You are on page 1of 15

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา เคมี 4 รหัสวิชา ว 30224 กลุ่ม


สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
เวลา 1 ชั่วโมง 40 นาที
ผู้สอน นางสาวต่วนดาริณี กูบือโด
ครูพี่เลี้ยง นางสาวพัชรี สุหลง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 2. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์
ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติ
และปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้ า รวมทั้งกา
รนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ผลการเรียนรู้
คำนวณและเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตัวหรือความแรง
ของกรดและเบส

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้(K)
1. อธิบายการแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อนได้
2. คำนวณหาความเข้มข้นของไอออนที่เกิดจากการแตกตัวของกรด
อ่อนและเบสอ่อนได้
3. เขียนสมการการแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อนได้
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. แยกแยะระหว่างกรดแก่-เบสแก่และกรดอ่อน-เบสอ่อนได้
3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
4. ซื่อสัตย์สุจริต

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. สาระสำคัญ
กรดอ่อนและเบสอ่อนเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์อ่อน ซึ่งแตกตัวได้ไม่ดี แตก
ตัวได้เพียงบางส่วน ยังคงมีโมเลกุลของสารตั้งต้นเหลืออยู่

6. สาระการเรียนรู้
การแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน
7. ภาระงานหรือชิ้นงาน
1. ใบงานที่ 3.2 เรื่อง การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูทักทายนักเรียน เช็คชื่อ และตรวจสอบความพร้อมภายใน
ห้องเรียน เช่น ความสะอาด
2. ครูพูดคุยและถามนักเรียนว่า “จากคาบที่แล้ว ที่เรียนเรื่องการ
แตกตัวกรดแก่-เบสแก่ ยังมีใครจำได้บ้างว่ากรดแก่และเบสแก่นั้นมีอะไร
บ้าง” แล้วให้นักเรียนยกตัวอย่าง
3. ครูชมนักเรียนที่ตอบได้ จากนั้นกระตุ้นความสนใจของนักเรียน
โดยการพูดว่า “ท้ายคาบวันนี้จะให้นักเรียนเล่นเกม Kahoot เหมือนใน
คาบก่อน ดังนั้นใครที่ยังแยกระหว่างกรดแก่-เบสแก่และกรดอ่อน-เบส
อ่อนไม่ได้ ให้ฝึ กทวนให้ดีเพราะครูจะมีรางวัลให้แก่ผู้ชนะเหมือนเดิม”
4. ครูพูดกับนักเรียนต่อว่า “ดังนั้นวันนี้เราจะมาเรียนต่อกันในเรื่อง
การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน”

ขั้นที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore)


1. ครูทบทวนความรู้นักเรียนโดยการยกตัวอย่างกรดแก่-เบสแก่และ
กรดอ่อน-เบสอ่อนแล้วสุ่มนักเรียนให้เขียนสมการการแตกตัวพร้อมทั้งให้
นักเรียนอธิบายให้เพื่อนฟั ง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายตัวอย่างดังกล่าว
3. ครูตั้งคำถามกับนักเรียนว่า“นักเรียนจำได้ไหมว่าสารอิเล็กโทร
ไลต์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง”
(แนวคำตอบ : 2 ประเภท ได้แก่สารอิเล็กโทรไลต์แก่และสารอิเล็กโทร
ไลต์อ่อน)
4. ครูทบทวนความรู้นักเรียนเรื่องสารอิเล็กโทรไลต์ซึ่งได้แก่ สารอิ
เล็กโทรไลต์แก่และสารอิเล็กโทรไลต์อ่อนแล้วโยงเข้าสู่บทเรียนในวันนี้คือ
การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน

ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain)


1. ครูให้ความรู้นักเรียนเรื่องการแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อนพร้อม
ทั้งอธิบายวิธีการเขียนสมการการแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อนให้
นักเรียนได้เข้าใจอีกครั้ง
2. ครูอธิบายวิธีการคำนวณหาความเข้มข้นของไอออนที่เกิดจากการ
แตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อนพร้อมทั้งยกตัวอย่างให้นักเรียนได้
เข้าใจ

ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate)


1. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเนื้อหาบทเรียนที่สอน
2. ครูกำหนดโจทย์เกี่ยวกับการคำนวณหาความเข้มข้นของไอออน
แล้วสุ่มนักเรียนให้ออกมาเฉลยคำตอบบนกระดานดำ
3.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหาบทเรียนเรื่องการ
แตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน

ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation)


1. ครูให้นักเรียนให้นักเรียนเล่นเกม Kahoot ซึ่งเป็ นโจทย์เดิมจาก
คาบก่อนเพื่อเป็ นการทวนความจำของนักเรียน ให้นักเรียนแยกแยะ
ระหว่างกรดแก่-เบสแก่และกรดอ่อน-เบสอ่อนได้
2. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.2 เรื่องการแตกตัวของกรดอ่อน-เบส
อ่อน

9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. เกม Kahoot
2. ใบงานที่ 3.2 เรื่องการแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน

10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ


ประเมิน
ด้านความรู้ (K) นักเรียนทำ
1. อธิบายการแตก -ตรวจใบงานที่ ใบงานได้
ตัวของกรดอ่อนและ 3.2 เรื่องการ แบบประเมิน คะแนนตั้งแต่
เบสอ่อนได้ แตกตัวของกรด ผลการทำใบ 5 คะแนนขึ้น
2. คำนวณหาความ อ่อน-เบสอ่อน งาน ไป ถือว่าผ่าน
เข้มข้นของไอออนที่ เกณฑ์
เกิดจากการแตกตัว
ของกรดอ่อนและเบส
อ่อนได้
3. เขียนสมการการ
แตกตัวของกรดอ่อน
และเบสอ่อนได้
ด้านทักษะ/ นักเรียนเมี
กระบวนการ (P) การมีส่วนร่วม ส่วนร่วมใน
1. แยกแยะระหว่าง และการวัดผล การเล่นเกม
กรดแก่-เบสแก่และ จากการเล่น และตอบถูก
การเล่นเกม
กรดอ่อน-เบสอ่อนได้ เกม Kahoot อย่างน้อย 4
Kahoot
ข้อจาก 10
ข้อ ถือว่า
ผ่านเกณฑ์
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ (A) การสังเกต แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
1. มีวินัย พฤติกรรมใน คุณลักษณะ การประเมิน
2. ใฝ่ เรียนรู้ ห้องเรียน อันพึง ระดับดีขึ้นไป
3. มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ประสงค์
ทำงาน
4. ซื่อสัตย์สุจริต
บันทึกผลหลังการสอน

ผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….

ปั ญหาและอุปสรรค
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
ลงชื่อ…..………………………………ผู้บันทึก
(นา
งสาวต่วนดาริณี กูบือโด)
……
…/….…../………

บันทึกเสนอแนะครูพี่เลี้ยง
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
………………………………………………..
………………………………………………..……………………………………………….
ลงชื่อ…..………………………………ครูพี่เลี้ยง
(นา
งสาวพัชรี สุหลง)
……
…/….…../………

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งมั่นใน
ซื่อสัตย์
ลำ มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ การ
ชื่อ-สกุล สุจริต
ดับ ทำงาน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการ

เรียนการสอนแล้วเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตรงตามพฤติกรรม
ความเป็ นจริง

ลงชื่อ…..………………………………ผู้ประเมิน

(นางสาวต่วนดาริณี กูบือโด)

………/….…../………

เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การประเมิน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ
ช่วง ระดับ
ให้ 4 คะแนน คะแนน คุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง 13 - 16 ดีมาก
ให้ 3 คะแนน 9 - 12 ดี
5-8 พอใช้
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง
ต่ำกว่า 5 ปรับปรุง
ให้ 2 คะแนน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน

แบบประเมินสมรรถนะของผู้เรียน
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการ

เรียนการสอนแล้วเขียนเครื่องหมาย ✔️
ลงในช่องคะแนนตรงตามพฤติกรรม
ความเป็ นจริง
สมรรถนะสำคัญของผู้ คะแนน
รายการประเมิน
เรียน 3 2 1
1. ความสามารถในการ 1.1 มีความสามารถในการรับ
สื่อสาร ส่ง-สาร
1.2 มีความสามารถในการ
ถ่ายทอด
ความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจของ
ตนเองโดยใช้ภาษาได้
อย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะ
สม มี
ประสิทธิภาพ
2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการ
คิด/วิเคราะห์
2.2 สามารถคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
3. ความสามารถในการแก้ 3.1 สามารถแก้ปั ญหาและ
ปั ญหา อุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญ
3.2 สามารถตัดสินใจได้อย่าง
เหมาะสม
ตามวัย
4.ความสามารถในการใช้ 4.1 มีคุณธรรม จริยธรรมใน
เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี

ลงชื่อ…..………………………………ผู้ประเมิน

(นางสาวต่วนดาริณี กูบือโด)

………/….…../………

เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การประเมิน

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ช่วง ระดับ


ให้ 3 คะแนน คะแนน คุณภาพ

พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง 19 - 24 ดีมาก
13 - 18 ดี
ให้ 2 คะแนน
6 – 12 พอใช้
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง
ต่ำกว่า 5 ปรับปรุง
ให้ 1 คะแนน

แบบประเมินใบงานที่ 3.2 เรื่อง การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน


ชื่อ........................................................................................................................
..............................................................

การประเมิน
ข้อ หมายเหตุ
ถูก ผิด
ข้อที่ 1 เกณฑ์การประเมิน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ข้อที่ 2 ตอบถูก 1 ข้อ 5 คะแนน
ตอบถูก 2 ข้อ 10 คะแนน
ใบงานที่ 3.2

เรื่อง : การแตกตัวกรดอ่อน-เบสอ่อน

คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้ถูกต้อง
1. สารละลายกรดฟอร์มิก (HCOOH ) เข้มข้น 0.2 M จงหาความเข้มข้นของไฮ
+
โดรเนียมไอออน (H3O )
-4
กำหนดค่า Ka= 1.7 x 10
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

2. จงหาเปอร์เซ็นต์การแตกตัวของแอมโมเนีย (NH3) เข้มข้น 0.5 M กำหนดค่า


-5
Kb= 1.8 x 10
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ-สกุล………………………………………………………………ชั้น……………เลข
ที่……………คะแนน…………

You might also like