You are on page 1of 12

42

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑ คำทีม่ าจากภาษาต่ างประเทศ
เรื่อง คำเขมร จำนวน ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั ท ๔.๑ ม.๓/๑ จำแนกและใช้ค ำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
๒. สาระสำคัญ
ภาษาที่ใช้ในปัจจุบนั ไม่มีเฉพาะภาษาไทยเท่านั้น แต่ยงั มีภาษาเขมรปะปนอยูด่ ว้ ย ถ้ารู ้ที่มา
ของคำจะทำให้สามารถใช้ค ำได้อย่างถูกต้องและตรงตามจุดประสงค์
๓. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
๓.๑ หลักสังเกตคำเขมร
๓.๒ ตัวอย่างคำเขมร

๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๔.๑ ความสมารถในการสื่อสาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๑) ทักษะการคิดวิเคราะห์
๒) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
๔.๓ ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ
๑) กระบวนการปฏิบตั ิ
๒) กระบวนการทำงานกลุ่ม
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. มีวินยั
๒. ใฝ่ เรี ยนรู้
๓. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๔. มีความรับผิดชอบ
๕. รักความเป็ นไทย
๖. กิจกรรมการเรียนรู้
. ครู ให้ นักเรียนทำแบบทดสอบก่ อนเรียน
43

วิธีการสอน โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ : เทคนิคการเรี ยนร่ วมกันและวิธีสอนโดยเน้น


กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม
๑. ครู ให้นกั เรี ยนร้องเพลง “สาวกันตรึ ม” นักเรี ยนปรบมือให้จงั หวะเพื่อความสนุกสนาน
แล้วครู สนทนากับนักเรี ยนเกี่ยวกับคำศัพท์ต่อไปนี้
๑. เนียง
๒. ลออ
๓. บอง
๔. สลัน
๕. โมปรี นา
๖. ขะแมร์
ครู ถามนักเรี ยนว่า คำศัพท์ดงั กล่าวนี้มาจากภาษาอะไร และหมายความว่าอย่างไร

เพลงสาวกันตรึม
คำร้ อง ศราวุธ ทุ่งขีเ้ หล็ก
โอ่โอเนียงเอย อ้ายเพิ่งเคยได้พาใจเหงาผ่านมา
มาเมืองสุ รินทร์ถิ่นวัฒนธรรมงามตา
เนียงโมปรี นา พูดจาภาษาขะแมร์
เอิ่งเอยเนียงลออ เสนาะเสี ยงซอ คงทำร่ ายรำงามแท้
โอ้เจิ๊ดเอ้ยเจิ๊ด อ้ายหลงฮักสาวขะแมร์
หัวใจอ้ายแพ้ต้ งั แต่แรกพบสบตา
* พรึ มโจ๊ะพรึ มพรึ ม สาวกันตรึ มยุคใหม่
สี สนั แดนอีสานใต้ หนุ่มบ้านไกลได้มาพบพา
กะนอบติงต๋ อง รำตัก๊ แตนตำข้าวในนา
อ้อนแอ้นเอวบาง น่ารักน่าชังดัง่ อัปสรา
ดอกดินกลิ่นทุ่งกุลา อยากบอกเนียงว่า บองสลัน
เจิ๊ดเอยเนียงสนอม เสน่ห์เจ้าหอม
ดลใจให้อา้ ยใฝ่ ฝัน
กราบไหว้วอนขอพ่อสุ ริยาวรมัน
ขอเนียงเจ้านั้น สลันบองอองซักหน
หากบุญนำพา มีวาสนาคงได้หวนมาอีกหน
จะสร้างทางฝัน กลับมาเพื่อเจอหน้ามล
เสี ยงซอคู่เสี ยงกลองโทน
ยังคงมีมนต์บ่เคยสร่ างซา
(ซ้ำ *)
44

๒. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู ้ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร แล้วครู อธิ บายเพิ่มเติม


๓. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอภิปรายภายในกลุ่มในหัวข้อต่อไปนี้ “การใช้อกั ษรนำและอักษร
ควบกล้ำในภาษาเขมร” แล้วครู สุ่มให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างคำเขมรที่มีอกั ษรนำและอักษรควบกล้ำ
๔. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรมจากใบงานที่ ๑ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร และใบ
งานที่ ๒ เรื่ อง บอกความหมายคำเขมร
๕. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันเฉลยใบงานที่ ๑ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร และใบงานที่ ๒ เรื่ อง
บอกความหมายคำเขมร และสรุ ปลักษณะคำเขมรที่น ำมาใช้ในภาษาไทย
๖. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มค้นหาคำราชาศัพท์ที่มาจากภาษาเขมร พร้อมทั้งบอกความ
หมาย(โดยค้นคว้าจากหนังสื อพจนานุกรม) แล้วให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มออกมาเขียนคำราชาศัพท์บน
กระดาน นักเรี ยนอ่านคำศัพท์พร้อมกัน
๗. นักเรี ยนทำแบบทดสอบย่อย เรื่ อง คำเขมร เสร็ จแล้วนำคำตอบส่ งครู
๘. ครู ให้นกั เรี ยนรวบรวมคำเขมรที่ได้ยนิ ในชีวิตประจำวัน เช่น จากการพูดจา จากบทเพลง
พร้อมบอกความหมายของคำแล้วบันทึกลงในสมุดบันทึกคำเขมร

๗. การวัดและการประเมินผล
๗.๑ การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรี ยน
๗.๒ การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
- ใบงานที่ ๑ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร
- ใบงานที่ ๒ เรื่ อง บอกความหมายคำเขมร
๗.๓ การประเมินหลังเรียน
- แบบทดสอบหลังเรี ยน
๗.๔ การประเมินชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด
- ประเมินสมุดบันทึกคำเขมร

๘. สื่ อและแหล่งเรียนรู้
๘.๑ สื่อการเรียนรู้
๑. ใบความรู้ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร
๒. เพลงสาวกันตรึ ม
๓. หนังสื อพจนานุกรม
๔. ใบงานที่ ๑ เรื่ อง ลักษณะคำเขมร
๕. ใบงานที่ ๒ เรื่ อง บอกความหมายคำเขมร
๖ . แบบทดสอบย่อย เรื่ อง คำเขมร
๘.๒ แหล่งเรียนรู้
45

๑. ห้องสมุด
๒. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.google.co.th
๑๐. ความคิดเห็นองผู้บริหาร/ผู้ที่ได้ รับหมอบหมาย
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
...
................................................................................................................................................................
.
ลงชื่อ...........................................................

( )
ผูบ้ ริ หาร/ผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย
....../......../......
บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการจัดการเรี ยนรู้
๑.๑ ด้านความรู้
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….……..
๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ ………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
๑.๓ ด้านพฤติกรรม
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
3. แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ
46

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)………….……………ครู ผสู ้ อน
(.............................................)
ตำแหน่ง…………………………………………….
วันที่…………เดือน…………….พ.ศ………

การประมินภาระชิ้นงาน/ภาระงาน (รอบยอด)
แบบประเมินคำภาษาเขมร

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
๑. ความถูกต้องในการ จำแนกคำเขมรได้ถูก จำแนกคำเขมรผิด ๒ จำแนกคำเขมรผิด
จำแนกคำ ต้องทุกคำ คำ ตั้งแต่ ๓ คำขึ้นไป
๒. ความถูกต้องของ บอกความหมายของคำ บอกความหมายคำ บอกความหมายของคำ
ความหมาย เขมรได้ถูกต้องทุกคำ เขมรผิด ๒ คำ เขมรผิดตั้งแต่ ๓ คำขึ้น
ไป
๓. ความถูกต้องในการ เขียนคำเขมรได้ถูกต้อง เขียนคำเขมรผิด ๒ คำ เขียนคำเขมรผิดตั้งแต่
เขียนสะกดคำ ทุกคำ ๓ คำขึ้นไป
๔. ความเป็ นระเบียบ ลายมือสวยงามเป็ น ลายมือสวยงาม สะอาด ลายมือไม่สวยงาม
และสวยงามของ ระเบียบเรี ยบร้อย เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด เป็ นระเบียบ
ลายมือ เป็ นส่ วนใหญ่ เรี ยบร้อยเพียงส่ วนน้อย

เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
ช่ วงคะแนน ระดับคะแนน
๑๑ – ๑๒ ดีมาก
๗–๙ ดี
๖–๘ พอใช้
ต่ำกว่า ๖ ปรับปรุ ง
47

ใบความรู้
เรื่อง ลักษณะคำเขมร

คำที่มาจากภาษาเขมรมีหลักสังเกตดังนี้
๑. คำที่มาจากภาษาเขมรไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ ยกเว้น เสน่ง เขม่า
๒. คำที่มาจากภาษาเขมรมักใช้อกั ษรควบกล้ำ และใช้อกั ษรนำอักษรตาม
อักษรควบกล้ำ เช่น กราน กรม กรวด กระทรวง กระเพาะ กระจอก ประจัญ เขลา โปรด
อักษรนำอักษรตาม เช่น ฉนำ โตนด ฉนาก ขยำ ขจี ถวาย เสวย เฉนียน เสด็จ ขนง
๓. คำสองพยางค์ที่ข้ ึนต้นด้วยคำว่า กำ คำ จำ ชำ ดำ ตำ ทำ มักเป็ นคำแผลงที่มาจากภาษาเขมร
เช่น กำนัล กำเนิด กำหนด คำนับ คำรบ จำหน่าย จำแนก ชำรุ ด ชำนาญ ดำรง ดำเนิน ดำริ ตำรา
ตำรวจ ทำนบ ทำเนียบ
๔. คำที่ข้ ึนต้นด้วย บัง บัน บำ บรร มักจะมาจากภาษาเขมร
บัง เช่น บังเอิญ บังเกิด บังควร บังคับ บังอาจ
บัน เช่น บันเทิง บันได บันทึก บันดาล
บำ เช่น บำเพ็ญ บำราศ บำนาญ บำบวง
บรร เช่น บรรทม บรรทุก บรรทัด บรรจง บรรสาน บรรจบ บรรเจิด บรรจุ
๕. คำที่ข้ ึนต้นด้วย ประ บางคำแผลงมาจากคำเขมร ที่ข้ ึนต้นด้วย ผ เช่น
ประจง แผลงมาจาก ผจง
ประทม แผลงมาจาก ผทม
ประสาน แผลงมาจาก ผสาน
๖. คำเขมรนิยมใช้ จ ญ ร ล เป็ นตัวสะกด
จ สะกด เช่น อาจ เสร็ จ ตรวจ
ญ สะกด เช่น เจริ ญ เข็ญ เพ็ญ
ร สะกด เช่น ขจร เดิร (เดิน)
ล สะกด เช่น ถกล ถวิล ผาล ตำบล
๗. ไทยนำมาใช้เป็ นคำราชาศัพท์ เช่น สรง โปรด เสด็จ ถวาย บรรทม เพลา (ตัก)
ขนง (คิ้ว) ขนอง (หลัง) เขนย (หมอน) บังคม บังคัล

ตัวอย่างคำที่มาจากภาษาเขมร
คำ ความหมาย
กระทรวง สำนักราชการหนึ่งในราชการบริ หารส่ วนกลาง
48

กังวล ห่วงใย, มีใจพะวงอยู่


กำเดา เลือดที่ออกทางรู จมูก
กำธร สนัน่ , หวัน่ ไหว, สะเทือน
เขนย หมอนหนุน, ราชาศัพท์, พระเขนย
โขมด ชื่อผีชนิดหนึ่งจำพวกผีกระสื อ หรื อผีโพง
โขดง กระโดง, ใบเรื อ
โขยม ข้า, บ่าว
จรวด ช่อดอกไม้เพลิงชนิดพุง่ ขึ้นสู ง
ฉนำ ปี
เฉพาะ โดยเจาะจง, เพ่งตรง
เฉวียง เอียง, ตะแคง, ทแยง
เชลง ประพันธ์, แต่ง
เชลย ผูท้ ี่ถูกข้าศึกจับตัวได้
เชวง รุ่ งเรื อง, เสี ยงลือ
เฌอ ต้นไม้
ตำรวจ เจ้าหน้าที่ดูแลความสงบและจับกุม
ตำรับ ตำรา
ถกล ก่อสร้าง, ตั้งขึ้น, งาม
ถนอม คอยระวังไว้ให้ดี
ถนำ ชื่อดินชนิดหนึ่ง สี เหลืองอ่อน ใช้ท ำยา
เถกิง สูงศักดิ์, รุ่ งเรื อง, กึกก้อง
เนียง นาง, น้อง
บอง พี่ชาย
ลออ สวย, งาม
สลัน รัก
โมปรี นา ไปไหนมา

ใบงานที่ ๑
เรื่อง ลักษณะคำเขมร

คำชี้แจง ให้ นักเรียนสรุ ปลักษณะคำเขมร

๑. ................................................................................................................................................
๒. ................................................................................................................................................
๓. ................................................................................................................................................
49

๔. ................................................................................................................................................
๕. ................................................................................................................................................
๖. ................................................................................................................................................
๗. .................................................................................................................................................

ใบงานที่ ๒
เรื่อง บอกความหมายคำเขมร

คำชี้แจง ให้ นักเรียนบอกความหมายของคำเขมรต่ อไปนี้

๑. กังวล หมายถึง .......................................................................................................


๒. เขนย หมายถึง .......................................................................................................
๓. โขมด หมายถึง .......................................................................................................
๔. โขดง หมายถึง .......................................................................................................
๕. จรวด หมายถึง .......................................................................................................
๖. เชลย หมายถึง .......................................................................................................
๗. เฌอ หมายถึง .......................................................................................................
๘. ตำรวจ หมายถึง .......................................................................................................
๙. ถกล หมายถึง .......................................................................................................
50

๑๐. เถกิง หมายถึง .......................................................................................................

แบบทดสอบย่ อย
เรื่อง คำเขมร

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงตำตอบเดียว

๑. ข้ อใดเป็ นคำภาษาเขมรทั้งหมด
ก. ดำริ ตำรวจ กำนัล
ข. ทหาร ตลาด สุ ข
ค. บำราศ กุศล โลภ
ง. กรม กะลา พรรค
๒. ข้ อใดเป็ นคำภาษาเขมรทั้งหมด
ก. ผจง ผนวช ผลิต
ข. บันดาล บัลลังก์ บัญชี
ค. บำเรอ บำราบ บำบัด
ง. อนิจจา สำเร็จ ประดุจ
๓. คำซ้ อนข้ อใดไม่มีคำยืมภาษาเขมร
ก. ระบำรำฟ้ อน
ข. ทำนุบ ำรุ ง
ค. สรวลเสเฮฮา
ง. ก่อร่ างสร้างตัว
51

๔. ข้ อใดเป็ นภาษาเขมรทั้งหมด
ก. จรัส ตรัส ดำรัส
ข. ขนม เขนย ขนุน
ค. เผอิญ อรัญ สามัญ
ง. ศาล ตำบล ประมูล
๕. สำนวนไทยในข้ อใดไม่มีคำยืมภาษาเขมร
ก. มาเหนือเมฆ
ข. โปรดสัตว์ได้บาป
ค. ลูบหน้าปะจมูก
ง. ไม่พน้ ชวดฉลู
๖. ข้ อใดเป็ นคำมาจากภาษาเขมรทั้งหมด
ก. เพลิง ฉวี เฉลี่ย
ข. ชนวน ชนัก ชอุ่ม
ค. เฌอ ถลา ไถล
ง. บังคม ผทม ผจง
๗. ข้ อใดเป็ นคำมาจากภาษาเขมรทั้งหมด
ก. จมูก ฉบัง เฉพาะ
ข. ถนน ตำบล ถกล
ค. ถวาย เถกิง ไถง
ง. ถูกทุกข้อ
๘. ข้ อใดเป็ นคำมาจากภาษาเขมรทั้งหมด
ก. เสด็จ เผด็จ ตรวจ
ข. ขนาย ขนาน ขนาด
ค. สำราญ ผลาญ เบ็ญจะ
ง. บันดาล บัณฑูร บัญจถรณ์
๙. ข้ อใดเป็ นคำมาจากภาษาเขมรทั้งหมด
ก. บังอาจ บังคม บังควร
ข. บังตา บังโคลน บังคน
ค. บังสูรย์ บังสุ กลุ บังเอิญ
ง. บังเหียน บังเกิด บังกะโล
๑๐. ข้ อใดเป็ นคำมาจากภาษาเขมรทั้งหมด
ก. ขจร ขณะ ขจี
ข. เลบง ลออ ระเบียบ
ค. กิจ เสร็ จ เสด็จ
ง. ทุกข์ สดำ ผทม
52

เฉลยใบงานที่ ๑
เรื่อง ลักษณะคำเขมร

ลักษณะคำเขมร
1. คำที่มาจากภาษาเขมรไม่ใช้รูปวรรณยุกต์
๒. คำที่มาจากภาษาเขมรมักใช้อกั ษรควบกล้ำ และใช้อกั ษรนำอักษรตาม
๓. คำสองพยางค์ที่ข้ ึนต้นด้วยคำว่า กำ คำ จำ ชำ ดำ ตำ ทำ มักเป็ นคำแผลงที่มาจาก
ภาษาเขมร
๔. คำที่ข้ ึนต้นด้วย บัง บัน บำ บรร มักจะมาจากภาษาเขมร
๕. คำที่ข้ ึนต้นด้วย ประ บางคำแผลงมาจากคำเขมร ที่ข้ ึนต้นด้วย ผ
๖. คำเขมรนิยมใช้ จ ญ ร ล เป็ นตัวสะกด
๗. ไทยนำมาใช้เป็ นคำราชาศัพท์

เฉลยใบงานที่ ๒
เรื่อง บอกความหมายคำเขมร

๑. กังวล หมายถึง ห่วงใย, มีใจพะวงอยู่


๒. เขนย หมายถึง หมอนหนุน, ราชาศัพท์, พระเขนย
๓. โขมด หมายถึง ชื่อผีชนิดหนึ่งจำพวกผีกระสื อ หรื อผีโพง
๔. โขดง หมายถึง กระโดง, ใบเรื อ
๕. จรวด หมายถึง ช่อดอกไม้เพลิงชนิดพุง่ ขึ้นสู ง
๖. เชลย หมายถึง ผูท้ ี่ถูกข้าศึกจับตัวได้
๗. เฌอ หมายถึง ต้นไม้
๘. ตำรวจ หมายถึง เจ้าหน้าที่ดูแลความสงบและจับกุม
๙. ถกล หมายถึง ก่อสร้าง, ตั้งขึ้น, งาม
๑๐. เถกิง หมายถึง สู งศักดิ์, รุ่ งเรื อง, กึกก้อง

เฉลยแบบทดสอบย่ อย
เรื่อง คำเขมร
53

๑. ก ๒. ค ๓. ง ๔. ก ๕. ก ๖. ง ๗. ง ๘. ก ๙. ก ๑๐. ข

You might also like