You are on page 1of 34

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ศึกสายเลือด ๑ ปี การศึกษา
เรื่อง การอ่านในใจบทเรียนและตอบคำถาม เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนผังความคิดประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

การสร้างประสบการณ์ฟัง การสร้างประสบการณ์การสะกดคำ

ศึกสายเลือด
ศึกสายเลือด

การอ่านในใจบทเรียน การอ่านสะกดคำและแจกลูก

มาตรฐานการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงบทเรียน
สาระที่ ๑ : การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
เป้ าหมายการเรียนรู้ประจำหน่วย
เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้
๑. อ่านในใจบทเรียนแล้วสามารถตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้
๒. อ่านในใจบทเรียนแล้วอภิปรายแสดงความคิดเห็นเรื่องที่อ่านได้
๓. อ่านในใจบทเรียนแล้วลำดับเหตุการณ์ของเรื่องได้
๔. อ่านในใจบทเรียนแล้วสรุปใจความสำคัญและข้อคิดของเรื่องได้
คุณภาพที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑. มีความรอบคอบในการทำงาน
๒. เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
๓. มีความภาคภูมิใจในภาษาไทย
๔. มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
๕. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
ขอบข่ายสาระการเรียนรู้แกนกลางรายวิชา ภาษาไทย
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑
(๓) อ่านเรื่องสั้นๆ อย่างหลากหลาย โดยจับเวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
(๔) แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
สาระพื้นฐาน
๑. อ่านในใจบทเรียน เรื่อง ศึกสายเลือด
๒. การตั้งคำถาม ตอบคำถามและสรุปข้อคิดจากเรื่อง
ความรู้ฟังแน่นติดตัวผู้เรียน
การอ่านในใจเป็นการอ่านที่เข้าใจเรื่องราวได้เพียงคนเดียว ผู้อ่านต้องใช้สมาธิในการอ่าน
ศึกษาคำยาก ตั้งจุดหมายในการอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้จับใจความสำคัญของเรื่องที่
อ่าน สามารถตอบคำถาม ลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง และนำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง เพื่อเล่า
เรื่องและเขียนเรื่องได้
พฤติกรรมความพอเพียง
๑. ความพอเพียงด้านตนเอง มีความสนใจ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
๒. มีความพอเพียงด้านสังคม ดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของสังคม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
มีความสุข
๓. ความพอเพียงด้านทรัพยากร ใช้ทรัพยากรที่อยู่อย่างคุ้มค่า ตามปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอ
เพียง
๔. ความพอเพียงด้านภูมิปัญญา สามารถนำความรู้ที่ได้จากเรื่อง การอยู่ร่วมกัน และ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
๒. นักเรียนเปิ ดหนังสือภาษาไทย วรรณคดีลำนำ หน้า ๑๒๐ แล้วสนทนากับนักเรียนเพื่อ
กระตุ้นความคิด ดังนี้
- รูปภาพนี้เด็กๆกำลังทำอะไร
- นักเรียนเคยเห็นที่ไหนมาก่อนหรือไม่
- นักเรียนเคยอ่านหนังสือวรรณคดีเรื่องใดบ้าง
- บทร้อยกรองนี้มุ่งให้ข้อคิดอะไรแก่เราบ้าง

๓. นักเรียนทุกคนอ่านในใจบทเรียนที่ ๕ เรื่อง ศึกสายเลือด (อ่านรายบุคคล เน้นการ


อ่านอย่างพินิจพิจารณา)
๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๔-๖ คน แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมดังต่อไปนี้
- ตั้งคำถามจากเรื่องที่อ่านให้ได้มากที่สุด ครอบคลุมเนื้อหามากที่สุดเท่าที่จะ
ทำได้พร้อมวงเล็บคำตอบไว้ด้วย เพื่อที่จะได้ถามกลุ่มอื่นแล้วมีคำตอบให้ได้
- ร่วมกันเขียนคำถามลงในแถบประโยค
- แต่ละกลุ่มนำแถบประโยคคำถามติดไว้บนกระเป๋ าผนัง (คำถามอาจซ้ำกันได้)
- กลุ่มใดตอบคำถามจากเพื่อนหรือกลุ่มอื่นได้ ให้ทำแถบคำตอบไปติดต่อหลัง
คำถามนั้น กลุ่มใดทำได้ ได้คะแนนสะสม
- จากนั้นให้ร่วมกันอ่านประโยคคำถามและคำตอบพร้อมกันทั้งหมด
๕. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาถามเพื่อนกลุ่มอื่น เมื่อเพื่อนตอบแล้ว ผู้ถามจะต้องเฉลย
ด้วยว่าถูกหรือผิด หมุนเวียนไปจนครบทุกกลุ่ม
๖. นักเรียนทำใบงาน
๗. นักเรียนทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน
สื่อการเรียนการสอน
๑. ประเภทสื่อ
- ใบงาน
- หนังสือวรรณกรรมลำนำ
- แบบทดสอบก่อนเรียน
๒. วัสดุ / อุปกรณ์
- บัตรคำใหม่, คำยาก
๓. แหล่งการเรียนรู้
- ครู ผู้ปกครอง
- ห้องสมุด
การวัดประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
๒. ประเมินการอ่านในใจ

๒. เครื่องมือการวัดและประเมินผล
๑. แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่านในใจ
๓. เกณฑ์การประเมิน
๑ การประเมินพฤติกรรมการเรียน
๕ - ๔ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๓ – ๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ - ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
๒. สังเกตพฤติกรรมการอ่านในใจ
๕ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๔ หมายถึง ระดับ ดี
๓ หมายถึง ระดับ ปานกลาง
๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ – ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)……………………………………
( )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน……………

ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง)
..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ลงชื่อ…………………………………

( )
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ศึกสายเลือด
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย × ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ชาลีมีแนวคิดจะทำการอันยิ่งใหญ่ คืออะไร
ก. จัดตั้งชมรมเพิ่มขึ้นอีก
ข. สร้างเกมคอมพิวเตอร์โดยใส่ตัวละครไทย
ค. เปิ ดชมรมคนรักวรรณคดีเพิ่มเป็นสองรอบ
ง. จัดแสดงละคร เรื่องศึกไมยราพ
๒. การนำเสนอกิจกรรม “ช่วยกันอ่าน วานมาฟัง” แตกต่างจากทุกครั้งอย่างไร
ก. เชิญคณะครูและผู้ปกครองชมการแสดง
ข. เชิญนักเรียนทั้งโรงเรียนร่วมกิจกรรม
ค. จัดแสดงเป็นละครในหอประชุม
ง. ใช้คนเล่าเรื่องประกอบกันสองคน
๓. “ตัวเองมานี้จะไปไหน ไม่กลัวชีวาจะอาสัญ” คำที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ตาย
ข. พินาศ
ค. พิการ
ง. ต่ำ เลว
๔. ใครคือทหารเอกของพระราม
ก. มัจฉานุ
ข. หนุมาน
ค. ไมยราพ
ง. สุพรรณมัจฉา
๕. “เลือดข้นกว่าน้ำ” มีความหมายในลักษณะใด
ก. ความเอร็ดอร่อยของอาหารที่ชอบทาน
ข. ความสนุกสนานในกิจกรรมที่รับผิดชอบ
ค. ความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
ง. ความผูกพันในสายเลือด
๖. นางพิรากวนมีลูกชื่ออะไร
ก. มัจฉานุ
ข. ไวยวิก
ค. พาลี
ง. สุครีพ
๗. ไมยราพถอดกล่องดวงใจไว้ในสัตว์ชนิดใด
ก. ผึ้ง
ข. มด
ค. แตน
ง. ผีเสื้อ
๘. วิธีใดที่หนุมานใช้ในการรบกับไมยราพ แต่ไม่รู้แพ้ชนะ
ก. ฟันดาบ
ข. ใช้กระบองผัดกันตีคนละสามที
ค. ใช้ตาลคนละ ๓ ด้วง ผัดกันตี
ง. ตกลงกันโดยดี
๙. เหตุใดหนุมานไม่ตาย
ก. ไม่มีจุดอ่อนเลย
ข. ถูกสาปไม่ให้ตาย
ค. หนุมานไม่ใช่มนุษย์จึงตายยาก
ง. เมื่อลมพัดมาก็จะฟื้ นเพราะหนุมานเป็นลูกพระพลาย
๑๐. ไมยราพถอดกล่องดวงใจไว้ที่ใด
ก. ยอดเขาตรีกูฏ
ข. ยอดเขาหิมพาน
ค. ยอดเขาตรีชฎา
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ง. ยอดเขาพระสุเมรุ

๑ข๒ง๓ก๔ข๕ง๖ข๗ก๘ค๙ง๑๐ก
ใบงาน

คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้

๑. จากเรื่อง “รามเกียรติ์ ตอน ศึกไมยราพ” ลูกพระพายหมายถึงใคร


………………………………………………………………………………………………………
๒. มัจฉานุ เป็นลูกของหนุมานที่เกิดกับใคร
………………………………………………………………………………………………………
๓. หนุมานมีวิธีการพิสูจน์อย่างไรเพื่อให้มัจฉานุเชื่อว่าตนเป็นพ่อ
………………………………………………………………………………………………………
๔. หนุมานเข้าไปช่วยพระรามที่เมืองบาดาลได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………
๕. ทำไมนางพิรากวนจึงยอมช่วยเหลือหนุมาน
………………………………………………………………………………………………………
๖. เหตุการณ์ใดในเรื่อง ที่สนับสนุนคำที่ว่า “เลือดข้นกว่าน้ำ”
………………………………………………………………………………………………………
๗. เพราะเหตุใดหนุมานจึงฆ่าไมยราพไม่ตาย
………………………………………………………………………………………………………
๘. ทำไมชาลีจึงกล่าวว่า เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึกไมยราพ จึงเหมาะกับการนำไปแสดงละคร
………………………………………………………………………………………………………
๙. การเล่าเรื่องของ ยอดและเกรียงไกร จึงได้รับความสนใจจากทุก
ใบความรู้ ๆ คน
……………………………………………………………………………………………………… เรื่อง การอ่านในใจ
๑๐. จากการอ่านวรรณคดี เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึกไมยราพ ได้ข้อคิดอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………
การอ่านในใจเป็นบทบาทเฉพาะตัวของบุคคล ที่มีจุดมุ่งหมายจะจับใจความ
สำคัญอย่างรวดเร็ว คือ รู้เรื่องเร็วและถูกต้องโดยไม่ใช้อวัยวะที่ช่วยในการออกเสียงเคลื่อนไหวเลย
การอ่านในใจจะช่วยให้เข้าใจเนื้อความได้เร็วกว่าการอ่านออกเสียง และ ผู้อ่านจะรับรู้เรื่องราวแต่
ชื่อ………………………นามสกุล……………………….……เลขที่………….
เพียงผู้เดียว ชั้น………………
วิธีการอ่านในใจ
๑. อ่านอย่างละเอียด เป็นการอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้ ผู้อ่านจะต้องมีพื้นฐานความรู้ในเรื่อง
ที่อ่านพอสมควร ควรอ่านรายละเอียดของเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ
จะทำให้มองเห็นการเชื่อมโยงระหว่างใจความสำคัญได้
๒. อ่านเพื่อจับใจความสำคัญ ผู้อ่านต้องมีจุดมุ่งหมายในการอ่าน และต้องมีพื้นฐานความ
รู้ในเรื่องที่จะอ่าน ในการอ่านผู้อ่านจะต้องจับใจความส่วนรวมให้ได้ว่าเป็นเรื่องอะไร เมื่ออ่านจบ
ควรเรียบเรียงใจความสำคัญเป็นภาษาของตนเอง
๓. การอ่านอย่างรวดเร็ว เป็นการอ่านที่ไม่ต้องเก็บรายละเอียด แต่อ่านเพื่อให้ทราบเรื่อง
ราวเท่านั้น นิยมใช้อ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดีเพื่อผ่อนคลายอารมณ์ เช่น อ่านนวนิยาย เรื่อง
สั้น หนังสือพิมพ์
๔. การอ่านอย่างคร่าว ๆ เป็นการอ่านอย่างรวดเร็ว เพื่อต้องการค้นหาคำตอบจากข้อความ
บางตอน การอ่านวิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีพื้นฐานการอ่านที่ดีพอ
๕. การอ่านเพื่อวิจารณ์ ผู้อ่านต้องใช้ประสบการณ์เดิมของตนให้เป็นประโยชน์ เพื่อทำ
ความเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้เขียน และการเสนอข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หรือการใช้ความหมาย
ตรงและโดยนัย
แนวปฏิบัติในการอ่านในใจ
การอ่านในใจต้องอาศัยความแม่นยำในการจับตามองดูตัวหนังสือ การเคลื่อนไหวสายตา
การแบ่งช่วงวรรคตอน ซึ่งต้องฝึกให้เกิดความแม่นยำและรวดเร็ว จึงจะสามารถเก็บได้ครบทุกคำ
การอ่านในใจมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
๑. กวาดสายตามองตัวอักษรให้ได้ช่วงประมาณ ๕-๖ คำ เป็นอย่างน้อย
๒. ไม่ควรทำปากขมุบขมิบเวลาอ่าน ต้องฝึกเร่งอัตราความเร็วของตาและสมอง
๓. ไม่ควรอ่านย้อนกลับหลังจากอ่านจบ อ่านจากซ้ายไปขวาโดยตลอด
๔. ทดสอบความเข้าใจหลังจากอ่านจบ โดยใช้วิธีตั้งคำถามสรุปเรื่องราวที่อ่าน
การพัฒนาการอ่านในใจ
การอ่านในใจเป็นทักษะที่สามารถพัฒนาได้เช่นเดียวกับการอ่านออกเสียง ซึ่งนักเรียน
ทุกคนควรฝึกฝนให้ชำนาญ เพราะการอ่านหนังสือได้มาก เป็นวิธีการฝึกฝนตนเองให้อ่านได้รวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพ
วิธีการฝึ กการอ่านในใจ มีดังนี้
๑. อ่านข้อความง่าย ๆ ไม่มีคำศัพท์มาก ไม่ซับซ้อน ยาวประมาณ ๑ หน้า
๒. จับเวลาที่ใช้ในการอ่านข้อความนั้น
๓. ตั้งคำถามเพื่อถามตนเองเกี่ยวกับเรื่องราวหรือข้อความที่อ่าน
๔. สำรวจตนเองว่าตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านได้มากเพียงใด
๕. อ่านข้อความนั้นซ้ำอีกครั้งหนึ่ง พยายามทำเวลาในการอ่านให้น้อยลง
๖. ตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านอีกครั้งว่า ตอบได้ดีกว่าครั้งแรกหรือไม่
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน

คำชี้แจง : พิจารณาใส่คะแนน (๕, ๔, ๓, ๒, ๑) ลงในช่องว่างให้ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน


เกณฑ์การให้คะแนน ๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๑๐ คะแนน)
รายการสังเกต

เกณฑ์การประเมิน
เลขที่

ตอบคำถามและแสดงเหตุผล
มีความสนใจในเรื่องที่เรียน
ชื่อ – สกุล
สนใจร่วมกิจกรรม

กล้าแสดงออก

๕ ๕ ๕ ๕ ๒๐ ผ่าน ไม่ผ่าน









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียน

( Rubric Assessment)
ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
๑. สนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
กิจกรรม กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน กิจกรรม รับคำสั่งหรือถูก
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ บังคับ
๒. มีความสนใจใน มีความกระตือรือร้นปฏิบัติ สนใจศึกษาค้นคว้าหา ปฏิบัติตนในเรื่องที่
เรื่องที่เรียน ในเรื่องที่เรียน สนใจ ข้อมูลด้วยตนเองและนำ เรียน ศึกษาค้นคว้า
ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลนำ ไปปฏิบัติ เมื่อได้รับคำสั่ง
ไปปฏิบัติพร้อมทั้งชักชวน
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม
๓. กล้าแสดงออก มีความกระตือรือร้น กล้า มีความกระตือรือร้น ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
แสดงออกในการร่วม กล้าแสดงออกในการ รับคำสั่งหรือถูก
กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน ร่วมกิจกรรม บังคับ
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้
๔. ตอบคำถามและ ตอบคำถามและแสดง ตอบคำถามและแสดง
ตอบคำถามได้ต่อ
แสดงเหตุผล เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ
เนื่องครบถ้วน
ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่ ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่
สัมพันธ์กับหัวข้อที่
กำหนด และตอบคำถามได้ กำหนด กำหนดแต่ยังไม่
ถูกต้อง สามารถแสดง
เหตุผลประกอบได้
๕. มีความสามัคคี กระตือรือร้นศึกษา ค้นคว้า ศึกษา ค้นคว้าทำงานตาม ศึกษา ค้นคว้า
ทำงานด้วยความชื่นชอบ ที่ผู้อื่นบอกหรือทำตาม ทำงานเมื่อได้รับคำ
สนุก สนาน และสามารถ คำชักชวนของเพื่อน สั่งหรือถูกบังคับ
ชักชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม

แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่านในใจ

เกณฑ์การให้คะแนน ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง


๒ = พอใช้ ๑ – ๐ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๓ คะแนน)
ข้อ รายการประเมิน คะแนน สรุป หมายเหตุ
ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน
๑ ไม่ออกเสียงพึมพรำไม่ทำปากขมุบขมิบใน
ขณะอ่าน
๒ กวาดสายตาได้อย่างคล่องแคล่วไม่ใช้มือชี้
๓ ตั้งคำถามจากเรื่องที่อ่านได้
๔ ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
๕ สรุปสาระสำคัญของเรื่องที่อ่าน

รวมคะแนน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ศึกสายเลือด ๑ ปี การศึกษา
เรื่อง การอ่านออกเสียงและเขียนตามคำบอก เวลา ๑ ชั่วโมง

แผนผังความคิดประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

การสร้างประสบการณ์ฟัง การสร้างประสบการณ์การสะกดคำ

ศึกสายเลือด
ศึกสายเลือด

การอ่านในใจบทเรียน การอ่านสะกดคำและแจกลูก
การอ่านออกเสียงบทเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ : การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ ๒ : การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
เป้ าหมายการเรียนรู้ประจำหน่วย
เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้
๑. อ่านออกเสียงคำยากได้ถูกต้อง ชัดเจน
๒. อ่านประโยคในบทเรียนได้ถูกต้อง
๓. อ่านออกเสียงในบทเรียนได้ถูกต้อง
๔. เขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
คุณภาพที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑. อ่านออกเสียงคำยากได้ถูกต้อง ชัดเจน
๒. อ่านประโยคในบทเรียนได้ถูกต้อง
๓. อ่านออกเสียงในบทเรียนได้ถูกต้อง
๔. เขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
ขอบข่ายสาระการเรียนรู้แกนกลางรายวิชา ภาษาไทย
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑
(๑) อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
(๒) อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร
มาตรฐาน ท ๒.๑
(๑) คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด
สาระพื้นฐาน
๑. บทเรียนบทที่ ๓ เรื่อง ศึกสายเลือด
๒. การอ่านออกเสียงเนื้อเรื่องในบทเรียน
๓. การเขียนตามคำบอก
ความรู้ฟังแน่นติดตัวผู้เรียน
การอ่านออกเสียงเป็นการอ่านที่คนอื่นสามารถรับรู้เรื่องราว สาระการเรียนรู้จากผู้อ่านได้
ด้วย ดังนั้นควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักผู้อ่าน จึงจะทำให้การอ่านประสบความสำเร็จ กระทำได้
โดยฝึกคำยาก ฝึกอ่านตามลักษณะของเสียงและคำประพันธ์ รู้จักใช้น้ำเสียงตามอารมณ์ของตัว
ละคร เน้นจังหวะหนักเบาเหมือนเสียงพูด จะทำให้อ่านได้ถูกต้องคล่องแคล่ว และช่วยให้สื่อสาร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่ออ่านแล้วควรฝึกการคัด เขียนคำ หรือข้อความเน้นความถูกต้อง
สวยงาม รวดเร็วและมีระบบ ซึ่งจะเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการอ่านได้ดี
พฤติกรรมความพอเพียง
๑. ความพอเพียงด้านตนเอง มีความสนใจ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
๒. มีความพอเพียงด้านสังคม ดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของสังคม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
มีความสุข
๓. ความพอเพียงด้านทรัพยากร ใช้ทรัพยากรที่อยู่อย่างคุ้มค่า ตามปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอ
เพียง
๔. ความพอเพียงด้านภูมิปัญญา สามารถนำความรู้ที่ได้จากเรื่อง การอยู่ร่วมกัน และทำงาน
ร่วมกับผู้อื่นประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
กระบวนการเรียนรู้
๑. ครูสนทนาความหมายของคำยาก โดยให้นักเรียนค้นหาความหมายจาก
พจนานุกรมแล้วทำลงในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้
๒. ครูสนทนาความหมายของคำยาก โดยให้นักเรียนค้นหาความหมายจากพจนานุกรม
แล้วทำลงในใบงานที่ครูแจกให้
๓. ให้นักเรียนอ่านออกเสียงจากแถบประโยค หรือแผนภูมิประโยคที่ครูเขียนบน
กระดานดำ
๔. นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงในบทเรียน ดังนี้
- ครูอ่านให้นักเรียนฟังเป็นตัวอย่างแล้วให้นักเรียนอ่านตาม
- นักเรียนฝึกอ่านคนละ ๑ ย่อหน้าจนจบ
๕. นักเรียนฝึกอ่านในกลุ่มของตนเองจนคล่อง
๖. นักเรียนคนใดที่อ่านบกพร่อง ให้มาอ่านกับครูเป็นรายบุคคล
๗. นักเรียนเขียนตามคำบอก เสร็จแล้วตรวจคำตอบจากบัตรเฉลยที่ครูชูให้ดู
๘. นักเรียนทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน
๙. นักเรียนและครูสรุปความที่ได้จากบทเรียน
สื่อการเรียนการสอน
๑. ประเภทสื่อ
- ใบงาน
- หนังสือวรรณกรรมลำนำ
- พจนานุกรม
๒. วัสดุ / อุปกรณ์
- บัตรคำใหม่, คำยาก
๓. แหล่งการเรียนรู้
- ครู ผู้ปกครอง
- ห้องสมุด

การวัดประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
๒. ประเมินการอ่าน
๓. ประเมินการเขียน
๒. เครื่องมือการวัดและประเมินผล
๑. แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขียน
๓. เกณฑ์การประเมิน
๑ การประเมินพฤติกรรมการเรียน
๕ - ๔ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๓ – ๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ - ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
๒. สังเกตพฤติกรรมการอ่าน
๕ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๔ หมายถึง ระดับ ดี
๓ หมายถึง ระดับ ปานกลาง
๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ – ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
๓. สังเกตพฤติกรรมการเขียน
๕ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๔ หมายถึง ระดับ ดี
๓ หมายถึง ระดับ ปานกลาง
๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ – ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)……………………………………
( )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน……………

ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง)
..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ใบความรู้
เรื่อง การอ่านออกเสียง
ลงชื่อ…………………………………
การอ่านออกเสียง คือการอ่านที่ผู้อื่นสามารถได้ยินเสียงอ่านได้
(
การอ่านออกเสียงนอกจากเป็นการสื่อสารอย่างหนึ่งแล้ว ผู้ฟังยังได้รับประโยชน์คือเกิดความ )
เพลิดเพลินในน้ำเสียงและจังหวะในการอ่าน
หลักการอ่านออกเสียงที่ดี
๑. อ่านออกเสียงได้ชัดเจน และตรงตามอักขระวิธี เช่น อ่านคำควบกล้ำ
๒. อ่านถูกจังหวะวรรคตอน และอ่านเครื่องหมายวรรคตอนได้ถูกต้อง
๓. ระดับเสียงเหมาะสมกับข้อความหรือเนื้อเรื่อง
๔. ไม่อ่านตู่ตัว เติมคำ หรืออ่านตะกุกตะกัก
๕. นั่งหรือยืนอ่านตามสบาย ไม่เกร็งตัวหรือยืดตัวเต็มที่ ก้มหน้าหรือโค้งตัว
เล็กน้อย
๖. จับหนังสือเอียงเข้าหาตัวเล็กน้อย (ทำมุม ๔๕ องศา) ระยะห่างจากตัว
ประมาณ ๑๒ นิ้ว
๗. จับหนังสือให้ถูกต้องขณะอ่าน (ถ้าไม่วางหนังสือบนโต๊ะ ใช้มือซ้าย
ประคองหนังสือที่ด้านบนหนังสือ มือขาวจับมุมบนโดยใช้นิ้วชี้เตรียมพลิกหน้าต่อไป)
๘. ใช้สายตาจับจ้องที่คำ กวาดสายตาจากซ้ายไปขวา อ่านไปข้างหน้าไม่อ่าน
ย้อนหลัง
๙. ขณะอ่านไม่เอียงคอ ไม่ส่ายหน้าตามบรรทัดอ่าน ไม่ชี้ตามอักษร ไม่เอามือ
เท้าคางไม่พับมุมหนังสือ ไม่คว่ำหนังสือ ไม่เอาสิ่งหนึ่งสิ่งใดสอดไว้ในหนังสือ ไม่ขีดเขียนหรือทำ
เครื่องหมายลงในหนังสือ ไม่ฉีกหนังสือ
๑๐. ขณะอ่านทำจิตใจให้จดจ่ออยู่กับสิ่งที่อ่าน (มีสมาธิ)
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน

คำชี้แจง : พิจารณาใส่คะแนน (๕, ๔, ๓, ๒, ๑) ลงในช่องว่างให้ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน


เกณฑ์การให้คะแนน ๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๑๐ คะแนน)
ชื่อ – สกุล รายการสังเกต
เกณฑ์การประเมิน

เลขที่
ตอบคำถามและแสดงเหตุผล
มีความสนใจในเรื่องที่เรียน
สนใจร่วมกิจกรรม

กล้าแสดงออก
๕ ๕ ๕ ๕ ๒๐ ผ่าน ไม่ผ่าน









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน


เกณฑ์การประเมินสำหรับประเมินผลงานของผู้เรียน
( Rubric Assessment)
ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
๑. สนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
กิจกรรม กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน กิจกรรม รับคำสั่งหรือถูก
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ บังคับ
๒. มีความสนใจใน มีความกระตือรือร้นปฏิบัติ สนใจศึกษาค้นคว้าหา ปฏิบัติตนในเรื่องที่
เรื่องที่เรียน ในเรื่องที่เรียน สนใจ ข้อมูลด้วยตนเองและนำ เรียน ศึกษาค้นคว้า
ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลนำ ไปปฏิบัติ เมื่อได้รับคำสั่ง
ไปปฏิบัติพร้อมทั้งชักชวน
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม
๓. กล้าแสดงออก มีความกระตือรือร้น กล้า มีความกระตือรือร้น ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
แสดงออกในการร่วม กล้าแสดงออกในการ รับคำสั่งหรือถูก
กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน ร่วมกิจกรรม บังคับ
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้
๔. ตอบคำถามและ ตอบคำถามและแสดง ตอบคำถามและแสดง ตอบคำถามได้ต่อ
แสดงเหตุผล เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ เนื่องครบถ้วน
ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่ ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่
สัมพันธ์กับหัวข้อที่
กำหนด และตอบคำถามได้ กำหนด กำหนดแต่ยังไม่
ถูกต้อง สามารถแสดง
เหตุผลประกอบได้
๕. มีความสามัคคี กระตือรือร้นศึกษา ค้นคว้า ศึกษา ค้นคว้าทำงานตาม ศึกษา ค้นคว้า
ทำงานด้วยความชื่นชอบ ที่ผู้อื่นบอกหรือทำตาม ทำงานเมื่อได้รับคำ
สนุก สนาน และสามารถ คำชักชวนของเพื่อน สั่งหรือถูกบังคับ
ชักชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม

แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน

เกณฑ์การให้คะแนน ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง


๒ = พอใช้ ๑ – ๐ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๓ คะแนน)
ข้อ รายการประเมิน คะแนน สรุป หมายเหตุ
ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน
๑ อ่านได้ชัดเจนถูกต้องตามอักขรวิธี
๒ คล่องแคล่วไม่ตะกุกตะกัก
๓ แบ่งวรรคตอนถูกต้อง
๔ ใช้น้ำเสียงเหมาะสม มีจังหวะ มีการเน้น
เสียงหนักเบา ไม่อ่านยานคาง
๕ ใช้น้ำเสียงในการอ่านเหมือนเสียงพูดของ
ตัวละคร
รวมคะแนน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน

แบบสังเกตพฤติกรรมการเขียน

เกณฑ์การให้คะแนน ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง


๒ = พอใช้ ๑ – ๐ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๓ คะแนน)
ข้อ รายการประเมิน คะแนน สรุป หมายเหตุ
ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน
๑ มีความตั้งใจในการเขียน
๒ เขียนได้ถูกต้อง
๓ เขียนได้สวยงาม สะอาด
๔ เว้นวรรคตอนถูกต้อง
๕ สะกดคำถูกต้อง

รวมคะแนน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง ศึกสายเลือด ๑ ปี การศึกษา
เรื่อง การทำแผนผังความคิดของเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง

แผนผังความคิดประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

การสร้างประสบการณ์ฟัง การสร้างประสบการณ์การสะกดคำ

ศึกสายเลือด
ศึกสายเลือด

การอ่านในใจบทเรียน การอ่านสะกดคำและแจกลูก

การอ่านออกเสียงบทเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ : การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ ๒ : การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
เป้ าหมายการเรียนรู้ประจำหน่วย
เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้
๑. วิเคราะห์โครงเรื่อง ลำดับเหตุการณ์ได้อย่างถูกต้อง
๒. เขียนแผนผังความคิดของเรื่องจากเรื่อง ศึกสายเลือด
๓. เขียนเรื่องใหม่ (เขียนเรื่องย้อนกลับ) ตามแผนผังความคิดของเรื่อง ศึกสายเลือด

คุณภาพที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑. มีความรอบคอบในการทำงาน
๒. เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
๓. มีความภาคภูมิใจในภาษาไทย
๔. มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
๕. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
ขอบข่ายสาระการเรียนรู้แกนกลางรายวิชา ภาษาไทย
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑
(๗) อธิบายความหมายของข้อมูล จากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ
มาตรฐาน ท ๒.๑
(๓) เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
สาระพื้นฐาน
การวิเคราะห์เรื่อง ศึกสายเลือด
ความรู้ฟังแน่นติดตัวผู้เรียน
การอ่านเรื่อง วิเคราะห์โครงเรื่องที่อ่านแล้วทำแผนผังความคิดของเรื่อง จะช่วยให้นักเรียน
เข้าใจเรื่อง และจำเรื่องที่อ่านได้ดีขึ้น
พฤติกรรมความพอเพียง
๑. ความพอเพียงด้านตนเอง มีความสนใจ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
๒. มีความพอเพียงด้านสังคม ดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของสังคม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
มีความสุข
๓. ความพอเพียงด้านทรัพยากร ใช้ทรัพยากรที่อยู่อย่างคุ้มค่า ตามปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอ
เพียง
๔. ความพอเพียงด้านภูมิปัญญา สามารถนำความรู้ที่ได้จากเรื่อง การอยู่ร่วมกัน และ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
กระบวนการเรียนรู้
1. ให้นักเรียนร่วมสนทนา เรื่อง “ศึกสายเลือด” เพื่อเป็นการทบทวน
สาระการเรียนรู้อีกครั้ง
๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม โดยคละกันตามความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน เพื่อให้ช่วยกัน
ระดมความคิด หาข้อความหรือคำตอบมาเติมในแผนผังความคิดของเรื่อง
๓. แต่ละกลุ่มออกมาเสนอผลการทำแผนผังความคิดของเรื่อง โดยส่งตัวแทนออกมากลุ่ม
ละ ๒ คน ให้ช่วยกันนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนกลุ่มอื่นช่วยเพิ่มเติมแนะนำ
ปรับปรุง แก้ไขให้สมบูรณ์
๔. หลังจากแต่ละกลุ่มนำกลับไปแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอเพิ่มเติมของเพื่อนแล้ว ให้
แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเล่าเรื่องตามแผนผังความคิดของเรื่อง
๕. นักเรียนแต่ละคนเขียนเรื่องแผนผังความคิดของเรื่องด้วยสำนวนภาษาของตนเอง
ลงในใบงานที่ครูแจกให้ เสร็จแล้วนำส่งเพื่อนและครูตรวจ
๖. นักเรียนและครูสรุปความที่ได้จากบทเรียน
๗. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อการเรียนการสอน
๑. ประเภทสื่อ
- ใบงาน
- หนังสือวรรณกรรมลำนำ
- แบบทดสอบหลังเรียน
- กระดาษเปล่า
๒. วัสดุ / อุปกรณ์
- บัตรคำใหม่, คำยาก
๓. แหล่งการเรียนรู้
- ครู ผู้ปกครอง
- ห้องสมุด
การวัดประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
๒. ประเมินการอ่าน
๓. ประเมินการเขียน
๒. เครื่องมือการวัดและประเมินผล
๑. แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขียน

๓. เกณฑ์การประเมิน
๑ การประเมินพฤติกรรมการเรียน
๕ - ๔ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๓ – ๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ - ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
๒. สังเกตพฤติกรรมการอ่าน
๕ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๔ หมายถึง ระดับ ดี
๓ หมายถึง ระดับ ปานกลาง
๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ – ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
๓. สังเกตพฤติกรรมการเขียน
๕ หมายถึง ระดับ ดีมาก
๔ หมายถึง ระดับ ดี
๓ หมายถึง ระดับ ปานกลาง
๒ หมายถึง ระดับ พอใช้
๑ – ๐ หมายถึง ระดับ ปรับปรุง

บันทึกผลหลังการสอน
ผลการสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)……………………………………
( )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน……………

ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง)
..................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ลงชื่อ…………………………………

( )
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ศึกสายเลือด
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย × ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ชาลีมีแนวคิดจะทำการอันยิ่งใหญ่ คืออะไร
ก. จัดตั้งชมรมเพิ่มขึ้นอีก
ข. สร้างเกมคอมพิวเตอร์โดยใส่ตัวละครไทย
ค. เปิ ดชมรมคนรักวรรณคดีเพิ่มเป็นสองรอบ
ง. จัดแสดงละคร เรื่องศึกไมยราพ
๒. การนำเสนอกิจกรรม “ช่วยกันอ่าน วานมาฟัง” แตกต่างจากทุกครั้งอย่างไร
ก. เชิญคณะครูและผู้ปกครองชมการแสดง
ข. เชิญนักเรียนทั้งโรงเรียนร่วมกิจกรรม
ค. จัดแสดงเป็นละครในหอประชุม
ง. ใช้คนเล่าเรื่องประกอบกันสองคน
๓. “ตัวเองมานี้จะไปไหน ไม่กลัวชีวาจะอาสัญ” คำที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ตาย
ข. พินาศ
ค. พิการ
ง. ต่ำ เลว
๔. ใครคือทหารเอกของพระราม
ก. มัจฉานุ
ข. หนุมาน
ค. ไมยราพ
ง. สุพรรณมัจฉา
๕. “เลือดข้นกว่าน้ำ” มีความหมายในลักษณะใด
ก. ความเอร็ดอร่อยของอาหารที่ชอบทาน
ข. ความสนุกสนานในกิจกรรมที่รับผิดชอบ
ค. ความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
ง. ความผูกพันในสายเลือด
๖. นางพิรากวนมีลูกชื่ออะไร
ก. มัจฉานุ
ข. ไวยวิก
ค. พาลี
ง. สุครีพ
๗. ไมยราพถอดกล่องดวงใจไว้ในสัตว์ชนิดใด
ก. ผึ้ง
ข. มด
ค. แตน
ง. ผีเสื้อ
๘. วิธีใดที่หนุมานใช้ในการรบกับไมยราพ แต่ไม่รู้แพ้ชนะ
ก. ฟันดาบ
ข. ใช้กระบองผัดกันตีคนละสามที
ค. ใช้ตาลคนละ ๓ ด้วง ผัดกันตี
ง. ตกลงกันโดยดี
๙. เหตุใดหนุมานไม่ตาย
ก. ไม่มีจุดอ่อนเลย
ข. ถูกสาปไม่ให้ตาย
ค. หนุมานไม่ใช่มนุษย์จึงตายยาก
ง. เมื่อลมพัดมาก็จะฟื้ นเพราะหนุมานเป็นลูกพระพลาย
๑๐. ไมยราพถอดกล่องดวงใจไว้ที่ใด
ก. ยอดเขาตรีกูฏ
ข. ยอดเขาหิมพาน
ค. ยอดเขาตรีชฎา
ง. ยอดเขาพระสุเมรุ
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

๑ข๒ง๓ก๔ข๕ง๖ข๗ก๘ค๙ง๑๐ก

แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน

คำชี้แจง : พิจารณาใส่คะแนน (๕, ๔, ๓, ๒, ๑) ลงในช่องว่างให้ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน


เกณฑ์การให้คะแนน ๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๑๐ คะแนน)
ชื่อ – สกุล รายการสังเกต
เลขที่

เกณฑ์การประเมิน
ตอบคำถามและแสดงเหตุผล
มีความสนใจในเรื่องที่เรียน
สนใจร่วมกิจกรรม

กล้าแสดงออก
๕ ๕ ๕ ๕ ๒๐ ผ่าน ไม่ผ่าน









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน


เกณฑ์การประเมินสำหรับประเมินผลงานของผู้เรียน
( Rubric Assessment)
ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน
๕ - ๔ = ดีมาก ๓ - ๒ = พอใช้ ๑ - ๐ = ปรับปรุง
๑. สนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม กระตือรือร้นสนใจร่วม ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
กิจกรรม กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน กิจกรรม รับคำสั่งหรือถูก
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ บังคับ
๒. มีความสนใจใน มีความกระตือรือร้นปฏิบัติ สนใจศึกษาค้นคว้าหา ปฏิบัติตนในเรื่องที่
เรื่องที่เรียน ในเรื่องที่เรียน สนใจ ข้อมูลด้วยตนเองและนำ เรียน ศึกษาค้นคว้า
ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลนำ ไปปฏิบัติ เมื่อได้รับคำสั่ง
ไปปฏิบัติพร้อมทั้งชักชวน
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม
๓. กล้าแสดงออก มีความกระตือรือร้น กล้า มีความกระตือรือร้น ร่วมกิจกรรมเมื่อได้
แสดงออกในการร่วม กล้าแสดงออกในการ รับคำสั่งหรือถูก
กิจกรรม พร้อมทั้งชักชวน ร่วมกิจกรรม บังคับ
ให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้
๔. ตอบคำถามและ ตอบคำถามและแสดง ตอบคำถามและแสดง ตอบคำถามได้ต่อ
แสดงเหตุผล เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ เหตุผลได้ต่อเนื่องครบ เนื่องครบถ้วน
ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่ ถ้วน สัมพันธ์กับหัวข้อที่ สัมพันธ์กับหัวข้อที่
กำหนด และตอบคำถามได้ กำหนด กำหนดแต่ยังไม่
ถูกต้อง สามารถแสดง
เหตุผลประกอบได้
๕. มีความสามัคคี กระตือรือร้นศึกษา ค้นคว้า ศึกษา ค้นคว้าทำงานตาม ศึกษา ค้นคว้า
ทำงานด้วยความชื่นชอบ ที่ผู้อื่นบอกหรือทำตาม ทำงานเมื่อได้รับคำ
สนุก สนาน และสามารถ คำชักชวนของเพื่อน สั่งหรือถูกบังคับ
ชักชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม

แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน

เกณฑ์การให้คะแนน ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง


๒ = พอใช้ ๑ – ๐ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๓ คะแนน)
ข้อ รายการประเมิน คะแนน สรุป หมายเหตุ
ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน
๑ อ่านได้ชัดเจนถูกต้องตามอักขรวิธี
๒ คล่องแคล่วไม่ตะกุกตะกัก
๓ แบ่งวรรคตอนถูกต้อง
๔ ใช้น้ำเสียงเหมาะสม มีจังหวะ มีการเน้น
เสียงหนักเบา ไม่อ่านยานคาง
๕ ใช้น้ำเสียงในการอ่านเหมือนเสียงพูดของ
ตัวละคร
รวมคะแนน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน

แบบสังเกตพฤติกรรมการเขียน

เกณฑ์การให้คะแนน ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง


๒ = พอใช้ ๑ – ๐ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (ไม่น้อยกว่า ๓ คะแนน)
ข้อ รายการประเมิน คะแนน สรุป หมายเหตุ
ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน
๑ มีความตั้งใจในการเขียน
๒ เขียนได้ถูกต้อง
๓ เขียนได้สวยงาม สะอาด
๔ เว้นวรรคตอนถูกต้อง
๕ สะกดคำถูกต้อง

รวมคะแนน

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ................................................................................ ผู้ประเมิน

You might also like