You are on page 1of 7

เอกสารหมายเลข ศ.น. มค.

7
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรมนาชีวิต 2
ชื่อแผนจัดการเรียนรู้ กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า จานวน 1 ชั่วโมง
รายวิชา ภาษาไทย 4 (ท22102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนสตรีศรีน่าน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37
ผู้สอน นางสาวพอหทัย สมจิตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ใช้สอนวันที่ ....................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2, 2/3, 2/4, 2/5, 2/6, 2/7, 2/8

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ท 5.1 เข้ า ใจและแสดงความคิ ด เห็ น วิ จ ารณ์ ว รรณคดี แ ละวรรณกรรมไทยอย่ า งเห็ น คุ ณ ค่ า และน ามา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
2. ตัวชี้วัด
ท 5.1 ม.2/4 สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3. จุดประสงค์
3.1 ด้านความรู้ (K)
อธิบายคุณค่าด้านเนื้อหาจากเรื่องที่อ่านได้
บอกข้อคิดจากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้าได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี เรื่อง กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย
4. สาระการเรียนรู้
1. บทวิเคราะห์
- คุณค่าด้านเนื้อหา
2. ข้อคิดจากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
สาระที่บูรณาการ
-
5. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
บทวิเคราะห์ด้านเนื้อหาจากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า ปรากฏแนวคิดสาคัญเกี่ยวกับความไม่เที่ยงแท้ของ
ทุกสรรพสิ่ง สะท้อนสัจธรรมของชีวิต รวมทั้งปรากฏแนวคิดสาคัญอีกประการ คือ ความเรียบง่ายของชีวิตถือเป็น
ความสุขที่แท้จริง ซึ่งข้อคิดที่ได้จากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้านี้ ต่างสอดคล้องกับบทวิเคราะห์ด้านเนื้อหา ในเรื่อง
ของทุกสรรพสิ่ งในโลกล้ วนไม่เที่ยง จึงอย่ายึดติดกับวั ตถุ ยศถาบรรดาศักดิ์หรือทรัพย์สิ น ดังนั้นความสงบจึงคือ
ความสุขที่แท้จริง
6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
1. นักเรียนและครูทักทายกัน
2. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับบทวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี จากนั้นสนทนากับนักเรียนถึงเรื่อง การพิจารณา
คุณค่าด้านเนื้อหา
ขั้นสอน
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงคุณค่าด้านเนื้อหาต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
2. ครูให้นักเรียนเล่นเกมส่งบอลตอบคาถาม โดยครูเปิดเพลงให้เด็กนักเรียนส่งต่อลูกบอลให้เพื่อนไปเรื่อยๆ
จนกว่าเพลงจะหยุด
3. เมื่อเพลงหยุด ครูให้นักเรี ยนที่ถือบอลออกมาเขียนข้อคิดที่ได้ จากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า บน
กระดาน (เล่นเกมประมาณ 3 รอบจบ)
4. นักเรียนทาใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจากกลอน
ดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้และข้อคิดที่ได้รับจากวรรณคดี รวมทั้งแนวทางการนาไปประยุกต์ใช้
7. สือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจากกลอนดอกสร้อยราพึง
ในป่าช้า
3. เกมส่งบอลตอบคาถาม
8. การวัดผลและประเมินผล
8.1 ด้านความรู้
ตรวจใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจาก
กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
8.2 ด้านสมรรถนะ/ทักษะ
ตรวจใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจาก
กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
8.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
8.4 เครื่องมือ
1) ใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจากกลอน
ดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
2) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
8.5 เกณฑ์
1) ใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจาก
กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50
2) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้
9. บันทึกผลการประเมินและความเห็นของหัวหน้าหรือรองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมาย

คาชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับการปฏิบัติ


ระดับการประเมิน 5 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมากที่สุด
4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมาก
3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมพอใช้
1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมน้อย
ระดับคุณภาพ
รายการ 5 4 3 2 1
1. วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล (หลังแผนการจัดการเรียนรู้)
2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
3. กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีปฏิบัติที่สร้างสรรค์อย่างหลากหลาย
4. การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวิธีการจัดการเรียนรู้ใน
แผนการจัดการเรียนรู้
5. แผนการจัดการเรียนรู้สามารถนาไปเป็นแบบอย่างที่ดีได้
รวมคะแนน
คะแนนเฉลี่ย (คะแนนรวม..................../5)

สรุปผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ ระดับคุณภาพ.....................................

ลงชื่อ..................................................ผู้ ประเมิน
(นางกฤษฎาภรณ์ นะพิชัย)
ตาแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วันที่ ........ เดือน ......................... พ.ศ. ..............
10. บันทึกหลังการสอน
10.1 ด้านความรู้ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
10.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
10.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
10.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………........................ ลงชื่อ........................................................
(นางสาวพอหทัย สมจิตต์) (นางกฤษฎาภรณ์ นะพิชัย)
ครูผู้สอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ลงชื่อ……………………………........................ ลงชื่อ........................................................
(นางกฤติยา ไชยเรียน) (นายสมเพชร งามธุระ)
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ผู้อานวยการโรงเรียนสตรีศรีน่าน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ชื่อ ........................................................................................................................ .. ชั้น ................... เลขที่ ...................

คาชี้แจง ให้ผู้สอนประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับ


คะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน


อันพึงประสงค์ 4 3 2 1
1. มีวินัย 1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของโรงเรียน และ
ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
1.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ และรับผิดชอบในการทางาน
2. ใฝ่เรียนรู้ 2.1 ตั้งใจเรียน
2.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้
2.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
3. มุ่งมั่นในการ 3.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทางานให้สาเร็จ
ทางาน 3.2 ทุ่มเททางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทางาน
3.3 พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานให้สาเร็จ
4. รักความเป็น 4.1 ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ไทย 4.2 ชักชวน แนะนาให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
รวม

ลงชื่อ .................................................. ผู้ประเมิน


(นางสาวพอหทัย สมจิตต์)
................/.............../...................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
34 – 40 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
27 – 33 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
20 – 26 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
ต่ากว่า 20 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

ชื่อกลุ่ม .......................................................................................................................... ชั้น ..........................................

คาชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับระดับ


คะแนน

ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน


4 3 2 1
1 ความร่วมมือกันทากิจกรรม
2 การแสดงความคิดเห็น
3 การรับฟังความคิดเห็น
4 ความตั้งใจทางาน
5 การแก้ปัญหา/ปรับปรุงผลงานกลุ่ม
รวม

ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................ .................................

ลงชื่อ .................................................. ผู้สังเกต


(นางสาวพอหทัย สมจิตต์)
................/.............../...................

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
18 – 20 คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
14 – 17 คะแนน อยู่ในระดับ ดี
10 – 13 คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้
ต่ากว่า 10 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุง
ใบกิจกรรมที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
รายวิชาภาษาไทย 4 (ท22102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาและข้อคิดที่ได้รับจากกลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า

คาชี้แจง พิจารณาคุณค่าที่ได้รับจากการศึกษาวรรณคดี เรื่อง กลอนดอกสร้อยราพึงในป่าช้า


1. คุณค่าด้านเนื้อหาที่ปรากฏ
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... ..............................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

2. ข้อคิดที่ได้รับ
................................................................................................................................................................ .........................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

3. การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................... ..............................................................
.........................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................... ..................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................. ........................

You might also like