเป๋ าผนัง
๒. บัตรคำ
๓. แผนภูมิตวั อย่างประโยค
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘ – ๙
๕. บทร้อยกรอง
๖. หนังสื อเรี ยนชุดภาษาพาทีและวรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๗. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายกลุ่ม
๘. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การแสดงความคิดเห็น - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเขียนแสดงความคิดเห็นมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เขียนได้ถูกต้อง แสดงความคิดเห็นได้อย่าง
สร้างสรรค์
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนผิดอยูบ่ า้ ง แสดงความคิดเห็น
ได้อย่างสร้างสรรค์
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนผิดมาก ไม่ค่อยมี
ความคิดสร้างสรรค์
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียน ประโยชน์ของนิทาน

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๙


คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเลือกคำมาเขียนในช่องว่างแล้วอ่าน
ให้กลุ่มอื่นฟัง
เด็ก ๆ ช่วยกัน………………………………………………………
นักเรี ยนชายเป็ น………………………………..ขาย……………………
………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
นักเรี ยนหญิงเป็ น………………………..ขาย…………………………..
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๒. การแสดงความคิดเห็น
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. การแสดงบทบาทสมมุต
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ แผนที่ ๕ การแสดงความคิดเห็น
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๘


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๙
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม

๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การแสดงบทบาทสมมุติ เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้
ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒ / ๖ พูดสื่ อสารได้ชดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- การพูดแสดงบทบาทสมมุติ
การเรี ยนรู ้ที่สอดแทรกด้วยการแสดงบทบาทสมมุติ จะทำให้ประสิ ทธิภาพในการ
เรี ยนรู ้สูงขึ้น เกิดองค์ความรู ้ที่ยงั่ ยืน ผูเ้ รี ยนสามารถนำประสบการณ์และทักษะที่ได้จากการ
แสดงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติตามบทอ่านได้
๓.๒ นักเรี ยนใช้ภาษาได้ถูกต้องตามสถานการณ์
๓.๓ นักเรี ยนวิจารณ์การแสดงบทบาทสมมุติของเพื่อนได้
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกการประเมินผล
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติ ตามนิทานเรื่ อง ราชสี ห์กบั หนู ตาม


ที่ไปเตรี ยมซ้อมมา กลุ่มละ ๓ – ๕ นาที
๗.๓ ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวิจารณ์การแสดงบทบาทสมมุติของกลุ่มอื่น โดย
เขียนลงในแผ่นกระดาษ จากนั้นส่ งตัวแทนนำเสนอหน้าชั้นเรี ยน ครู ร่วมสรุ ปการวิจารณ์
การแสดงของแต่ละกลุ่ม
๗.๔ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งนิทานต่อจากเรื่ องที่ก ำหนดให้ เป็ น
แบบฝึ กหัดรายกลุ่ม ชุดที่ ๑๐ ( ท้ายแผน ) เสร็ จแล้วนำส่ งครู ตรวจสอบและประเมินผล
๗.๕ นักเรี ยนทุกคนทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๑๑ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนประโยค
ที่น่าจะใช้พดู ในสถานการณ์ที่ก ำหนดให้ ครู และนักเรี ยนร่ วมกันเฉลย และเปรี ยบเทียบ
คำตอบของแต่ละคน จากนั้นนักเรี ยนเก็บผลงานลงในแฟ้ มสะสมผลงาน
๘. สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้ / บุคคล
รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งที่ได้ มา
ลำดับที่
๑ บัตรคำศัพท์ นักเรี ยนเรี ยนรู ้ค ำศัพท์และบอก ครู จดั เตรี ยม
ความหมาย
๒ แฟ้ มสะสมผลงาน นักเรี ยนเก็บสะสมผลงาน ครู จดั ทำ
๓ เครื่ องแต่งตัวละคร นักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติ ครู จดั เตรี ยม
๔ แบบฝึ กหัดชุดที่ ๑๐ นักเรี ยนแต่งต่อนิทาน ครู จดั ทำ
๕ แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑ นักเรี ยนเขียนประโยค ครู จดั ทำ
๖ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
ลำนำ ชั้น ป.๒
๗ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๘ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม และ ครู จดั ทำ
พฤติกรรม และแบบประเมิน บันทึกผลงานรายบุคคล
ผลงานรายบุคคล
๗. วัดผลประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน
กิจกรรมที่ประเมิน การประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบประเมินการสังเกต ๑๖ = ดีมาก
คุณลักษณะ พฤติกรรม และแบบ สังเกตรายบุคคล ๑๓ – ๑๕ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๐ = ปรับปรุ ง
๒. นักเรี ยนแสดงบทบาท แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๕ = ดีมาก
สมมุติ ๔ = ดี
๓ = พอใช้
ต่ำกว่า ๓ = ปรับปรุ ง
๓. นักเรี ยนเขียนวิจารณ์ แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑๐ สังเกตรายกลุ่ม ๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๕. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินการสังเกต ๘ - ๑๐ = ดีมาก
ชุดที่ ๑๑ พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุ ค คล ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………..…………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………..………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………..………………………………
วันหนึ่/งแนวทางแก้
ข้อเสนอแนะ ช้างเดินไปหากิ
ไข น ไปเจอกับเสื อ เสื อถามช้างว่า“เจ้าช้าง
เออ....ดู เจ้าก็ตวั ใหญ่ดีนะ” ช้างยิม้ นิดหนึ่งก่อนตอบว่า “ใช่สิเราก็เป็ นสัตว์ตวั
…………………………………………………………………………………………………
ใหญ่ นนั่ แหละ ทำไมหรื อ” เสื อยิม้ อย่างหยาม ๆ ก่อนพูดว่า “เจ้านะตัวใหญ่
…………………………………………………………………………………….
เฉย ๆ หรอก แต่ไม่เห็นเก่งเหมือนข้าเลย” ช้างทำหน้างง ๆ แล้วพูดว่า “เราไม่
…………………………………………………………………………………………………
เก่ งยังไง เจ้าเก่งยังไง เราเองก็ไม่รู้ความหมายของเจ้า อธิบายให้เราฟังหน่อย
…………………………………………………………………………………………………
สิ…………
” เสื อทำท่ายกไหล่อย่างผูเ้ ก่งกล้าก่อนพูดว่า “ดูอาหารการกินสิ เจ้าหากิน
ใบไม้ใบหญ้า ซึ่งเป็ นเหมือนสิ่ งไม่มีชีวิต แต่อาหารของข้าสิ เป็ นอาหารที่มี
ชีวิตและวิ่งได้ แต่ละวันฉันต้องไล่สตั ว์กินลงชื เป็ น่อ……………………………………..
อาหาร”
( ............................................... )
.............................................................................................................................
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
.............................................................................................................................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๐
.............................................................................................................................
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งต่อนิทานต่อไปนี้ให้จบเรื่ อง
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.........
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑

คำชี้แจง ในสถานการณ์ต่อไปนี้ นกั เรี ยนจะใช้ค ำพูดประโยคใดให้เขียนประโยค


ที่เห็นว่าเหมาะสมและสั้นๆลงในช่องว่าง
๑. ประโยคแรกในการรับสายโทรศัพท์
๒. เห็นเพื่อนที่ห่างกันนานมีรูปร่ างอ้วนขึ้น
๓. ขอช่วยคุณครู ถือสิ่ งของ
๔. ตอบรับคำขอโทษที่เพื่อนเดินชนตนเอง
๕. ชื่นชมที่เพื่อวาดภาพได้สวย
๖. ไปถามทางที่จะไปวัดกับคนที่ไม่คุน้ เคยกับเขา
๗. เตือนเพื่อนไม่ให้เข้าใกล้คนแปลกหน้า
๘. บอกคุณครู วา่ เพื่อนไม่สามารถส่ งการบ้านได้เนื่องจากเพื่อนป่ วย
๙. ปลอบใจเพื่อนเมื่อสุ นขั ของเพื่อนถูกรถชนตาย
๑๐. พูดกับเพื่อนร่ วมทีมเมื่อทีมฟุตบอลของตนเองแพ้ในการแข่งขัน

1. ..................................................................................................................
2. .................................................................................................................
3. .................................................................................................................
4. .................................................................................................................
5. .................................................................................................................
6. .................................................................................................................
7. .................................................................................................................
8. .................................................................................................................
9. .................................................................................................................
10. .................................................................................................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การแสดงบทบาทสมมุติ
๒. การวิจารณ์การแสดง
๓. การเตรี ยมความพร้อม
๔. การทำใบงานกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ แผนที่ ๖ การแสดงบทบาทสมมุติ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๐


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๑
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม

๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุดวรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การพัฒนาทักษะทางภาษา เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และ
เขียนเรื่ องราวในรู ปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และ
รายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๒ / ๒ เขียนเรื่ องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
๒. สาระการเรียนรู้
๑.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๑ การเขียน
 การอ่านและเขียนคำ
 การฝึ กคิดจากหัวข้อเรื่ องและเขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ โดยเน้นการใช้ภาษา
 การสนทนาและแสดงความคิดเห็น
 การเขียนตามคำบอก
กิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษาในการอ่านและเขียน เป็ นการเสริ มทักษะในการ
ฟัง พูด อ่าน เขียน ควรเขียนคำ และนำคำมาแต่งประโยค ฝึ กอ่านหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งร่ วม
กันอภิปราย จะทำให้ผเู้ รี ยนมีทกั ษะในการอ่านเขียนดีข้ ึน

๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. เขียนคำได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว และนำไปใช้ได้
๓.๒. เขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ ได้ ในเรื่ องที่ฟังและอ่าน
๓.๓. อ่านข้อความบนแผนภูมิได้คล่องและคัดลายมือสวย
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒ การบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ให้นกั เรี ยนอ่านคำตามบัตรคำ ดังนี้ บ่วงแร้ว ยุง้ ฉาง เยาะ ละคร อุตสาหะ
ธรรมชาติ ต้นไทร ฯลฯ
๗.๓. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันหาความหมายของคำ แล้วแต่งประโยคจากบัตรคำ
๗.๔. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๒ ( ท้ายแผน ) ตอบคำถาม
จากภาพและเขียนประโยค แล้วตัวแทนออกมานำเสนอผลงาน
๗.๕. ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้ไปแต่งเรื่ องพร้อมทั้งวาดภาพประกอบใน
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๓ ( ท้ายแผน )
๗.๖. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนออกมานำเสนอผลงาน
๗.๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการทำกิจกรรม
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. รู ปภาพ
๒. บัตรคำ
๓. พจนานุกรม
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๒ – ๑๓
๕. หนังสื อเรี ยนชุดวรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๕. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและกรอกคะแนนรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - สังเกตแบบบันทึกผล - แบบบันทึกผลการประเมิน
- การร่ วมสนทนา การประเมิน - แบบฝึ กหัด
- การเขียนเรื่ อง - สังเกต - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเขียนเรื่ องและวาดภาพคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เขียนเรื่ องได้ดี เขียนคำได้ถูกต้อง บรรยาย
ได้แบบต่อเนื่องไม่วกวน สอดคล้องกับภาพ
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนเรื่ อง เขียนคำมีผดิ บ้าง
สอดคล้องกับรู ปภาพ
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนเรื่ องไม่ค่อยสอดคล้อง
กับภาพ เขียนคำมีผดิ พลาดมาก
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มดูภาพแล้วช่วยกันตอบคำถาม


1. …………………………. ใคร ......................................
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

2. ใคร………………………….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

3. ใคร………………………….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

๓. ใคร………………………….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

๔.
๔. ใคร.....................................….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

๕. ใคร………………………….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..
๖. ใคร………………………….
ทำอะไร……………………..
กับใคร………………………
ประโยค……………………..

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๓

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้ไปแต่งเรื่ องพร้อมวาดภาพประกอบ

นก ป่ า ต้นไม้ ลำธาร ต่อ แตน ช้าง คำขวัญ


สถานที่ท่องเที่ยว อุทยาน น้ำตก สบายใจ

เรื่อง...............................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
ภาพประกอบ

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การร่ วมสนทนา
๒. การอ่านออกเสี ยง
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. การแสดงบทบาทสมมุต
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ ประกอบแผนที่ ๗ พัฒนาทักษะภาษา
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๓


มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๐ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๙ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๘
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุดวรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง แผนภาพโครงเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒ .๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และ
เขียนเรื่ องราวในรู ปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ
และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๒ / ๒ เขียนเรื่ องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษา
- การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง
แผนภาพโครงเรื่ อง เป็ นแผนภาพที่ประกอบด้วยส่ วนของคำถามเกี่ยวกับเรื่ องบอก
ให้ทราบว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เพราะเหตุใด และข้อคิดจากเรื่ องแผนภาพโครง
เรื่ อง จะช่วยให้สามารถบอกเหตุการณ์ของเรื่ องเป็ นตอน ๆ โดยอาศัยการคิดคำตอบจากคำถาม
ในแผนภาพ และช่วยลำดับเรื่ องได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้สามารถสรุ ปเรื่ องทั้งหมดได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. สามารถเขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้
๓.๒. สามารถเล่าเรื่ องที่อ่านได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑. การทำแบบฝึ กหัด
๖.๒. แบบบันทึกผลการประเมิน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. ครู น ำแผนภูมิเรื่ อง อึ่งอ่างกับวัว ( ท้ายแผน ) มาให้นกั เรี ยนอ่านจากนั้น


ให้นกั เรี ยนตั้งคำถามเกี่ยวกับใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ครู เขียนคำตอบเน้นบน
กระดานแล้วทำเป็ นแผนภูมิโครงเรื่ องจากคำตอบที่ได้ ซึ่งคำตอบของข้อที่ ๑ จะโยงไปยัง
คำตอบข้อที่ ๒ ข้อที่ ๓ ข้อที่ ๔ ตามลำดับ จะทำให้เห็นโครงเรื่ องอย่างชัดเจน ซึ่ง
นักเรี ยนสามารถเขียนแผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ องที่อ่านได้ จากการตั้งคำถามและตอบคำถาม
แล้วนำคำตอบมาเขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง
๗.๓. นักเรี ยนและครู ช่วยกันอภิปราย เติมคำถาม และเหตุการณ์ตามแผนภาพ
โครงเรื่ องได้ดงั นี้ เช่น

ใคร : ……………………..........................................
ที่ไหน : …………………….........................................
เมื่อไร : ……………………........................................
เหตุการณ์ : ………………………………………………
อย่ างไร : ………………………………………………
ข้ อคิด : ………………………………………………
………………………………………………
๗.๔. ครู น ำแผนภูมิเรื่ อง ลูกแมวสกปรก มาให้นกั เรี ยนอ่าน และให้นกั เรี ยนตั้ง
คำถามและตอบคำถามว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และมีผลอย่างไร จากนั้น ให้
นักเรี ยนออกมาเขียนคำตอบที่ละคร และให้อาสาสมัครออกมาเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ครู
และเพื่อน ๆ ช่วยกันแก้ไขปรับปรุ ง
๗.๕. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ดังนี้
1) แผนภาพโครงเรื่ อง เป็ นการเขียนแสดงให้เห็นโครงเรื่ องโดยรวมทั้งเรื่ อง ซึ่ง
ต้องอาศัยการตั้งคำถาม และตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่าน
2) คำถามที่จะได้ค ำตอบเพื่อเขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้ คือ ตัวละครมีใครบ้าง
(ใคร) สถานที่เกิดเหตุ(ที่ไหน) เกิดขึ้นเมื่อไร (เมื่อไร) มีเหตุการณ์อะไรเกิด
ขึ้น(ทำอะไร) และผลของเหตุการณ์น้ นั คืออะไร (อย่างไร/ทำไม)
๗.๖. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มหา อ่านเรื่ อง “ หนูกบั ราชสี ห์” อีกครั้ง แล้วเขียน
เป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง วาดภาพประกอบและระบายสี ให้สวยงาม ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่
๑๔ ( ท้ายแผน ) การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แล้วนำเสนอผลงานที่ป้ายนิเทศ
๗.๗. ครู ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ อง “อึ่งอ่างกับวัว” พร้อมกับ
วาดภาพประกอบและระบายสี ให้สวยงาม ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕ ( ท้ายแผน ) การ
เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แล้วนำเสนอผลงานที่ป้ายนิเทศ
๗.๘. ให้นกั เรี ยนนำผลงานมาจัดป้ านนิเทศ
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. ใบความรู ้
๒. นิทาน
๓. รู ปภาพ
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔ และ ๑๕
๕. แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- ซักถาม
- การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจผลงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเขียนแผนภาพโครงเรื่ องมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้ดี วิเคราะห์
และลำดับขั้นตอนของเรื่ องได้ดี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้ วิเคราะห์
และลำดับขั้นตอนของเรื่ องได้
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้
วิเคราะห์และลำดับขั้นตอนของเรื่ องได้ โดยที่ยงั มีขอ้ บกพร่ อง
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรู้เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
แผนภาพโครงเรื่ อง เป็ นการเขียนแสดงให้เห็นโครงเรื่ องโดยรวมทั้ง
เรื่ อง ซึ่งในการเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ต้องอาศัยการตั้งคำถาม และตอบ
คำถามจากเรื่ องที่อ่านว่าตัวละครในเรื่ องมีใครบ้าง สถานที่ที่เกิดเหตุการณ์เกิด
ขึ้นที่ใด มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น และผลของเหตุการณ์น้ นั คืออะไร แล้วจึง
เขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง
นิทานเรื่อง ลูกแมวสกปรก
ลูกแมวตัวหนึ่งไม่ชอบอาบน้ำ แปรงฟัน ทำให้ตวั เหม็น สกปรก เมื่อลูก
แมวออกไปเล่นกับเพื่อน เพื่อน ๆ ก็ไม่ยอมเล่นด้วย เพราะลูกแมวเหม็น ลูก
แมวกลับบานไปอาบน้ำ และแต่งตัวใหม่ดว้ ยเสื้ อผ้าที่ซกั สะอาด เพื่อน ๆ
เมื่อเห็นลูกแมว สะอาดจึงยอมให้ลูกหมีเล่นด้วย
แผนภาพโครงเรื่องของนิทานเรื่อง ลูกแมว
ตัวละครในเรื่ อง สถานที่ (ฉาก) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ลูกแมว ในบ้าน ลูกแมวตัวสกปรกไป
ผลของเหตุการณ์ เล่นกับเพื่อน ๆ

เพื่อน ๆ ไม่ยอมเล่นกับลูกแมวลูกแมวไปอาบ
น้ำแปรงฟันจนสะอาดเพื่อน ๆ จึงยอมเล่นด้วย
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านและเขียนแผนภาพโครงเรื่ องของนิทานเรื่ อง


“อึ่งอ่ากับวัว”
ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………

นิทานเรื่อง อึง่ อ่ างกับวัว


วัวตัวหนึ่งเดินไปเหยียบลูกอึ่งอ่างครอกหนึ่งตายเกือบหมด เหลืออยู่
เพียงตัวเดียว เมื่อแม่อ่ ึงอ่างกลับจากหากิน ลูกอึ่งอ่างตัวนั้นจึงเล่าเรื่ องให้แม่
ฟังว่า “แม่จ๋าเมื่อตะกี้น้ ีมีสตั ว์ตวั หนึ่งใหญ่โตมาก มากเหยียบพี่ ๆ และน้อง ๆ
ตายหมด เหลือแต่ฉนั ตัวเดียวเท่านั้น” แม่อ่ ึงอ่างสงสัยจึงถามว่า “สัตว์อะไร
จึงใหญ่โตนักหนา ใหญ่เท่านี้ได้ไหม” ว่าแล้วก็พองตัวขึ้น ลูกตอบว่า “มัน
ใหญ่กว่านี้อีกแม่” แม่อ่ ึงอ่างก็พองตัวขึ้นอีก แล้วถามลูกว่า “ใหญ่เท่านี้ได้
ไหม” ลูกตอบว่า “ยังใหญ่ไม่เท่าครึ่ งตัวของมันเลย” แม่อ่ ึงอ่างได้ฟังดังนั้นก็
โกรธ จึง พองตัว ขึ้น ทีล ะน้อ ย ๆ จนโตเกิน ขนาด ท้อ งแตกตายอยูก บั ที่
นิท านเรื่ อ งนี้ ส อนให้รู้ว า่ การทำอะไรเกิน ขนาด หรื อ เกิน ความ
ส า ม า ร ถ ข อ ง ต น เ อ ง อ า จ เ ก ิด อ นั ต ร า ย ห รื อ ค ว า ม เ สี ย ห า ย ไ ด ้

แผนภาพโครงเรื่อง “อึง่ อ่างกับวัว” และภาพประกอบ


ภาพประกอบ

ใคร : …………………………………………………………………
ทำอะไร : …………………………………………………………………
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕
ที่ไหน : …………………………………………………………………
เมื่อไร : …………………………………………………………………
: ้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนเรื่ องตามแผนภาพ
เหตุการณ์ คำชี
โครงเรื่ อง “ ราชสี ห์กบั หนู” ด้วยภาษาของนักเรี ยนเอง
แผนภาพโครงเรื่อง ราชสี ห์กบั หนู

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..

…………………………………………………………
..
…………………………………………………………
..
อย่างไร : …………………………………………………………………
……………………………………………………………..
ข้อคิด : …………………………………………………………………
…………………………………………………………………

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๘
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การตอบคำถาม
๒. การพูดรายงาน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ แผนที่ ๘ แผนภาพโครงเรื่อง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๘ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การแต่ งประโยค เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ................................................ โดย..............................................
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษา และพลังของภาษาภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒ / ๓ เรี ยบเรี ยงคำเป็ นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่ อสาร
๒. สาระการเรียนรู้
๑.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
สาระที่ ๒ การเขียน
- การเขียนเรี ยบเรี ยงประโยค
- การนำคำมาแต่งประโยค
การนำคำมาแต่งประโยค เป็ นการนำคำในบทเรี ยนมาแต่งประโยคให้ได้ใจความ
จะต้องเข้าใจความหมายของคำจึงจะสามารถแต่งประโยคได้ถูกต้อง
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. นักเรี ยนสามารถเขียนเรี ยบเรี ยงประโยคได้
๓.๒. นักเรี ยนสามารถเขียนเรื่ องจากคำที่ก ำหนดได้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การเขียนเรื่ อง
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. ครู น ำแถบประโยคของเรื่ องราวที่จะเรี ยบเรี ยงมาให้นกั เรี ยนอ่าน จากนั้น


ครู ถามนักเรี ยนว่าเหตุการณ์ในแถบประโยคทั้งหมดนี้ เหตุการณ์ใดน่าจะเกิดขึ้นก่อน และ
เหตุการณ์ใดน่าจะเกิดขึ้นตามมา ครู ติดแถบประโยคบนกระดานเรี ยงลำดับก่อนหลังตามที่
นักเรี ยนบอกจากนั้นให้นกั เรี ยนอ่านแล้วถามว่า เรี ยงได้เป็ นเรื่ องราวสอดคล้องกันหรื อไม่ ถ้า
ยังไม่พอใจก็เปลี่ยนแปลงใหม่จนเป็ นที่พอใจ
๗.๓. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มแข่งขันกันเรี ยงแถบประโยคให้เป็ นเรื่ องราว
กลุ่มใดเสร็ จก่อนและถูกต้อง เป็ นฝ่ ายชนะ
๗.๔. ครู อธิบายเรื่ อง การเขียนเว้นวรรคตอน ว่าการเว้นวรรคตอนที่
ความสำคัญต่อการเขียนมากเพราะถ้าเว้นวรรคตอนผิดก็จะทำให้ความหมายเปลี่ยนไปได้ ครู
ยกตัวอย่างข้อความที่เว้นวรรคตอนไม่ถูกต้อง แล้วความหมายเปลี่ยนไป เช่น สมศรี กินกล้วย
แขกร้อนจนตาเหลือก ข้อความที่ถูกต้อง คือ สมศรี กินกล้วยแขก ร้อนจนตาเหลือก เป็ นต้น
๗.๕. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การเขียนเรี ยบเรี ยงประโยค
ดังนี้
1) การเขียนเรี ยบเรี ยงประโยค เป็ นการนำประโยคหลาย ๆ ประโยคมาเรี ยงต่อ
กัน ให้มีใจความต่อเนื่องกันเป็ นลำดับ เป็ นเหตุเป็ นผลกันและไม่สบั สน
2) วรรค หมายถึง คำที่เรี ยบเรี ยงเป็ นข้อความ แล้วเขียนติดกันเป็ นกลุ่มคำ
หรื อประโยค และ หมายถึง คำหรื อข้อความช่วงหนึ่ง ๆ ในบทร้อยกรอง
หนึ่งช่วง คือ ๑ วรรค
3) การเว้นวรรค หมายถึง การเว้นระยะระหว่างข้อความ ๒ ข้อความ (วรรค)
ให้วา่ งไว้เพื่อความสะดวก และความถูกต้องในการอ่าน
๗.๖. ให้แต่ละกลุ่มหาเรื่ องราวที่น่าสนใจสั้น ๆ จากหนังสื อต่าง ๆ หรื อที่
นักเรี ยนแต่งขึ้นเอง นำมาแยกเป็ นประโยค แล้วเขียนเป็ นแถบประโยค เพื่อไว้ใช้ฝึกเรี ยบ
เรี ยงเรื่ องจากประโยค ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖ ( ท้ายแผน ) การเขียนเรี ยบเรี ยง
ประโยค จากนั้น ส่ งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานที่หน้าชั้น และเก็บผลงานไว้ที่มุมกิจกรรม
เพือ่ ให้เพื่อน ๆ ได้มาฝึ กเรี ยบเรี ยงเรื่ องจากประโยคในยามว่าง
๗.๗. ครู ให้นกั เรี ยนเติมตัวเลข ๑ – ๕ ลงใน เพือ่ เรี ยบเรี ยงประโยค
และลำดับเหตุการณ์ให้ถูกต้อง แล้วคัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด โดยเว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง ลง
ในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗ ( ท้ายแผน )
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. กระเป๋ าผนัง
๒. บัตรคำ
๓. แผนภูมิตวั อย่างประโยค
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖ – ๑๗
๕. หนังสื อเรี ยนชุด วรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๕. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๖. แบบกรอกคะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ
- การร่ วมสนทนา - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การแต่งประโยค - ซักถาม - แบบประเมินผลงานกลุ่ม
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการเรี ยบเรี ยงประโยคมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึงดี เรี ยบเรี ยงประโยคเป็ นเรื่ องราวได้ถูกต้อง
ทุกประโยค
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เรี ยบเรี ยงประโยคผิด ๑ -๒ ประโยค
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เรี ยบเรี ยงประโยคผิด ๒
ประโยคขึ้นไป
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
การเขียนเรียบเรียงประโยค

การเขียนเรียบเรียงประโยค
การเขียนเรี ยบเรี ยงประโยค เป็ นการนำประโยคหลาย ๆ ประโยคมา
เรี ยงต่อกันให้มีใจความต่อเนื่องกันเป็ นลำดับ เป็ นเหตุเป็ นผลกันและไม่
สับสน
ตัวอย่ าง การเขียนเรี ยบเรี ยงประโยค
ฉันไปเที่ยวต่างจังหวัด ฉันเล่นน้ำกับพ่อ แม่ซ้ื อกุง้ เผาให้ฉนั กิน ฉัน
ชอบไปทะเล มากที่สุด ฉันชอบมาก ฉันไปเที่ยวทะเลกับพ่อและแม่
ฉันสนุกมาก

ประโยคเมื่อเรี ยบเรี ยงแล้ว


ฉันชอบไปต่างจังหวัด ฉันไปเที่ยวทะเลกับพ่อและแม่ แม่ซ้ื อกุง้ เผาให้
ฉันกิน ฉันชอบมาก ฉันเล่นน้ำกับพ่อ ฉันสนุกมาก ฉันชอบไปทะเลมากที่สุด

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖


ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านประโยคต่อไปนี้ แล้วใส่ หมายเลข ๑ – ๖ หน้า
ประโยค เรี ยงตามลำดับเหตุการณ์แล้วนำมาเขียนใหม่
…………….. มันกระโดดขึ้นเพื่อกินผลองุ่น
……………. ที่มนั ออกปากว่า องุ่นนั้นเปรี้ ยว
…………… สุ นขั จิ้งจอกมองเห็นพวงองุ่นผลงาม
………….. มันจึงพูดว่า “ผลองุ่นนั้นเขียว มันคงเปรี้ ยวจี๊ดฉัน
ไม่กินแล้ว”
………….. เพราะมันกระโดดกินไม่ถึงต่างหาก
………….. แต่มนั รู้ดีวา่ แท้จริ งแล้ว องุ่นนั้นสุ กอร่ อยมาก

...........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗

คำชี้แจง ๑. ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันอ่านและขีดเส้นใต้ค ำที่ใช้ สระ เ-ะ แล้ว


ตอบคำถาม
มาลีก ำลังทำการบ้านอยูท่ ี่ระเบียงบ้าน วันนี้ ครู ให้มาลีคดั คำที่มี สระ เ-ะ เช่น
คำว่า เกะ เบะ เตะ เหะ เขะ เละ เทะ เฟะ เอะ มาลีได้ยนิ เสี ยงพี่ชายเอะอะอยูใ่ นบ้าน
จึงรี บวิ่งเข้าไปดู พบเจ้าด่างยืนเกะกะพี่ชายกำลังจะเตะเจ้าด่างที่ท ำพื้นบ้านเละเทะ
มาลีจึงร้องห้ามพี่ชายไม่ให้เตะเจ้าด่าง

1. มาลีท ำการบ้านอยูท่ ี่ไหน


………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
๒. ครู ให้มาลีคดั คำอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
๓. ทำไมพี่ชายจึงร้องเอะอะ
………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
๔. พี่ชายจะทำอะไรเจ้าด่าง
………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
๒. เติมตัวเลข ๑ – ๕ ลงในช่องสี่ เหลี่ยม เพื่อเรี ยบเรี ยงประโยคและลำดับ
เหตุการณ์ให้ถูกต้อง แล้วคัดด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด โดยเว้นวรรค
ตอนให้ถูกต้อง
 แม่ของเด็กทำขนมอร่ อยจึงขายได้หมดทุกวัน
 ขนมที่ขายมีหลายอย่าง
 เช่น ขนมเทียน ขนมกล้วย ขนมตาล และข้าวเหนียวสังขยา
 เด็กหญิงคนหนึ่งอยูก่ บั แม่ซ่ ึงมีอาชีพทำขนมขาย
 เมื่อแม่ท ำขนมเสร็ จเด็กหญิงผูเ้ ป็ นลูกก็น ำไปขาย
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๒. การเรี ยบเรี ยงประโยค
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ แผนที่ ๙ การเรียบเรียงประโยค
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๗


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๖
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม

๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ วรรณคดีลำนำ แผนที่ ๑๐


กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑๒
บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
หัวข้ อเรื่อง คำคล้ องจอง เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ....................................... ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๕ วรรณคดีวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ น
ใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอ่าน
๑. สาระสำคัญ
๑.๑ ความคิดรวบยอด
คำคล้องจองเป็ นพื้นฐานนำไปสู่ การแต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง คำ
คล้องจองหมายถึงคำที่ใช้สระเสี ยงเดียวกันมีตวั สะกดมาตราเดียวกันทำให้ค ำประพันธ์ เกิด
ความไพเราะมีจงั หวะลีลาที่น่าอ่านและเกิดอรรถรสทางด้านวรรณศิลป์
๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการเรี ยนรู ้ค ำ
- ความสามารถในการบอกคำคล้องจอง
๒. ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และ
บทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนบอกลักษณะของคำคล้องจองได้
๓.๒ นักเรี ยนหาคำที่คล้องจองได้
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔.๑ มีเจตคติที่ดีต่อวัฒนธรรมและภาษาไทย
๔.๒ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๔.๓ ช่วยเหลือและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
๔.๔ มีความรอบคอบในการทำงาน
๔.๕ ประหยัดและอยูอ่ ย่างพอเพียง
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรูแ ้ กนกลาง
๏ การอ่านออกเสี ยงและการบอกวามหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และ
บทร้อยกรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคำพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ คำ รวมทั้งคำที่
ใช้เรี ยนรูใ้ นกลุม่ สาระการเรี ยนรูอ้ น่ื
๕.๒ สาระการเรียนรูย ้ ่อย
๏ นิทาน
๏ คำคล้องจอง
๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน
๖.๒ การทำใบงาน
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ ทบทวนความรู ้เดิมที่เรี ยนในบทเรี ยนที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนต่อคำคล้องจอง
๒ พยางค์ คนละ ๑ คำ
๗.๒ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๓ นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๓ – ๕ คน ครู ก ำหนดคำให้กลุ่มละ ๑ คำ
โดยไม่ซ้ำกัน ให้แต่ละกลุ่มบอกคำคล้องจองกับคำที่ก ำหนดให้ โดยใช้ค ำสองพยางค์ และให้
พยางค์ทา้ ยของคำไปคล้องจองกับพยางค์หน้าของคำต่อไป เช่นกองฟาง – ข้างเตียง – เสี ยงดัง
– พังลง เป็ นต้น ร่ วมกันตรวจสอบ นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปความหมายของคำคล้องจอง
หมายถึงคำที่มีสระตัวเดียวกันและใช้ตวั สะกดมาตราเดียวกัน
๗.๔ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนเล่นเกมต่อคำคล้องจอง ๒ พยางค์ ที่หน้าชั้นเรี ยน
โ ด ย พ ดู ต ่อ ก นั เ ป็ น ค ำ ค ล อ้ ง จ อ ง ก ล ุ่ม ท ี่ต ่อ ไ ด ท้ ุก ค ร ้ ัง แ ล ะ ถ ูก ต อ้ ง เ ป็ น ผ ชู้ น ะ
๗.๕ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำใบงาน ชุดที่ ๔ ( ท้ายแผน ) ชุดเลือกคำคล้องจองกับ
คำที่ก ำหนดให้ นักเรี ยนนำส่ งครู ตรวจสอบและประเมินผล
๗.๖ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำใบงาน ชุดที่ ๑๘ ( ท้ายแผน ) ชุดนำคำที่ก ำหนดให้
เติมลงในเพลงร้องเล่น “ แม่งู เอ๋ ย” เสร็ จแล้วครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง
๗.๖ นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังเรี ยน ประจำบทเรี ยนที่ ๒ นิทานอ่านใหม่
( ท้ายแผน ) เสร็ จแล้วครู เฉลย นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. เพลงร้องเล่น “ แม่งูเอ๋ ย”
๒. หนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดวรรณคดีล ำนำ
๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๘ – ๑๙
๕. แบบทดสอบหลังเรี ยน
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน
ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - สังเกต - แบบบันทึกกิจกรรม
- การบอกคำคล้องจอง - ซักถาม - ใบงาน ชุดที่ ๒ – ๓
- การตอบคำถาม - ตรวจใบงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การทำใบงาน
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการร่ วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสนทนา

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล


๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการบอกคำคล้องจอง มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี บอกได้ดี ออกเสี ยงดัง ฟังชัดเจน
ถูกอักขรวิธี
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านได้ดี ออกเสี ยงดัง ฟังชัดเจน
ไม่ค่อยถูกอักขรวิธี
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง บอกได้ดี ออกเสี ยงค่อย
ไม่ชดั เจน ไม่ค่อยถูกอักขรวิธี
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุ ง (๐)
สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม
มีเจตนคติที่ดตี ่ อ กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา
วัฒนธรรมไทย ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน
และภาษาไทย และมีความสุ ขตลอด และมีความสุ ขเกือบ และมีความสุ ขเป็ นบาง
เวลา ตลอดเวลา ครั้ง
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า
แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ
โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก
ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก
ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ
ช่ วยเหลือและทำงาน
ช่วยเหลือเพื่อนทุกครั้ง ช่วยเหลือเพื่อนเกือบทุก ช่วยเหลือเพื่อนเป็ นบาง
ร่ วมกับผู้อนื่ ได้
ในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม
มีการตรวจสอบแก้ไข
มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข
การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
มีความรอบคอบในการ การกระทำที่ไม่ถูกต้อง การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
ทุกครั้งทำใบงานได้
ทำงาน เกือบทุกครั้ง ทำใบงาน เป็ นบางครั้งทำใบงาน
สะอาดเรี ยบร้อยและถูก
ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย
ต้อง
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ประหยัดและอยู่อย่าง ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
พอเพียง คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่หมด
ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด
ค่อยซื้ อใหม่ แล้วซื้ อใหม่

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบงาน ชุดที่ ๑๘

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านคำต่อไปนี้แล้วเขียนโดย


เรี ยงคำให้คล้องจองให้ถูกต้อง
งวยงง จ้องหาง โปงลาง พุงกาง เร่ งจริ ง
นัง่ ยอง กางมุง้ ชิงชัง คางเหลือง ช่างเก่ง
๑. ............................... ๒......................................
๓. ..................................๔......................................
๕. ..................................๖......................................
๗. ..................................๘......................................
๙. ..................................๑๐.....................................
ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............
ใบงาน ชุดที่ ๑๙
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำคล้องจองกับคำที่
กำหนดให้ต่อไปนี้
ตัวอย่าง : ไปมา หาสู่
๑. ราช
.......................
สี ห์
๒. หนู
.......................
น้อย
๓. วิงว
.......................
อน
๔. บ่วง
.......................
แร้ว
๕. ยุง้
.......................
ฉาง
๖. ละค
.......................

ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. เก่งใหญ่เหมือนกับราชสี ห์ในข้อใด
ก. คิดว่าตนเองใหญ่กว่าคนอื่น
ข. ชอบเล่นไล่ล่าเหมือนกัน
ค. มีจิตใจโอบอ้อมอารี
๒. นิทานอีสป มีลกั ษณะเด่นในด้านใด
ก. เน้นความสนุกสนาน
ข. เน้นความบันเทิงมากกว่า
ค. เน้นการสอดแทรกคติสอนใจ
๓. อีสป เป็ นนักเล่านิทานชาติใด
ก. ชาวกรี ก ข. ชาวไทย
ค. ชาวอียปิ ต์
๔. เหตุใดราชสี ห์จึงคิดว่าหนูจะช่วยตนเองไม่ได้
ก. หนูชอบโกหก ข. หนูตวั เล็ก
ค. หนูป่วยขี้โรค

๕. ราชสี ห์ยอมปล่อยหนูไป แสดงว่าราชสี ห์มีนิสยั อย่างไร


ก. เชื่อง่าย ข. โอบอ้อมอารี
ค. เห็นแก่ตวั
๖. หนูเป็ นสัตว์ประเภทใด
ก. ตัวเล็กเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ข. ตัวใหญ่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ค. ตัวเล็กออกลูกเป็ นไข่
๗. ยุง้ ฉาง หมายถึงอะไร ใช้ประโยชน์อย่างไร
ก. ที่เก็บข้าวเปลือก ข. ที่เก็บข้าวสาร
ค. ที่เก็บผลผลิตพืชไร่
๘. ราชสี ห์ไปติด .......................... ที่นายพรานดักไว้
ก. ยุง้ ฉาง ข. บ่วงแร้ว
ค. กับดัก
๙. ราชสี ห์สิ้นปั ญญา ลงร้อง....................... ก้องไปทั้งป่ า
ก. ก้องกึก ข. เสี ยงดัง
ค. ครวญคราง
๑๐. หนูร้อง.....................ว่า “ ข้าพเจ้าขอชีวติ ไว้สกั ครั้งหนึ่งเถิด
ก. วิงวอน ข. ขอร้อง
ค. ระงม

๑๑. หนูชนิดใดนำเชื้อโรคแพร่ สู่คนได้ง่าย


ก. หนูนา ข. หนูบา้ น
ค. หนูท่อ
๑๒. ประโยคใดอธิบายรู ปภาพนี้ ได้ดีที่สุด
ก. ช้างตัวใหญ่ ข. ช้างลากซุง
ค. ช้างงัดซุง

๑๓. รู ปภาพนี้ ตรงกับคำใด


ก. วางเพลิง ข. ดับไฟ
ค. ดับเพลิง
๑๔. ตัวละครที่กล่าวถึงในเรื่ องนี้ คู่ใดเหมือนกันที่สุด
ก. เก่งเล็ก – เก่งใหญ่ ข. เก่งใหญ่ – หนู
ค. เก่งเล็ก – หนู
๑๕. ตัวละครคู่ใดแตกต่างกันมากที่สุด
ก. เก่งเล็ก – หนู ข. เก่งใหญ่ – หนู
ค. เก่งใหญ่ – ราชสี ห์

๑๖. คำว่า “ ราชสี ห์” อ่านออกเสี ยงอย่างไร


ก. รา – ชะ – สี ข. ราด – ชะ – สี
ค. ราด – สี
๑๗. การพูดหรื อแสดงกิริยาให้คนอื่นเจ็บใจ ตรงกับคำใด
ก. หัวร่ อ ข. วิงวอน
ค. เยาะ
๑๘. สิ่ งใดไม่ถูกกล่าวถึงในเรื่ อง “ นิทานอ่านใหม่”
ก. ราชสี ห์ ข. อีสป
ค. กระต่าย
๑๙. สถานที่ใดไม่ถูกกล่าวถึงในเรื่ องนี้
ก. โรงเรี ยน ข. ป่ าใหญ่
ค. ร่ มไม้
๒๐. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ หนูนา” มากที่สุด
ก. ราชสี ห์ ข. พาไป
ค. หนูบา้ น

เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บทที่ ๒

ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕


ก ค ก ข ข
ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๙ ข้อ ๑๐
ก ก ข ค ก
ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๕
ข ค ค ค ข
ข้อ ๑๖ ข้อ ๑๗ ข้อ ๑๘ ข้อ ๑๙ ข้อ ๒๐
ข ค ค ก ข

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒


ชุดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๒ นิทานอ่ านใหม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑๐ คำคล้ องจอง
เลข ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน
ที่
ชื่อ – สกุล
ช่ วยเหลือและทำงานร่ วมกับผู้อนื่

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ
มีเจตคติทดี่ ตี ่ อวัฒนธรรมและ

มีความรอบคอบในการทำงาน

ประหยัดและอยู่อย่ างพอเพียง

การทำใบงาน ชุดที่ ๑๘ – ๑๙

การทำแบบทดสอบหลังเรียน

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน
รวม
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
ภาษา

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๒๐ ๒๐ ๖๔









๑๐
๑๑
๑๒
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๕๕ – ๖๔ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๔๐ – ๕๔ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๓๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

You might also like