You are on page 1of 12

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕

รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๒๑๐๒ จานวน ๒ คาบ/สัปดาห์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย เวลา ๑๐ ชั่วโมง
หน่วยย่อยที่ ๑.๕ เรื่อง การประเมินคุณค่าและสังเคราะห์ข้อคิด เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวันที่ ๑๖ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๒๕ น. – ๑๐.๑๕ น.
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน
ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดชั้นปี
ท ๕.๑ ม.๔-๖ /๓ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรม
ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ท ๕.๑ ม.๔-๖ /๔ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. มีวินัย
๓. ใฝ่เรียนรู้
๔. มุ่งมั่นในการทางาน
สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย จะต้องวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของเรื่อง
ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และสังเคราะห์ข้อคิดจากเรื่อง เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถสังเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการอ่านเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ได้อย่างถูกต้อง (K)
๒. นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ได้อย่างถูกต้อง (P)
๓. นักเรียนนาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ (A)

หลักฐานการเรียนรู้ / ภาระงาน
๑. การทากิจกรรมกลุ่ม

สาระการเรียนรู้
๑. การประเมินคุณค่าและสังเคราะห์ข้อคิด
๑.๑ ด้านวรรณศิลป์
๑.๒ ด้านสังคมและวัฒนธรรม

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
๑. ครู ก ล่ า วทั ก ทายนั ก เรี ย น จากนั้ น ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นเพื่ อ ทบทวนความรู้ เ รื่ อ ง
ลักษณะเด่นของเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย ที่เคยเรียนไปแล้ว
๒. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
- นักเรียนคิดว่า เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายให้คุณค่ากับนักเรียนด้านใดบ้าง
ขั้นสอน
๓. ครู จั ด บรรยากาศในห้ อ งเรี ย นให้ เ งี ย บสงบ จากนั้ น ครู ท บทวนเรื่ อ ง การท าสงคราม
ยุทธหัตถี
๔. นักเรียนเขียนบรรยายความรู้สึกที่ได้รับหลังจากศึกษาเรื่อง สงครามยุทธหัตถี
๕. ครูสุ่มนักเรียน ๑-๓ คน ออกมาอธิบายความรู้สึกของตนเอง หน้าชั้นเรียน
๖. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
- สงครามยุทธหัตถีในความคิดของนักเรียน น่าจะมีสภาพอย่างไร
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑) ร่วมกันอ่านและศึกษา
บทวิเคราะห์เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย จากหนังสือเรียน
๘. นักเรียนประเมินคุณค่าและสังเคราะห์ข้อคิดตามประเด็นที่ครูกาหนด ดังนี้
๑) คุณค่าด้านเนื้อหา
๒) คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๓) คุณค่าด้านสังคม
๔) ข้อคิดและแนวทางในการนาข้อคิดไปปรับใช้ในชีวิตจริง
๙. สมาชิกในแต่ละกลุ่มอ่านและศึกษาตามหัวข้อที่รับผิดชอบ เมื่ออ่านจบแล้วให้นักเรียน
ปิดเรื่องที่อ่าน
๑๐. ทบทวนในใจว่าอ่านแล้วเข้าใจอะไรบ้าง แล้วจึงเปิดเรื่องที่อ่านดูอีกรอบว่าลืมอะไรบ้าง
๑๑. จากนั้นก็ปิด แล้วพยายามทบทวนสิ่งที่อ่านอีกครั้งว่ามีความเข้าใจเนื้อหาเพิ่มเติมหรือไม่
และเรื่องนั้นมีรายละเอียดอย่างไรบ้าง
ขั้นสรุป
๑๒. ครูและนักเรียนร่วมกันตั้งคาถามนาการสรุปเนื้อหาที่เรียน ดังนี้
- หลักการวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณคดี
- หลักการประเมินค่าวรรณคดี
- คุณค่าที่ได้จากการศึกษาเนื้อหา
- สามารถนาข้อคิดในวันนี้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร
๑๓. ครูให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมถึงการทางานร่วมกันของนักเรียนในกลุ่ม

สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
๑. สื่อการเรียนรู้
๑.๑ หนังสือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๕
๒. แหล่งเรียนรู้
๒.๑ ห้องเรียน
๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

การวัดและการประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์


ประเมินผลการเรียนรู้ แบบประเมินผลการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประเมินคุณลักษณะอันพึง แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ประสงค์ ประสงค์
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
จากกิจกรรมการเรียนการสอนพบว่า กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างสร้างสรรค์ นักเรียน
มีความสนใจในการเรียน กระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรมที่ครูวางแผนไว้ นักเรียนเรียนรู้เรื่อง การ
สังเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน สามารถเขียนวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ เรื่อง
ลิลิตตะเลงพ่าย และนาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๒. ปัญหา / อุปสรรค
นักเรียนส่วนใหญ่ส่งงานช้ากว่ากาหนด เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นเหตุผลสาคัญ
นอกจากนี้นักเรียนบางคนมีอุปกรณ์ในการเรียนรู้ที่ประสิทธิภาพยังไม่ดี จึงทาให้การเรียนเกิดปัญหา
อุปสรรคในการสื่อสารและทากิจกรรมกับเพื่อน ๆ
นักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจหลั กการสังเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน จึงทาให้เกิดความ
เข้าใจที่คลาดเคลื่อน

๓. แนวทางแก้ไข
ครูต้องคอยเตือนนักเรียนและสร้างข้อตกลงในการส่งงานให้กับนักเรียน ชื่นชมเด็กที่ทางาน
ได้เสร็จตามกาหนดและให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติบ่อย ๆ จนเกิดความเคยชินและชานาญ ครูฝึกให้เด็กได้
แสดงความคิดเห็นในกิจกรรมต่าง ๆ และต้องให้กาลังใจ ชมเชยเด็กทุกครั้ง
ครูให้นักเรียนที่ยังไม่เข้าใจ กลับไปทบทวนเนื้อหาที่ทาการเรียนการสอนในวันนี้ พร้อมทั้ง
ศึกษาด้วยตนเอง และฝึกทาใบงานเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ครูจะต้องหากิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนในปัจจุบัน เพื่อให้นักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจและสะดวกตามความสนใจ

ลงชื่อ......................................................
( นายสุรเชษฐ์ อัศวมโนธรรม )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
ลงชื่อ......................................................
(นางสุนันทา ผกากอง)
ครูพี่เลี้ยง
............/................/...............
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……………………………………………………….
ลงชื่อ......................................................
(นางสุนันทา ผกากอง)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
............/................/...............
ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……………………………………………………….
ลงชื่อ......................................................
(นางสาววิไลภรณ์ เตชะ)
รองผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
............/................/...............
ความคิดเห็นของผู้อานวยการโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………………………………………………..
ลงชื่อ......................................................
(นายเพิม่ นาก้อนทอง)
ผู้อานวยการโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
............/................/...............
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๕
ชุดวรรณคดีวิจักษ์ หน่วยที่ ๑ ลิลิตตะเลงพ่าย ประกอบแผนการเรียนรู้ที่ ๕
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน
แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ความ ความ
มารยาท
ลา ความถูกต้อง ถูกต้อง สะอาด การตรง รวม
ชื่อ-สกุล ของเนื้อหา ของ
ใน
เรียบร้อย ต่อเวลา
ดับ การเขียน ๒๐
ของผู้รับการประเมิน รูปแบบ สวยงาม
ที่ คะแนน
๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑
๑ นายชาญณรงค์ จงหาญ ๒๐
๒ นายณรงค์ฤทธิ์ พรมชัย ๒๐
๓ นายธนพล พลเยี่ยม ๑๘
๔ นายนันทวัฒน์ ภูมิภาค ๑๕
๕ นายพีรวัส การินทร์ ๑๗
๖ นายเศรษฐพิชญ์ ทิพยส์าร ๒๐
๗ นายเอกชัย ผดุงลม ๑๙
๘ นางสาวกัญฑิมา อุดมรักษ์ ๑๙
๙ นางสาวกัญวรา กมลสาร ๑๘
๑๐ นางสาวกัลยาณี บุตรศาสตร์ ๒๐
๑๑ นางสาวกานติมา อนุมาส ๑๘
๑๒ นางสาวขวัญแก้ว นักผูก ๒๐
๑๓ นางสาวขวัญฤดี ศีรษะ ๑๕
๑๔ นางสาวจารุวรรณ พลเยี่ยม ๒๐
๑๕ นางสาวจีราดา โฮมแพน ๒๐
๑๖ นางสาวจุฑาทิพย์ พลเยีย่ ม ๑๘
๑๗ นางสาวชนสรณ์ พลเยีย่ ม ๑๕
๑๘ นางสาวณัฐมล โพธจิ์นทร์ ๑๗
ความ ความ
มารยาท
ลา ความถูกต้อง ถูกต้อง สะอาด การตรง รวม
ชื่อ-สกุล ของเนื้อหา ของ
ใน
เรียบร้อย ต่อเวลา
ดับ การเขียน ๒๐
ของผู้รับการประเมิน รูปแบบ สวยงาม
ที่ คะแนน
๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑
๑๙ นางสาวดาราพร ชรารัตน์ ๒๐
๒๐ นางสาวธัญญาลักษณ์ โฮมแพน ๒๐
๒๑ นางสาวธัญพร วีระศรี ๑๘
๒๒ นางสาวนฤมล รักชาติ ๑๕
๒๓ นางสาวนิชานันท์ พันโน ๑๗
๒๔ นางสาวนิตยา ประเสริฐสังข์ ๒๐
๒๕ นางสาวนิราภรณ์ อินทร์สวาท ๑๙
๒๖ นางสาวเนตรนภา โตมาชา ๑๙
๒๗ นางสาวแน็ดทิญา บุญสินไชย ๑๘
๒๘ นางสาวปฏิญญา ทองโชติ ๒๐
๒๙ นางสาวปนัดดา ปิตฝ่าย ๑๘
๓๐ นางสาวประภัชรา กลางบุญเรือง ๒๐
๓๑ นางสาวปรียาอร ประทุมชาติ ๑๕
๓๒ นางสาวปวีณ์ณัส สวัสดิ์ประเสริฐ ๒๐
๓๓ นางสาวปวีณา บุตรสาร ๒๐
๓๔ นางสาวปิยธิดา ทิพอาจ ๑๘
๓๕ นางสาวพัชรา มลามาตย์ ๑๕
๓๖ นางสาวพัชรี วงศ์เง้า ๑๗
๓๗ นางสาวฟาริดาร์ ขาคมเขต ๒๐
๓๘ นางสาวภาวินี คงประทีป ๑๙
๓๙ นางสาวลลิตา โพธิ์หะนาม ๑๙
๔๐ นางสาววริศรา งาหอม ๑๘
๔๑ นางสาวศิรลิ ักษณ์ ผ่องใส ๒๐
๔๒ นางสาวสิรินทรา ประเสริฐสังข์ ๑๘
ความ ความ
มารยาท
ลา ความถูกต้อง ถูกต้อง สะอาด การตรง รวม
ชื่อ-สกุล ของเนื้อหา ของ
ใน
เรียบร้อย ต่อเวลา
ดับ การเขียน ๒๐
ของผู้รับการประเมิน รูปแบบ สวยงาม
ที่ คะแนน
๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑
๔๓ นางสาวสุชานุช สารพฒัน์ ๒๐
๔๔ นางสาวอมินตรา ทองจันทร์ ๒๐

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๘ - ๒๐ ดีมาก
๑๔ - ๑๗ ดี
๑๐ - ๑๓ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๕
ชุดวรรณคดีวิจักษ์ หน่วยที่ ๑ ลิลิตตะเลงพ่าย ประกอบแผนการเรียนรู้ที่ ๕
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน
แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

มุ่งมั่นใน รวม
ลา รักความ
ชื่อ-สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ การ ๑๖
ดับ เป็นไทย
ของผู้รับการประเมิน ทางาน คะแนน
ที่
๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑
๑ นายชาญณรงค์ จงหาญ ๑๖
๒ นายณรงค์ฤทธิ์ พรมชัย ๑๖
๓ นายธนพล พลเยี่ยม ๑๖
๔ นายนันทวัฒน์ ภูมิภาค ๑๖
๕ นายพีรวัส การินทร์ ๑๖
๖ นายเศรษฐพิชญ์ ทิพยส์าร ๑๖
๗ นายเอกชัย ผดุงลม ๑๖
๘ นางสาวกัญฑิมา อุดมรักษ์ ๑๖
๙ นางสาวกัญวรา กมลสาร ๑๖
๑๐ นางสาวกัลยาณี บุตรศาสตร์ ๑๖
๑๑ นางสาวกานติมา อนุมาส ๑๖
๑๒ นางสาวขวัญแก้ว นักผูก ๑๖
๑๓ นางสาวขวัญฤดี ศีรษะ ๑๖
๑๔ นางสาวจารุวรรณ พลเยี่ยม ๑๖
๑๕ นางสาวจีราดา โฮมแพน ๑๖
๑๖ นางสาวจุฑาทิพย์ พลเยีย่ ม ๑๖
๑๗ นางสาวชนสรณ์ พลเยีย่ ม ๑๖
๑๘ นางสาวณัฐมล โพธจิ์นทร์ ๑๖
มุ่งมั่นใน รวม
ลา รักความ
ชื่อ-สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ การ ๑๖
ดับ เป็นไทย
ของผู้รับการประเมิน ทางาน คะแนน
ที่
๔๓๒๑ ๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑
๑๙ นางสาวดาราพร ชรารัตน์ ๑๖
๒๐ นางสาวธัญญาลักษณ์ โฮมแพน ๑๖
๒๑ นางสาวธัญพร วีระศรี ๑๖
๒๒ นางสาวนฤมล รักชาติ ๑๖
๒๓ นางสาวนิชานันท์ พันโน ๑๖
๒๔ นางสาวนิตยา ประเสริฐสังข์ ๑๖
๒๕ นางสาวนิราภรณ์ อินทร์สวาท ๑๖
๒๖ นางสาวเนตรนภา โตมาชา ๑๖
๒๗ นางสาวแน็ดทิญา บุญสินไชย ๑๖
๒๘ นางสาวปฏิญญา ทองโชติ ๑๖
๒๙ นางสาวปนัดดา ปิตฝ่าย ๑๖
๓๐ นางสาวประภัชรา กลางบุญเรือง ๑๖
๓๑ นางสาวปรียาอร ประทุมชาติ ๑๖
๓๒ นางสาวปวีณ์ณัส สวัสดิ์ประเสริฐ ๑๖
๓๓ นางสาวปวีณา บุตรสาร ๑๖
๓๔ นางสาวปิยธิดา ทิพอาจ ๑๖
๓๕ นางสาวพัชรา มลามาตย์ ๑๖
๓๖ นางสาวพัชรี วงศ์เง้า ๑๖
๓๗ นางสาวฟาริดาร์ ขาคมเขต ๑๖
๓๘ นางสาวภาวินี คงประทีป ๑๖
๓๙ นางสาวลลิตา โพธิ์หะนาม ๑๖
๔๐ นางสาววริศรา งาหอม ๑๖
๔๑ นางสาวศิรลิ ักษณ์ ผ่องใส ๑๖
๔๒ นางสาวสิรินทรา ประเสริฐสังข์ ๑๖
มุ่งมั่นใน
ลา รักความ รวม
ชื่อ-สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ การ
ดับ เป็นไทย ๑๖
ของผู้รับการประเมิน ทางาน
ที่ คะแนน
๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑
๔๓ นางสาวสุชานุช สารพฒัน์ ๑๖
๔๔ นางสาวอมินตรา ทองจันทร์ ๑๖

ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(นายสุรเชษฐ์ อัศวมโนธรรม)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๕ - ๑๖ ดีมาก
๑๓ - ๑๔ ดี
๑๑ - ๑๒ พอใช้
ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรุง

You might also like