You are on page 1of 71

แผนการจ ัดการเรียนรูภ

้ าษาไทย
ภาคเรียนที่ ๒
ั้ ัธยมศก
ชนม ึ ษาปี ที่ ๒
หน่วยที่ ๕ โคลงสุภาษิต

โดย
.................................................
ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ/พิเศษ
โรงเรียน.........................................
ั ัด…
อำเภอ......................จ ังหว ัด............สงก
………………………………………

แผนผ ังความคิดการบูรณาการการ
เรียนรูภ
้ ายในกลุม
่ สาระ
แผนผ ังความคิดการบูรณาการ
นอกกลุม่ สาระ การเรียนรู ้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕.๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๕ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง ฟังคิดพินิจเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดู อย่ างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด


ความรู้ สึกในโอกาสต่ างๆ อย่ างมีวจิ ารณญาณและสร้ างสรรค์

ตัวชี้วดั
ท ๓.๑ ม.๒/๑ พูดสรุ ปใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟังและดู
ท ๓.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์ขอ้ เท็จจริ ง ข้อคิดเห็นและความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ
ท ๓.๑ ม.๒/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิน่


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๓.๑ ม.๒/๑ การพูดสรุป ฝึ กพูดสรุปความ - มีมารยาทใน
พูดสรุปใจความ ความ การพูด
สำคัญของเรื่องที่ - มีมารยาทใน
ฟั งและดู การฟั ง
การดู
ท ๓.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์ข้อ - ฝึ กพูดวิเคราะห์ - มีมารยาทใน
วิเคราะห์ข้อเท็จ เท็จจริงและ ข้อเท็จจริงและ การพูด
จริง ข้อคิดเห็น ข้อคิดเห็น ข้อคิดเห็น
และความน่าเชื่อ
ถือของข่าวสาร
จากสื่อต่างๆ
ท ๓.๑ ม.๒/๖ มี หลักการฟั ง ฝึ กพูด ฟั ง และดู -มีมารยาทใน
มารยาทในการฟั ง การดู การพูด
การดู และการพูด และการพูด การฟั งและการ
ดู

สาระสำคัญ
การฟังเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ หมายถึง การฟังสารด้วยความเอาใจใส่ พิจารณาไตร่ ตรอง แยกแยะสาร
ออกเป็ นส่ วน ๆ อย่างถี่ถว้ น เพื่อให้เข้าใจเรื่ องในหลายแง่หลายมุมโดยแยกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นออก
จากกันแล้วติ – ชม หรื อประเมินค่าสิ่ งที่ได้ฟังนั้น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

สาระการเรียนรู้
การฟังเรื่ องโคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู แจ้งตัวชี้วดั และนักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนการเรี ยนรู ้
๒. ครู อา่ นตัวอย่างโคลงสุ ภาษิตอื่นๆ มาให้นกั เรี ยนรู ้จกั และสนทนากับนักเรี ยนเรื่ อง “โคลง
สุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” ว่ากล่าวถึงเรื่ องอะไร มีประวัติและ
ความเป็ นมาอย่างไร การอ่านโคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ควรอ่านอย่างไรจึงจะเข้าใจลึกซึ้ ง
๔. ให้นกั เรี ยนคนใดคนหนึ่งหรื อหลายคน อ่านเรื่ อง “โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” ให้เพื่อน ๆ ฟังหรื อครู เปิ ดเครื่ องบันทึกเสี ยง เรื่ อง “โคลงสุ ภาษิต พระ
ราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” ให้นกั เรี ยนฟัง
๕. ครู น ำแผนภูมิความหมายของศัพท์ และถ้อยคำสำนวนจากเรื่ อง “โคลงสุ ภาษิต พระราช
นิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” มาติดบนกระดานดำ ให้นกั เรี ยนศึกษาความหมายของ
คำศัพท์
๖. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น ๕ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเรื่ องต่อไปนี้
กลุ่ม ๑ จับประเด็นสำคัญของเรื่ อง
กลุ่ม ๒ บอกจุดประสงค์ของเรื่ อง
กลุ่ม ๓ จัดลำดับเหตุการณ์ของเรื่ อง
กลุ่ม ๔ สรุ ปเนื้อเรื่ อง
กลุ่มที่ ๕ ประวัติผแู้ ต่ง
๗. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนมารายงานหน้าชั้น พร้อมส่ งเอกสารที่ครู เพื่อเก็บไว้ใน
แฟ้ มสะสมงาน
๘. นักเรี ยนช่วยกันซักถามเรื่ องราวทั้งหมดจากกลุ่มต่าง ๆ เพื่อเป็ นการสรุ ปบทเรี ยน
๙. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้
๑๐. มอบหมายให้นกั เรี ยนไปอ่านหนังสื อเพิ่มเติมเป็ นการบ้าน

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้


รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา
ลำดับที่
๑ แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน ครู จดั ทำ
๒ แผนภูมิความหมายของคำ นักเรี ยนศึกษาและอ่าน ครู จดั ทำ
ศัพท์และสำนวนจากเรื่ อง
๓ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๔ เครื่ องบันทึกเสี ยง นักเรี ยนฝึ กการฟัง ครู จดั ทำ

๕ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ


พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


กิจกรรม-พฤติกรรมที่ การประเมิน
ประเมิน
๑. นักเรี ยนทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
ก่อนเรี ยน
๒. นักเรี ยนนำเสนอหน้าชั้น แบบประเมินรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
เรี ยน สังเกตรายกลุ่ม
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน ตรวจงานรายกลุ่ม

กิจกรรมเสนอแนะ
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชัว่ โมง ครู ตอ้ งกวดขันให้นกั เรี ยนใช้ตวั เลขไทย เพื่อให้เกิด
ความเคยชินและติดเป็ นนิสยั อีกทั้งให้มีความภูมิใจในการใช้ตวั เลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................
บัตรกิจกรรมการเรียนรู้

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. นักเรียนคิดว่าสิ่งใดที่สำคัญที่สุดในเรื่อง“โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า


เจ้ าอยู่หัว ”
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๒. นักเรียนคิดว่า“โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ”มีกลวิธีการ
เขียนอย่ างไรบ้ าง
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๓. นักเรียนคิดว่าเมื่ออ่านเรื่อง “โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
”แล้ วให้ ประโยชน์ อย่างไรบ้ าง
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
๔. นักเรียนคิดว่า เรื่อง “โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ” ให้ ข้อคิด
อย่ างไร
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………
………………………………………..……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..………………………………

แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้ าข้ อความที่นักเรียนคิดว่ าถูกต้ อง และ เขียนเครื่องหมายผิด


หน้ าข้ อที่นักเรียนคิดว่าผิด
..............๑ ผูท้ ี่ประสบความสำเร็จมักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต
แนวทางต่าง ๆ เป็ นข้อคิดที่นกั ปราชญ์แต่โบราณได้รวบรวมไว้ ดังปรากฏในโคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
.............. ๒ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็ นสุ ภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนักแปลและประพันธ์เป็ น
โคลงภาษาไทย
...............๓ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็ นโคลงสี่ สุภาพ ซึ่ งมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง ๑๖ บท และบท
สรุ ป ๑ บท บอกจำนวนสุ ภาษิต ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็ น ๔๘ ข้อ
...............๔ ในพระราชนิพนธ์น้ ี “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนสิ่ งที่ควรแสวงหาหรื อควรละเว้น ซึ่ งใน
โคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ ง
...............๕ สามสิ่ งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุ ภาพ และความรักใคร่ สามสิ่ งควรชม ได้แก่
อำนาจ เกียรติยศ และ มีมารยาทดี
...............๖ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง 4 บท และบทสรุ ป ๑ บท
.............. ๗ ชื่อว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง “กิจ ๑๐ ประการที่ผปู ้ ระพฤติยงั ไม่เคยเสี ยใจ”
...............๘ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ เป็ นข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจีกรรม (การพูด)
และกายกรรม (การกระทำ) ซึ่ งครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็ นเกราะป้ องกันผูป้ ระพฤติมิให้ตอ้ งเสี ยใจ
เพราะสิ่ งที่ตนคิด พูด และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔ เรื่ อง
และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุ ภาษิตประกอบนิทาทนร่ วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุ ภาษิตดังกล่าวรวมเรี ยก
ว่า โคลงสุ ภาษิตอิศปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรื อ อีสป (Aesop) เป็ นชื่อนักโทษชาวกรี ก เล่ากันว่า อีสปเป็ นทาสผูม้ ีร่างกายพิกล
พิการ แต่ชาญฉลาด มักยกนิทานขึ้นมาเล่าเพื่อเปรี ยบเปรย หรื อเตือนสติให้ผอู ้ ื่นได้คิด

เฉลยทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้ าข้ อความที่นักเรียนคิดว่ าถูกต้ อง และ เขียนเครื่องหมายผิด


หน้ าข้ อที่นักเรียนคิดว่าผิด
...............๑ ผูท้ ี่ประสบความสำเร็ จมักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต
แนวทางต่าง ๆ เป็ นข้อคิดที่นกั ปราชญ์แต่โบราณได้รวบรวมไว้ ดังปรากฏในโคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
............... ๒ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็ นสุ ภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนักแปลและประพันธ์เป็ น
โคลงภาษาไทย
...............๓ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็ นโคลงสี่ สุภาพ ซึ่ งมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง ๑๖ บท และ
บทสรุ ป ๑ บท บอกจำนวนสุ ภาษิต ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็ น ๔๘ ข้อ
...............๔ ในพระราชนิพนธ์น้ ี “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนสิ่ งที่ควรแสวงหาหรื อควรละเว้น ซึ่ งใน
โคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ ง
...............๕ สามสิ่ งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุ ภาพ และความรักใคร่ สามสิ่ งควรชม ได้แก่
อำนาจ เกียรติยศ และ มีมารยาทดี
...............๖ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง 4 บท และบทสรุ ป ๑ บท
............... ๗ ชื่อว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง “กิจ ๑๐ ประการที่ผปู ้ ระพฤติยงั ไม่เคยเสี ยใจ”
...............๘ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ เป็ นข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจีกรรม (การ
พูด) และกายกรรม (การกระทำ) ซึ่ งครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็ นเกราะป้ องกันผูป้ ระพฤติมิให้ตอ้ ง
เสี ยใจเพราะสิ่ งที่ตนคิด พูด และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔
เรื่ อง และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุ ภาษิตประกอบนิทาทนร่ วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุ ภาษิตดังกล่าวรวม
เรี ยกว่า โคลงสุ ภาษิตอิศปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรื อ อีสป (Aesop) เป็ นชื่อนักโทษชาวกรี ก เล่ากันว่า อีสปเป็ นทาสผูม้ ีร่างกายพิกล
พิการ แต่ชาญฉลาด มักยกนิทานขึ้นมาเล่าเพื่อเปรี ยบเปรย หรื อเตือนสติให้ผอู ้ ื่นได้คิด
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕.๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๕ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง อ่ านคิดวิเคราะห์ เรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้
ปัญหาในการดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดู อย่ างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้ สึกในโอกาสต่ างๆ อย่ างมีวจิ ารณญาณและสร้ างสรรค์

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคัญ สรุ ปความและอธิ บายรายละเอียด จากเรื่ องที่อ่าน
ท ๑.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน
ท ๓.๑ ม.๒/๕ พูดรายงานเรื่ อง หรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิน่


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๒ - หลักการอ่าน - ฝึ กทักษะการอ่าน - อ่านจับใจ
จับใจความสำคัญ จับใจความ จับใจความและ ความและสรุป
สรุปความและ และ สรุปความ ความได้ถูกต้อง
อธิบายราย สรุปความ
ละเอียด จากเรื่อง
ที่อ่าน
ท ๑.๑ ม.๒/๘ มี - หลักการอ่าน - ฝึ กอ่านทั้งร้อย - มีมารยาทใน
มารยาทในการ แก้ว การอ่าน
อ่าน และร้อยกรอง
ท ๓.๑ ม.๒/๕ หลักการพูด ฝึ กพูดรายงานจาก -มีมารยาทใน
พูดรายงานเรื่อง รายงาน การค้นคว้า การพูด
หรือประเด็นที่
ศึกษาค้นคว้า
สาระสำคัญ
การอ่านวิเคราะห์เนื้ อหาจากบทเรี ยน เป็ นการเพื่อจับใจความสำคัญแล้วแสดงความคิดเห็นเชิง
วิเคราะห์และประเมินค่า เป็ นพื้นฐานที่จ ำเป็ นในการศึกษาหาความรู ้ จึงควรฝึ กฝนให้เกิดความชำนาญ จน
สามารถวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น ในงานเขียนทุกประเภทได้

สาระการเรียนรู้
การอ่า นบทวิเ คราะห์จ ากบทเรี ย นเรื่ อ ง “โคลงสุ ภ าษิต พระราชนิพ นธ์พ ระบาทสมเด็จ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” แล้วแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์และประเมินค่า

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู และนักเรี ยนสนทนาทบทวนบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา
๒. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม ๖ กลุ่ม (สมาชิกตามความเหมาะสม) แล้วให้แต่ละกลุ่ม
อ่านบทวิเคราะห์ ดังนี้
กลุ่มที่ ๑ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
กลุ่มที่ ๒ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ
กลุ่มที่ ๓ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “ราชสี ห์กบั หนู”
กลุ่มที่ ๔ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “บิดากับบุตรทั้งหลาย”
กลุ่มที่ ๕ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “สุ นขั ป่ ากับลูกแกะ”
กลุ่มที่ ๖ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “กระต่ายกับเต่า”
แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์จากเรื่ อง “โคลง
สุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ”
๓. ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง โดยใช้วธิ ี จบั ฉลาก เมื่อ
เสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้ทุกกลุ่มส่ งรายงานที่ครู
๔. นำสิ่ งที่เหมือนกัน และแตกต่างกัน ของแต่ละกลุ่มมาแสดงให้นกั เรี ยนเห็นถึงความ
หลากหลายของความคิด ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั เหตุผล
๕. ให้นกั เรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้เรื่ อง “โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” เสร็จแล้วส่ งให้ครู ตรวจ
๖. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน
๗. มอบหมายให้นกั เรี ยนไปทำแบบฝึ กหัดเป็ นการบ้านและอ่านหนังสื อเพิ่มเติมเป็ นการบ้าน

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้

ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา


๑ บัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๒ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๓ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตรวจสอบ ครู จดั ทำ

๔ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ


พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล

กิจกรรม-พฤติกรรมที่ เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรี ยนทำกิจกรรมกลุ่ม
แบบประเมินรายกลุ่ม สังเกตรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
๒. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรี ยนรู ้ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน ตรวจงานรายกลุ่ม

กิจกรรมเสนอแนะ
................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................
บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑

ให้ นักเรียนพิจารณาโคลงสุ ภาษิตต่ อไปนี้ แล้ วตอบคำถาม

โคลงที่ประทับใจ
เพราะทำความดีทวั่ ไป
ทำดีไป่ เลือกเว้น ผูใ้ ด ใดเฮย
แต่ผกู ไมตรี ไป รอบข้าง
ทำคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศตั รู ปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริ ญ

๑.๑ ประทับใจเพราะเหตุใด จงบอกเหตุผล


……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๑.๒ บอกสำนวน สุ ภาษิต หรื อคำพังเพย ที่มีความหมายสัมพันธ์กบั โคลงที่ประทับใจ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๑.๓ ถอดคำประพันธ์ และเรี ยบเรี ยงถ้อยคำสำนวนให้สละสลวยด้วยสำนวนของนักเรี ยนเอง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ ๒

ความรู้ คู่เปรียบด้ วย กำลัง กายแฮ


สุ จริตคือเกราะบัง ศาสตร์ พ้อง
ปัญญาประดุจดัง อาวุธ
กุมสติต่างโล่ป้อง อาจแกล้ วกลางสนาม

๑. ให้นกั เรี ยนถอดคำประพันธ์มาพอเข้าใจ


……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
๒. นักเรี ยนคิดว่าบทประพันธ์ขา้ งต้นนี้ บรรยายเกี่ยวกับอะไรบ้าง และสิ่ งที่บรรยาย
ให้ขอ้ คิดคติเตือนใจอย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑

ให้ นักเรียนพิจารณาโคลงสุ ภาษิตต่ อไปนี้ แล้ วตอบคำถาม

โคลงที่ประทับใจ
เพราะทำความดีทวั่ ไป
ทำดีไป่ เลือกเว้น ผูใ้ ด ใดเฮย
แต่ผกู ไมตรี ไป รอบข้าง
ทำคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศตั รู ปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริ ญ

๑.๑ ประทับใจเพราะเหตุใด จงบอกเหตุผล


“การทำความดี” คำสั้นๆ แต่มีความหมายกว้างครอบคลุมทั้ง กาย วาจา ใจ ใครที่สามารถ
ประพฤติปฏิบตั ิได้ชีวิตจะมีแต่ความสุ ขความเจริ ญ มีแต่คนรักใคร่
๑.๒ บอกสำนวน สุ ภาษิต หรื อคำพังเพย ที่มีความหมายสัมพันธ์กบั โคลงที่ประทับใจ
ทำดีได้ดี ทำชัว่ ได้ชวั่ .........................................................................................................................
๑.๓ ถอดคำประพันธ์ และเรี ยบเรี ยงถ้อยคำสำนวนให้สละสลวยด้วยสำนวนของนักเรี ยนเอง
การทำความดี ควรทำกับบุคคลทัว่ ไปเสมอกัน รู ้จกั ผูกไมตรี กบั คนรอบข้าง ทำแต่สิ่งที่ถูกต้องตาม
หลักคุณธรรม ก็จะมีแต่ผแู้ ซ่ซอ้ งสรรเสริ ญ ไม่มีศตั รู ปองร้าย……………………………………………….
(เฉลยตามความคิดเห็นของนักเรี ยน และอยูใ่ นดุลยพินิจของครู ผสู ้ อน) ..........................................................

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ ๒
๑. ให้นกั เรี ยนถอดคำประพันธ์มาพอเข้าใจ
(อยูใ่ นดุลพินิจของครู )
๒. นักเรี ยนคิดว่าบทประพันธ์ขา้ งต้นนี้ บรรยายเกี่ยวกับอะไรบ้าง และสิ่ งที่บรรยายให้ขอ้ คิดคติเตือนใจ
อย่างไรบ้าง
(อยูใ่ นดุลพินิจของครู )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕.๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๕ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง อ่ านคิดวิเคราะห์ เรื่องราว เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหา
ในการดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้ กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรียงความ ย่ อความ และเขียนเรื่องราวในรู ปแบบ
ต่ างๆ เขียนรายงานข้ อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้ นคว้ าอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ ่านอย่าง
มีเหตุผล
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้ค ำราชาศัพท์

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิ่น


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบท - หลักการอ่านออก - ฝึ กทักษะการอ่านออก -มีมารยาทในการอ่าน
ร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูก เสี ยงร้อยแก้วและ เสี ยงร้อยแก้วและร้อย -อ่านได้ถูกต้องชัดเจน
ต้อง ร้อยกรอง กรอง ตามหลักการอ่าน

ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียน - หลักการ - ฝึ กเขียน - เขียนถูกต้อง


วิเคราะห์ วิจารณ์และ เขียน วิเคราะห์ สวยงาม
แสดงความรู้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง - มีมารยาทใน
เห็นหรือโต้แย้ง วิจารณ์ ความคิดเห็น การเขียน
ในเรื่องที่อ่านอย่างมี และแสดง หรือ
เหตุผล ความคิดเห็น โต้แย้ง
หรือโต้แย้ง
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้คำ การใช้คำ ฝึ กใช้คำ - ใช้คำ
ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ได้ถูก
ต้องเหมาะสม
ตามระดับของ
บุคคล

สาระสำคัญ
การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็ นพื้นฐานที่จ ำเป็ นในการศึกษาหาความรู ้ จึงควรฝึ กฝนให้เกิด
ความชำนาญจนสามารถจับใจความสำคัญในงานเขียนทุกประเภท

สาระการเรียนรู้
การอ่า นบทวิเ คราะห์จ ากบทเรี ย นเรื่ อ ง “โคลงสุ ภ าษิต พระราชนิพ นธ์พ ระบาทสมเด็จ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์และประเมินค่า

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู และนักเรี ยนสนทนาทบทวนบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมาโดยการถามความหมายจาก
บัตรคำ
๒. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม ๖ กลุ่ม (สมาชิกของกลุ่มตามความเหมาะสม) แล้วให้แต่ละ
กลุ่มอ่านในใจ ดังนี้
กลุ่มที่ ๑ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
กลุ่มที่ ๒ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ
กลุ่มที่ ๓ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “ราชสี ห์กบั หนู”
กลุ่มที่ ๔ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “บิดากับบุตรทั้งหลาย”
กลุ่มที่ ๕ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “สุ นขั ป่ ากับลูกแกะ”
กลุ่มที่ ๖ โคลงสุ ภาษิตอีศปปกรณำ เรื่ อง “กระต่ายกับเต่า”
แล้วให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่ อง “โคลงสุ ภาษิต พระราช
นิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ”
๓. ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้เพื่อนฟัง โดยใช้วธิ ี จบั ฉลาก เมื่อ
เสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้ทุกกลุ่มส่ งรายงานที่ครู
๔. นำสิ่ งที่เหมือนกัน และแตกต่างกัน ของแต่ละกลุ่มมาแสดงให้นกั เรี ยนเห็นถึงความ
หลากหลายของความคิด ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั เหตุผล
๕. ให้นกั เรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เสร็ จแล้วส่ งให้ครู ตรวจ
๖. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน
๘. มอบหมายให้นกั เรี ยนไปอ่านหนังสื อหรื อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เรื่ องโคลงสุ ภาษิต พระราช
นิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็ นการบ้าน

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้


ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา
๑ บัตรคำ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๒ บัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๓ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๔ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตรวจสอบ ครู จดั ทำ
๕ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ
พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล

กิจกรรม-พฤติกรรมที่ เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรี ยนนำเสนอ แบบประเมินรายกลุ่ม สังเกตรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
๒. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรี ยนรู ้ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ตรวจงานรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................
บัตรกิจกรรมการเรียนรู้

ให้นกั เรี ยนเปรี ยบเทียบความหมายของโคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ กับสุ ภาษิตและสำนวนที่ก ำหนดโดย


เขียนโคลงให้สมั พันธ์กบั สุ ภาษิต สำนวนที่ให้มา

๑. หูเบา
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………… ๒. ทำดีได้ดี
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………

๓. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตำลึงทอง


…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
……………
๔. ให้ท่านท่านจักให้ตอบสนอง
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
……………
๕. กระต่ายตื่นตูม
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
……………

เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้

ให้นกั เรี ยนเปรี ยบเทียบความหมายของโคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ กับสุ ภาษิตและสำนวนที่ก ำหนดโดย


เขียนโคลงให้สมั พันธ์กบั สุ ภาษิต สำนวนที่ให้มา
๑. หูเบา
เพราะถามฟังความก่อนตัดสิ น
ยินคดีมีเรื่ องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน
ฟังตอบขอบคำไข คิดใคร่ ครวญ
นา
๒. ทำดีได้ดี
ห่อนตัดสิ นห้วนห้วน เหตุดว้ ยเบา
เพราะความดีทวั่ ไป
ความ ทำดีไป่ เลือกเว้น ผูใ้ ด ใดเฮย
แต่ผกู ไมตรี ไป รอบข้าง
ทำคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรม
นา
ไร้ศตั รู ปองมล้าง กลับซ้อง
สรรเสริ ญ

๓. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตำลึงทอง


เพราะอดพูดในเวลาโกรธ
สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ปางเมื่อยังโกรธ ขุ่นแค้น
หยุดคิดพิจารณา แพ้ชนะ ก่อน
นา
ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ย้งั เสี ยความ

๔. ให้ท่านท่านจักให้ตอบสนอง
เพราะได้กรุ ณาต่อคนที่ถึงอับจน
กรุ ณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบตั ิ
เฮย
ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน ๕. กระต่ายตื่นตูม
เพราะไม่หลงเชื่อว่าร้าย
ผลจักเพิ่มพูนใน อนาคต กาล
อีกหนึ่งไป่ เชื่อถ้อย คำคน ถือแฮ
แฮ บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื่ องร้าย
ชนจักชูชื่อช้อน ป่ าง เบื้อง สื บสวนประกอบจน แจ่มเท็จ จริ ง
ปั จจุบนั นา
ยังบ่ด่วนยักย้าย ตื่นเต้นก่อน
กาล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑.๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๕ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง อ่ านคล่องเขียนถูก เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหา
ในการดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้ กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรียงความ ย่ อความ และเขียนเรื่องราวในรู ปแบบ
ต่ างๆ เขียนรายงานข้ อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้ นคว้ าอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู ้ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ ่านอย่าง
มีเหตุผล
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้ค ำราชาศัพท์

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิ่น


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบท - หลักการอ่านออก - ฝึ กทักษะการอ่านออก -มีมารยาทในการอ่าน
ร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูก เสี ยงร้อยแก้วและ เสี ยงร้อยแก้วและร้อย -อ่านได้ถูกต้องชัดเจน
ต้อง ร้อยกรอง กรอง ตามหลักการอ่าน

ท ๒.๑ ม.๒/๗ เขียน - หลักการ - ฝึ กเขียน - เขียนถูกต้อง


วิเคราะห์ วิจารณ์และ เขียน วิเคราะห์ สวยงาม
แสดงความรู้ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง - มีมารยาทใน
เห็นหรือโต้แย้ง วิจารณ์ ความคิดเห็น การเขียน
ในเรื่องที่อ่านอย่างมี และแสดง หรือ
เหตุผล ความคิดเห็น โต้แย้ง
หรือโต้แย้ง
ท ๔.๑ ม.๒/๔ ใช้คำ การใช้คำ ฝึ กใช้คำ - ใช้คำ
ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ ราชาศัพท์ได้ถูก
ต้องเหมาะสม
ตามระดับของ
บุคคล

สาระสำคัญ
การเรี ยนรู้ค ำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาไทยในบทเรี ยนและนำไปใช้ให้ถูกต้อง ถือเป็ นการ
พัฒนาทักษะทางภาษาที่ผเู้ รี ยนควรได้รับการฝึ กฝน เพื่อพัฒนาทักษะให้ถูกต้อง จึงจะทำให้การเรี ยนรู ้ภาษา
เป็ นไปด้วยดีและเกิดการพัฒนาตามมา

สาระการเรียนรู้
๑. อ่าน และเขียนคำ คำยาก ข้อความ และสำนวนในบทเรี ยน
๒. การนำคำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาในบทเรี ยนไปใช้ให้เกิดประโยชน์
กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนเล่มเกม “การเลือกใช้ค ำแต่งประโยค” (ยืดหยุน่ ได้ตามความเหมาะสม)
๒. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มตามความสมัครใจ (ตามความเหมาะสม)
๓. นำบัตรคำใหม่และคำยากในบทเรี ยน ติดที่กระเป๋ าผนังและให้นกั เรี ยนทุกคนฝึ กอ่าน
ร่ วมกันอภิปรายความหมายบันทึกลงสมุด
๔. แจกบัตรคำใหม่ค ำยากในบทเรี ยนให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มได้ศึกษาและฝึ กอ่าน
๕. นักเรี ยนทุกกลุ่มหาคำใหม่ศพั ท์จากหน่วยที่ ๕ แล้วช่วยกันแต่งประโยคใหม่ โดยไม่ให้
ซ้ำกัน กลุ่มละ ๕ คำ แล้วบันทึกลงสมุด แล้วส่ งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
๖. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจผลงานของแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งอภิปรายสรุ ปการเลือกใช้
คำให้ถูกต้องตามความหมาย ปรบมือและกล่าวให้ค ำชมเชยกลุ่ม ที่แต่งประโยค ได้ถูกต้อง
๗. นักเรี ยนแข่งขันกันเขียนคำ กลุ่มคำ สำนวนภาษา บนกระดานดำกลุ่มใดเขียนได้มาก
เขียนถูกต้อง เป็ นฝ่ ายชนะ
๘. มอบหมายให้นกั เรี ยนทำกิจกรรมนอกเวลา โดยการรวบรวมคำใหม่ในบทเรี ยนแล้ว
หาความหมายจากพจนานุกรม แล้วแต่งประโยคแล้วนำผลงานส่ งให้ครู ตรวจ
๙. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน จากการแข่งขันกันเขียนคำ และกลุ่มคำ
บนกระดานดำ โดยให้นกั เรี ยนตอบคำถาม ดังนี้
- นักเรี ยนรู้ไหมว่าคำเหล่านี้เป็ นคำชนิดใด
- คำเหล่านี้ท ำหน้าที่ในประโยคอะไรได้บา้ ง
- คำเหล่านี้สามารถนำไปใช้แต่งประโยคได้อย่างไรบ้าง
- นักเรี ยนคิดว่าจะนำคำเหล่านี้ไปใช้เป็ นประโยชน์ทางภาษาได้อย่างไรหรื อไม่ ฯลฯ
๑๐. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้

ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา


๑ บัตรคำ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๒ บัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๓ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๔ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตรวจสอบ ครู จดั ทำ
๕ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ
พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล
กิจกรรม-พฤติกรรมที่ เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน
ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรี ยนนำเสนอ แบบประเมินรายกลุ่ม สังเกตรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
๒. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรี ยนรู ้ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ตรวจงานรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้

๑. ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้สมบูรณ์พร้อมแสดงเหตุผล

อกตัญญู ชัว่ เลวทราม หน้าเนื้อใจเสื อ


ฤษยา ความหยิง่ กำเริ บ เกียจคร้าน
พลันรักพลันจืด ความดุร้าย วาจาฟั่นเฝื อ
๑. Three Things to Hate
หยอกหยาบแลแสลงฤาข้
อคอ มารยา๒. ยอ Things to Despise
……………………………… Three
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
……………………………… ………………………………
………………………………
๓. ๔.

Three Things to Suspect Three Things to Avoid


…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
…………………………… ………………………………
……………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้
……………………………………
๑. ให้ นักเรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้เติม……………..
ลงในช่องว่างให้สมบูรณ์พร้อมแสดง
เหตุผล

อกตัญญู ชัว่ เลวทราม หน้าเนื้อใจเสื อ


ฤษยา ความหยิง่ กำเริ บ เกียจคร้าน
พลันรักพลันจืด ความดุร้าย วาจาฟั่นเฝื อ
๑. หยอกหยาบแลแสลงฤาข้อคอ มารยา๒. ยอ
Three Things to Despise
Three Things to Hate
๑. ชัว่ เลวทราม
๑. ความดุร้าย
๒. มารยา
๒. ความหยิง่ กำเริ บ
๓. ฤษยา
๓. อกตัญญู
๓. ๔.

Three Things to Suspect Three Things to Avoid


๑. ยอ ๑. เกียจคร้าน
๒. หน้าเนื้อใจเสื อ ๒. วาจาฟั่นเฝื อ
๓. พลันรักพลันจืด ๓. หยอกหยาบแลแสลงฤา
ขัดคอ

ทั้ง ๔ ข้อ เป็ นสิ่ งที่ไม่ควรกระทำ


อย่างยิง่ เพราะเป็ นลักษณะนิสยั ไม่ดี
ก่อให้เกิดผลร้ายทั้งต่อตนเอง และ
คนรอบข้าง ทำให้เป็ นที่น่ารังเกียจ
แผนการ จัดของคนทั
การเรียนรูว่ ้ ทไปี่ ๕.๕
ดังนั้นเราจึงควรหลีก
กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลี่ยงพฤติกรรมดังกล่าว
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๕ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗
ชั่วโมง
เรื่อง อ่ านไพเราะเสนาะทำนอง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหาในการ
ดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้ กระบวนการเขียนสื่ อสาร เขียนเรียงความ ย่ อความ และเขียนเรื่องราวในรู ปแบบ
ต่ างๆ เขียนรายงานการศึกษาค้ นคว้ าอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้ าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่ างเห็นคุณค่ าและ
นำมาประยุกต์ ใช้ ในชีวติ จริง

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่ งบรรทัด
ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่องจำบทอาขยานตามที่ก ำหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ
สนใจ

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิน่
ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออก - หลักการอ่านออก - ฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง -มีมารยาทในการอ่าน
เสี ยงบทร้อยแก้วและบท เสี ยงร้อยแก้วและร้อย ร้อยแก้วและร้อยกรอง -อ่านได้ถูกต้องชัดเจน
ร้อยกรองได้ถูกต้อง กรอง ตามหลักการอ่าน
ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัด - หลักการ - ฝึ กคัดลายมือ - เขียนถูกต้อง
ลายมือตัวบรรจง เขียน ตัวบรรจง ครึ่ง และ
ครึ่งบรรทัด ตัวอักษรไทย บรรทัด สวยงาม
และ
เลขไทย

ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่องจำบท บทอาขยาน ท่องจำบทอาขยาน - ซาบซึ้ ง


อาขยานตามที่ก ำหนด บทร้อยกรอง บทร้อยกรอง - นำความรู ้ที่ได้จาก
และบทร้อยกรองที่มี การอ่านไปประยุกต์ใช้
คุณค่าตามความสนใจ ในชีวิตจริ ง

สาระสำคัญ
การอ่านออกเสี ยงเป็ นการสื่ อสารที่มีความสำคัญ เพราะเป็ นการถ่ายทอดความรู ้ ความคิด ความ
รู ้สึกและอารมณ์ของผูส้ ่ งสารไปผูร้ ับสาร ดังนั้น หากรู ้หลักการอ่านและมีทกั ษะในการอ่านย่อมจะทำให้
การสื่ อสารเกิดสัมฤทธิ์ ผล

สาระการเรียนรู้
การอ่านออกเสี ยงบทเรี ยนเรื่ อง “ โคลงสุ ภาษิต โสฬสไตรยางค์ ” การอ่านทำนองเสนาะ การเล่า
เรื่ อง การย่อเรื่ อง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา จากนั้นครู น ำ
บัตรความรู ้เรื่ อง การอ่านทำนองเสนาะมาแจกนักเรี ยนทุกคน แล้วครู อธิ บายประกอบเพื่อให้
นักเรี ยนเข้าใจได้ดียิง่ ขึ้น ในหัวข้อต่อไปนี้
- ความหมายของการอ่านทำนองเสนาะ
- วัตถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
- รสที่ใช้ในการอ่านทำนองเสนาะ
- หลักการอ่านทำนองเสนาะ
- ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านทำนองเสนาะ
๒. เปิ ดเครื่ องบันทึกเสี ยงการอ่านทำนองเสนาะเรื่ อ ง “โคลงสุ ภาษิต โสฬสไตรยางค์” ให้
นักเรี ยนฟังพร้อมทั้งสังเกตท่วงทำนองการอ่าน แล้วให้ นักเรี ยนทำกิจกรรมการอ่านตามลำดับ ดังนี้
- อ่านออกเสี ยงธรรมดาให้ถูกต้องตามอักขรวิธี พร้อมทั้งแบ่งวรรคตอนให้
ถูกต้อง
- ให้อ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ กัน ตามครู ทีละบท
- ให้อ่านทำนองเสนาะพร้อม ๆ กัน ทั้งชั้น
- แบ่งกลุ่มให้อ่านทำนองเสนาะต่อกันจนจบเรื่ อง
- ให้อ่านทำนองเสนาะเป็ นรายบุคคล
๓. ครู และนักเรี ยนช่วยวิจารณ์การอ่านของแต่ละคนว่าถูกต้อง และมีความไพเราะเพียงใด
๔. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม (จำนวนกลุ่มและสมาชิกกลุ่มตามความเหมาะสม) แล้ว
ให้ท ำกิจกรรมดังหาความหมายของคำจากพจนานุกรม
๕. ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนมาเสนอผลการค้นคว้าหน้าชั้นเรี ยน พร้อมส่ งเอกสาร
ประกอบการรายงาน
๖. ครู ต้ งั คำถามให้นกั เรี ยนช่วยกันตอบคำถามจากเรื่ อง
๗. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้
๘. ครู มอบหมายงานให้นกั เรี ยนไปฝึ กท่องจำคำประพันธ์อ่าน “โคลงสุ ภาษิต โสฬสไตรยางค์”

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้

ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา


๑ เครื่ องบันทึกเสี ยง เพิม่ เติมความชัดเจนในเนื้ อหา ครู จดั เตรี ยม
๒ บัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๓ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๔ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตรวจสอบ ครู จดั ทำ
๕ เครื่ องบันทึกเสี ยงการอ่าน เพิ่มเติมความชัดเจนในเนื้ อหา ครู จดั เตรี ยม
ทำนองเสนาะ
๖ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ
พฤติกรรม
การวัดผลและประเมินผล

กิจกรรม-พฤติกรรมที่ เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรี ยนท่องจำคำ แบบประเมิน สังเกตรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
ประพันธ์
๒. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรี ยนรู ้ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ตรวจงานรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................

บัตรความรู้

๑. ความหมายของ “การอ่านทำนองเสนาะ”
การอ่านทำนองเสนาะคือวิธีการอ่านออกเสี ยงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภท โคลง
ฉันท์ กาพย์ กลอน ( พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หน้า ๓๙๘ )
บางคนให้ความหมายว่า การอ่านทำนองเสนาะคือ การอ่านตามทำนอง ( ทำนอง = ระบบเสี ยงสู ง
ต่ำ ซึ่ งมีจงั หวะสั้นยาว ) เพื่อให้เกิดความเสนาะ ( เสนาะ , น่าฟัง , เพราะ , วังเวงใจ )
๒. วัตถุประสงค์ในการอ่านทำนองเสนาะ
การอ่านทำนองเสนาะเป็ นการอ่านให้คนอื่นฟัง ฉะนั้นทำนองเสนาะต้องอ่านออกเสี ยง เสี ยง
ทำให้เกิดความรู้สึก - ทำให้เห็นความงาม - เห็นความไพเราะ - เห็นภาพพจน์ ผูฟ้ ังสัมผัสด้วยเสี ยงจึง
จะเข้าถึงรสและความงามของบทร้อยกรอง ที่เรี ยกว่าอ่านแล้วฟังพริ้ ง – เพราะเสนาะโสด การอ่านทำนอง
เสนาะจึงมุ่งให้ผฟู้ ังเข้าถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรอง
๓. ทีม่ าของการอ่านทำนองเสนาะ
เข้าใจว่า การอ่านทำนองเสนาะมีมานานแล้วแต่ครั้งกรุ งสุ โขทัย เท่าที่ปรากฎหลักฐานในศิลา
จารึ กพ่อขุนรามคำแหง พุทธศักราช ๑๘๓๕ หลักที่หนึ่ง บรรทัดที่ ๑๘ - ๒๐ ดังความว่า “ ………..
ด้วยเสี ยงพาเสี ยงพิณ เสี ยงเลื้อน เสี ยงขับ ใครจักมักเล่นเล่น ใครจักมักหัว – หัว ใครมักจักเลื้อน เลื้อน
……………..”จากข้อความดังกล่าว ฉันทิชย์ กระแสสิ นธุ์ กล่าวว่า เสี ยงเลื้อนเสี ยงขับ คือ การร้อง
เพลงทำนองเสนาะ
ส่ วน ทองสื บ ศุภะมารค ชี้ แจงว่า “ เลื้อน ” ตรงกับภาษาไทยถิ่นว่า “ เลิน่ ” หมายถึง การอ่าน
หนังสื อเอื้อนเป็ นทำนอง ซึ่ งคล้ายกับที่ประเสริ ฐ ณ นคร อธิ บายว่า เลื้อน เป็ นภาษาถิ่น แปลว่า อ่าน
ทำนองเสนาะ โดยอ้างอิง บรรจบ พันธุเมธา กล่าวว่า คำนี้เป็ นภาษาถิ่นของไทย ในพม่า คือไทยในรัฐ
ฉานหรื อไทยใหญ่นนั่ เอง จากความคิดเห็นของผูร้ ู ้ ประกอบกับหลักฐาน พ่อขุนหลามคำแหงดังกล่าว
ทำให้เชื่อว่า การอ่านทำนองเสนาะของไทยมีมานานหลายร้อยปี แล้ว โดยเรี ยกเป็ นภาษาถิ่นว่า “ เลื้อน ”
ที่มาของต้นเค้าของการอ่านทำนองเสนาะพอจะสันนิษฐานได้วา่ น่าจะมีบ่อเกิดจากการดำเนินวิถี
ชีวิตของคนไทยสมัยก่อนที่มีความเกี่ยวพันกับการร้องเพลงทำนองต่าง ๆ ตลอดมา ทั้งนี้จากเหตุผลที่วา่
คนไทยมีนิสยั ชอบพูดคำคล้องจองให้มีจงั หวะด้วยลักษณะสัมผัสเสมอ ประกอบกับคำภาษาไทยที่มี
วรรณยุกต์ก ำกับจึงทำให้ค ำมีระดับเสี ยงสูงต่ำเหมือนเสี ยงดนตรี เมื่อประดิษฐ์ท ำนองง่าย ๆ ใส่ เข้าไปก็
ทำให้สามารถสร้างบทเพลงร้องขึ้นมาได้แล้ว ดังนั้นคนไทยจึงมีโอกาสได้ฟังและชื่นชมกับการร้องเพลง
ทำนองต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตายทีเดียว
ศิลปะการอ่านทำนองเสนาะจึงขึ้นอยูก่ บั ความสามารถของผูอ้ า่ น และความไพเราะของบท
ประพันธ์แต่ละประเภท โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูอ้ ่านทำนองเสนาะจึงต้องศึกษาวิธีการอ่านให้ไพเราะและต้อง
หมัน่ ฝึ กฝนการอ่านจนเกิดความชำนาญ
อนึ่งศิลปะการอ่านทำนองเสนาะอยูท่ ี่ตวั ผูอ้ ่านต้องรู ้จกั วิธีการอ่ านทอดเสี ยง โดยผ่อนจังหวะให้ชา้
ลง การเอือ้ นเสียง โดยการลากเสี ยงช้า ๆ เพื่อให้เข้าจังหวะและให้หางเสี ยงให้ไพเราะ การครั่นเสี ยง โดย
ทำเสี ยงสะดุดสะเทือนเพื่อความไพเราะเหมาะสมกับบทกวีบางตอน การหลบเสี ยง โดยการหักเหให้พลิก
กลับจากเสี ยงสู งลงมาเป็ นต่ำ หรื อจากเสี ยงต่ำขึ้นไปเป็ นเสี ยงสู ง เนื่องจากผูอ้ ่านไม่สามารถที่จะดำเนิน
ตามทำนองต่อไปได้เป็ นการหลบหนีจากเสี ยงที่เกินความสามารถ จึงต้องหักเหทำนองพลิกกลับเข้ามา
ดำเนินทำนองในเขตเสี ยงของตน และ การกระแทกเสี ยง โดยการอ่านกระชากเสี ยงให้ดงั ผิดปกติในโอกาส
ที่แสดงความโกรธหรื อความไม่พอใจหรื อเมื่อต้องการเน้นเสี ยง
( มนตรี ตราโมท ๒๕๒๗ : ๕๐ )
๔. รสที่ใช้ ในการอ่านทำนองเสนาะ
๔.๑ รสถ้ อย ( คำพูด ) แต่ละคำมีรสในคำของตนเอง ผูอ้ ่านจะต้องอ่านให้เกิดรสถ้อย
ตัวอย่าง
สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
กลิ่นประเทียบเปรี ยบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขม
ผูด้ ีไพร่ ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย
( พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอกรมหลวงบดินทร์ ไพศาลโสภณ )
๔.๒ รสความ (เรื่องราวที่อ่าน) ข้อความที่อ่านมีเรื่ องราวเกี่ยวกับอะไร เช่น โศกเศร้า
สนุกสนาน ตื่น เต้น โกรธ รัก เวลาอ่านต้องอ่านให้มีลีลาไปตามลักษณะของเนื้ อเรื่ องนั้น ๆ
ตัวอย่าง : บทโศกตอนที่นางวันทองไปส่ งพลายงามให้ไปหาย่าทองประศรี ที่สุพรรณบุรี
ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่างพันผูกเพียงว่าเลือดตาไหล
สะอื้นร่ำอำลาด้วยอาลัย แล้วแข็งใจจากนางตามทางมา
เหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้น แม่กเ็ ห็นลูกน้อยละห้อยหา
แต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญาณ์ โอ้เปล่าตาต่างสะอื้นยืนตะลึง
( เสภาขุนช้ างขุนแผน ตอนกำเนิดพลายงาม : สุ นทรภู่ )
ตัวอย่าง : บทสนุกสนาน ในนิราศพระบาท ขณะมีมวยปล้ำ
ละครหยุดอุตลุดด้วยมวยปล้ำ ยืนประจำหมายสู ้เป็ นคู่ขนั
มงคลใส่ สวมหัวไม่กลัวกัน ตั้งประจันจดจับขยับมือ
ตีเข้าปับรับโปกสองมือปิ ด ประจบติดเตะผางหม้อขว้างหวือ
กระหวัดหวิดหวิวผวาเสี ยงฮาฮือ คนดูออ้ เออกันสนัน่ อึง

๔.๓ รสทำนอง ( ระบบสู งต่ำซึ่งมีจงั หวะสั้ นยาว ) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วยทำนอง


ต่าง ๆ เช่น ทำนองโคลง ทำนองฉันท์ ทำนองกาพย์ ทำนองกลอน และทำนองร่ าย เป็ นต้น ผูอ้ ่านจะ
ต้องอ่านให้ถูก ต้องตามทำนองของร้อยกรองนั้น เช่น โคลงสี่ สุภาพ
สัตว์ พวกหนึ่งนี้ ชื่อ พหุบา ทาแฮ
มี อเนกสมญา ยอกย้อน
เท้า เกิดยิง่ จัตวา ควรนับ เขานอ
มาก จวบหมื่นแสนซ้อน สุ ดพ้นประมาณ ฯ
๔.๔ รสคล้องจอง ในบทร้องกรองต้องมีค ำคล้องจองในคำคล้องจองนั้นต้องให้ออกเสี ยงต่อ
เนื่องกัน โดยเน้นเสี ยงสัมผัสนอกเป็ นสำคัญ เช่น

ถึงโรงเหล้าเตากลัน่ ควันโขมง มีคนั โพงผูกสายไว้ปลายเสา


โอ้บาปกรรมน้ำนรกเจียวอกเรา ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย
ทำบุญบวชกรวดน้ำขอสำเร็ จ พระสรรเพชญโพธิญาณประมาณหมาย
ถึงสุ ราพารอดไม่วอดตาม ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป
ไม่เมาหล้าแต่เรายังเมารัก สุ ดจะหักห้ามจิตคิดไฉน
ถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไป แต่มาใจนี้ประจำทุกค่ำคืน
( นิราศภูเขาทอง : สุ นทรภู่ )
๔.๕ รสภาพ เสี ยงทำให้เกิดภาพ ในแต่ละคำจะแฝงไปด้วยภาพ ในการอ่านให้เห็นภาพต้อง
ใช้เสี ยง สู ง – ต่ำ ดัง – ค่อย แล้วแต่จะให้เกิดภาพอย่างไร เช่น
“ มดเอ๋ ยมดแดง เล็กเล็กเรี่ ยวแรงแข็งขยัน ”
“ สุ พรรณหงส์ทรงพูห่ อ้ ย งามชดช้อยลอยหลังสิ นธุ์ ”
“ อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา ”

๕. หลักการอ่านทำนองเสนาะ มีดงั นี้


๕.๑ ก่อนอ่านทำนองเสนาะให้แบ่งคำแบ่งวรรคให้ถูกต้องตามหลักคำประพันธ์เสี ยก่อน โดย
ต้องระวังในเรื่ องความหมายของคำด้วย เพราะคำบางคำอ่านแยกคำกันไม่ได้ เช่น
“ สร้อยคอขนมยุระ ยูงงาม ”
( ขน – มยุระ , ขนม – ยุระ )
“ หวนห่วงม่วงหมอนทอง อีกอกร่ องรสโอชา ”
( อีก – อก – ร่ อง , อี – กอ – กร่ อง )
“ ดุเหว่าจับเต่าร้างร้อง เหมือนจากห้องมาหยารัศมี ”
( เหมือน – มด , เหมือน – มด – อด )
๕.๒ อ่านออกเสี ยงธรรมดาให้คล่องก่อน
๕.๓ อ่านให้ชดั เจน โดยเฉพาะออกเสี ยง ร ล และคำควบกล้ำให้ถูกต้อง เช่น
“ เกิดเป็ นชายชาตรี อย่าขี้ขลาด บรรยากาศปลอดโปร่ งโล่งสมอง
หยิบน้ำปลาตราสับปะรดให้ทดลอง ไหนเล่ าน้องครีมนวดหน้าทาให้ที
เนื้อนั้นมีโปรตีนกินเข้าไว้ คนเคราะห์ ร้ายคลุ้มคลัง่ เรื่องหนังผี
ใช้น ้ำคลองกรองเสี ยก่อนจึงจะดี เห็นมาลีคลีบ่ านหน้าบ้านเอย ”
๕.๔ อ่านให้เอื้อสัมผัส เรี ยกว่า คำแปรเสี ยง เพื่อให้เกิดเสี ยงที่ไพเราะ เช่น
พระสมุทรสุ ดลึกล้น คณนา
( อ่านว่า พระ – สะ – หมุด – สุ ด – ลึก – ล้น คน – นะ – นา )
ข้าขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิสร
( ข้า – ขอ – เคา – รบ – อบ – พิ – วาด ใน – พระ – บาด – บอ – พิด – อะ – ดิด – สอน )
ขอสมหวังตั้งประโยชน์โพธิญาณ
( อ่านว่า ขอ – สม – หวัง – ตั้ง – ประ – โหยด – โพด – พิ – ยาน )
๕.๕ ระวัง ๓ ต อย่าให้ ตกหล่ น อย่าต่ อเติม และอย่าตู่ตวั
๕.๖ อ่านให้ถูกจังหวะ คำประพันธ์แต่ละประเภทจะมีจงั หวะแตกต่างกัน ต้องอ่านให้ถูก
วรรคตอนตามแบบแผนของคำประพันธ์น้ นั ๆ เช่น
มุทิงคนาฉันท์ ( ๒ - ๒ - ๓ )
“ ป๊ ะโท่น / ป๊ ะโทน / ป๊ ะโท่นโทน บุรุษ / สิ โอน / สะเอวไหว
อนงค์ / นำเคลื่อน / เขยื้อนไป สะบัด / สไป / วิไลตา ”
๕.๗ อ่านให้ถูกทำนองของคำประพันธ์น้ นั ๆ ( รสทำนอง )
๕.๘ ผูอ้ ่านต้องใส่ อารมณ์ตามรสความของบทประพันธ์น้ นั ๆ รสรัก โศก ตื่นเต้น ขบขัน
โกรธ แล้วใส่ น ้ำเสี ยงให้สอดคล้องกับรสหรื ออารมณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น
๕.๙ อ่านให้เสี ยงดัง ( พอที่จะได้ยนิ กันทัว่ ถึง ) ไม่ใช่ตะโกน
๕.๑๐ ถ้าเป็ นฉันท์ ต้องอ่านให้ถูกต้องตามบังคับของครุ - ลหุ ของฉันท์น้ นั ๆ
ลหุ คือ ที่ผสมด้วยสระเสี ยงสั้น และไม่มีตวั สะกด เช่น เตะ บุ และ เถอะ ผัวะ
ยกเว้น ก็ บ่อ นอกจาก นี้ ถือเป็ นคำครุ ( คะ – รุ ) ทั้งหมด
ลหุ ให้เครื่ องหมาย ( ุ ) แทนในการเขียน
ครุ ใช้เครื่ องหมาย ( ั ) แทนในการเขียน
ตัวอย่าง : ัวสั นตดิลกฉันท์ ๑๔ มีครุ - ลหุ ดังนี้
ััั
ัั ั ุ ั ุ ุ ุ ั ุ ุ ั ุ ั ั

ั ั ุ ัุ ุ ุ ั ุ ุ ั ุ ั ั
อ้าเพศก็เพศนุชอนงค์ อรองค์กบั อบบาง
( อ่านว่า อ้า – เพด – ก็ – เพด – นุ – ชะ – อะ – นง อะ – ระ – อง – ก้อ – บอบ – บาง )
ควรแต่ผดุงสิ ริสะอาง ศุภลักษณ์ประโลมใจ
( อ่านว่า ควน – แต่ – ผะ – ดุง – สิ – หริ – สะ – อาง สุ – พะ – ลัก – ประ – โลม – ใจ )
๕.๑๑ เวลาอ่านอ่านอย่าให้เสี ยงขาดเป็ นช่วง ๆ ต้องให้เสี ยงติดต่อกันตลอด เช่น
“ วันนั้นจันทร มีดารากร เป็ นบริ วาร เห็นสิ้ นดินฟ้ า ในป่ าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้าน
อรชร ”
๕.๑๒ เวลาจบให้ทอดเสี ยงช้า ๆ
๖. ประโยชน์ ที่ได้รับจากการอ่านทำนองเสนาะ
๖.๑ ช่วยให้ผฟู้ ังเข้าถึงถึงรสและเห็นความงามของบทร้อยกรองที่อ่าน
๖.๒ ช่วยให้ผฟู้ ังได้รับความไพเราะและเกิดความซาบซึ้ ง ( อาการรู ้สึกจับใจ
อย่างลึกซึ้ ง )
๖.๓ ช่วยให้เกิดความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน
๖.๔ ช่วยให้จ ำบทร้อยกรองได้รวดเร็ วและแม่นยำ
๖.๕ ช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้เป็ นคนอ่อนโยนและเยือนเย็น
๖.๖ ช่วยสื บทอดวัฒนธรรม ในการอ่านทำนองเสนาะไว้เป็ นมรดกต่อไป

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑
๑. ให้นกั เรี ยนทำกิจกรรม “นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ ” โดยสรุ ปข้อคิดที่ได้จากนิทานอีสป ดังต่อไปนี้

เทวดากับคนขับเกวียน

ชายผูห้ นึ่งขับเกวียนไปในป่ า ลูกล้อเกวียนตกหล่มลึกควายลากไปไม่ไหว ชายผูน้ ้ นั กลัวจะมืดค่ำ


กลางทาง จึงบนบานขอให้เทวดาช่วย ในขณะนั้นเทวดาที่เป็ นเจ้าป่ าลงมาบอกแก่ชายผูน้ ้ นั ว่า
“จะยืนดูอยูท่ ำไมอีกเล่า จงเอาบ่าแบกลูกล้อเข้า แล้วเฆี่ยนควายให้เดิน ลูกล้อก็จะเคลื่อนที่ข้ ึนจาก
หล่มได้ การที่ร้องโวยวายไปเสี ยก่อน ยังไม่ทนั จะได้ลองกำลังของตนเองให้เต็มฝี มือดังนี้ จะให้ใครเขามี
แก่ใจช่วยเจ้าได้”
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ .........................................................................................................

ลูกปูกบั แม่ ปู

วันหนึ่งเวลาน้ำลงงวด ปูสองตัวแม่ลูกพากันไต่ลงไปหากินตามชายเลน ขณะเมื่อไต่ไปนั้นลูกเดิน


หน้า แม่เดินหลัง ตาแม่จบั อยูท่ ี่ลูก พอไต่ไปได้สกั หน่อย แม่กร็ ้องบอกไปแก่ลูกว่า
“นัน่ ทำไมเจ้าจึงงุ่มง่าม ซัดไปเซมาดังนั้น จะเดินให้ตรงๆ ทางไม่ได้หรื อ จะได้ไปถึงที่หากินเสี ย
เร็ วๆ มัวเดินคดไปคดมาเช่นนี้ น้ำก็จะขึ้นมาเสี ยก่อนเราไปถึงที่”
แม่ปูกเ็ ดินตรงไม่ได้ ด้วยวิสยั ปูยอ่ มเดินคดไปคดมาเป็ นธรรมดา แต่หากแม่ปูไม่รู้สึกตัวเอง
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ .........................................................................................................

คนเลีย้ งแพะกับลูกเสื อ

ชายคนหนึ่งเป็ นพ่อค้าขายแพะ เลี้ยงแพะไว้ที่ริมสถานีรถไฟฝูงหนึ่ง วันหนึ่งชายนั้นเข้าป่ าจะไปตัด


ไม้ไผ่มาทำคอกแพะ ขณะเมื่อเดินไปถึงเชิงเขา ชายผูน้ ้ ันพบลูกเสื อหลงแม่ตวั หนึ่งเดินอยูแ่ ต่ล ำพัง จึงจับ
เอามาเลี้ยงไว้แล้วหัดให้ลูกเสื อเที่ยวขโมยลูกแพะของชาวบ้านที่ใกล้เคียง
ส่ วนลูกเสื อนั้น ถ้าวันไหนขโมยลูกแพะของชาวบ้านได้สองตัว ก็กดั กินเสี ยตัวหนึ่ง เหลือเอาไป
ให้เจ้าของแค่ตวั เดียว ถ้าวันไหนขโมยแพะของคนอื่นไม่ได้ พอตกกลางคืนลงก็ขโมยแพะของเจ้าของกิน
เสี ยทุกวันไป
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ .........................................................................................................
เฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑

๑. ให้นกั เรี ยนทำกิจกรรม “นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ ” โดยสรุ ปข้อคิดที่ได้จากนิทานอีสป ดังต่อไปนี้

เทวดากับคนขับเกวียน
ชายผูห้ นึ่งขับเกวียนไปในป่ า ลูกล้อเกวียนตกหล่มลึกควายลากไปไม่ไหว ชายผูน้ ้ นั กลังจะมืดค่ำ
กลางทาง จึงบนบานขอให้เทวดาช่วย ในขณะนั้นเทวดาที่เป็ นเจ้าป่ าลงมาบอกแก่ชายผูน้ ้ นั ว่า
“จะยืนดูอยูท่ ำไมอีกเล่า จงเอาบ่าแบกลูกล้อเข้า แล้วเฆี่ยนควายให้เดิน ลูกล้อก็จะเคลื่อนที่ข้ ึนจาก
หล่มได้ การที่ร้องโวยวายไปเสี ยก่อน ยังไม่ทนั จะได้ลองกำลังของตนเองให้เต็มฝี มือดังนี้ จะให้ใครเขามี
แก่ใจช่วยเจ้าได้”
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ การหมายพึง่ ตัวเองดีกว่ าพึง่ ผู้อนื่
ลูกปูกบั แม่ ปู
วันหนึ่งเวลาน้ำลงงวด ปูสองตัวแม่ลูกพากันไต่ลงไปหากินตามชายเลน ขณะเมื่อไต่ไปนั้นลูกเดิน
หน้า แม่เดินหลัง ตาแม่จบั อยูท่ ี่ลูก พอไต่ไปได้สกั หน่อย แม่กร็ ้องบอกไปแก่ลูกว่า
“นัน่ ทำไมเจ้าจึงงุ่มง่าม ซัดไปเซมาดังนั้น จะเดินให้ตรงๆ ทางไม่ได้หรื อ จะได้ไปถึงที่หากินเสี ย
เร็ วๆ มัวเดินคดไปคดมาเช่นนี้ น้ำก็จะขึ้นมาเสี ยก่อนเราไปถึงที่”
แม่ปูกเ็ ดินตรงไม่ได้ ด้วยวิสยั ปูยอ่ มเดินคดไปคดมาเป็ นธรรมดา แต่หากแม่ปูไม่รู้สึกตัวเอง
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ การที่จะสั่ งสอนผู้อนื่ ให้ ทำอย่ างใดนั้น เราต้ องทำได้ เองก่ อน

คนเลีย้ งแพะกับลูกเสื อ
ชายคนหนึ่งเป็ นพ่อค้าขายแพะ เลี้ยงแพะไว้ที่ริมสถานีรถไฟฝูงหนึ่ง วันหนึ่งชายนั้นเข้าป่ าจะไปตัด
ไม้ไผ่มาทำคอกแพะ ขณะเมื่อเดินไปถึงเชิงเขา ชายผูน้ ้ ันพบลูกเสื อหลงแม่ตวั หนึ่งเดินอยูแ่ ต่ล ำพัง จึงจับ
เอามาเลี้ยงไว้แล้วหัดให้ลูกเสื อเที่ยวขโมยลูกแพะของชาวบ้านที่ใกล้เคียง
ส่ วนลูกเสื อนั้น ถ้าวันไหนขโมยลูกแพะของชาวบ้านได้สองตัว ก็กดั กินเสี ยตัวหนึ่ง เหลือเอาไป
ให้เจ้าของแต่ตวั เดียว ถ้าวันไหนขโมยแพะของคนอื่นไม่ได้ พอตกกลางคืนลงก็ขโมยแพะของเจ้าของกิน
เสี ยทุกวันไป
นิทานเรื่ องนี้ สอนให้รู้วา่ การคิดหาประโยชน์ ใส่ ตัวในทางมิชอบ ลงท้ ายมักจะเสี ยประโยชน์ ตนเอง
บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มคัดเลือกโคลงสุ ภาษิต แล้วคัดด้วยตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด กลุ่มละ ๓ บท


แล้วถอดคำกลอนนั้นเป็ นร้อยแก้ว

คำกลอนที่คดั เลือกมาคือ.....
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑.๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๑ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง ร้ อยกรองร้ อยความคิด เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหาในการ
ดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้ าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้ เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๔.๑ ม.๒/๓ แต่งบทร้อยกรอง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิน่


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออก - หลักการอ่านออก - ฝึ กทักษะการอ่านออกเสี ยง -มีมารยาทในการอ่าน
เสี ยงบทร้อยแก้วและบท เสี ยงร้อยแก้วและร้อย ร้อยแก้วและร้อยกรอง -อ่านได้ถูกต้องชัดเจน
ร้อยกรองได้ถูกต้อง กรอง ตามหลักการอ่าน
ท ๔.๑ ม.๒/๓ การแต่งกลอน ฝึ กแต่งกลอน - แต่งกลอน
แต่งบทร้อยกรอง สุภาพ สุภาพ สุภาพ
การแต่งโคลงสี่ ฝึ กแต่งโคลงสี่ -แต่งโคลงสี่
สุภาพ สุภาพ สุภาพ
ได้ถูกต้องตาม
ฉันทลักษณ์
สาระสำคัญ
๑. การอ่านบทร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะสละสลวย และเข้าใจสาระการเรี ยนรู ้ท ำให้
เห็นความงาม และคุณค่าของภาษาไทย เป็ นการส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรมทางภาษาของชาติ
๒. การเขียนบทร้อยกรองโดยเข้าใจลักษณะฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ และเขียนสาระ
การเรี ยนรู ้ได้เหมาะสม จะทำให้ผอู้ ่านเกิดความซาบซึ้ ง และเห็นคุณค่าของภาษาไทยมากขึ้น

สาระการเรียนรู้
๑. การอ่านบทเรี ยน เรื่ อง โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
๒. การฝึ กแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงสุ ภาษิต

กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสนทนาถึงการอนุรักษ์ภาษาไทยในฐานะที่เป็ นศิลปวัฒนธรรม
และเอกลักษณ์ของชาติ
๒. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม (ตามความเหมาะสม) โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาบทร้อยกรอง
โคลงสุ ภาษิต พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จากหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชุด
วรรณคดีวิจกั ษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ โดยดำเนินการ สำรวจคำศัพท์หรื อสำนวนภาษา แล้วศึกษาคำอ่าน
และความหมายร่ วมกัน จากนั้นสมาชิกในกลุ่มอภิปรายสรุ ปใจความสำคัญและข้อคิดที่ได้จากบทเรี ยนโคลง
สุ ภาษิต และนักเรี ยนร่ วมกันฝึ กอ่านบทเรี ยนเป็ นทำนองเสนาะ แนะนำ ข้อบกพร่ อง และแนวทางแก้ไข
ให้แก่เพื่อนภายในกลุ่ม จากนั้นนักเรี ยนผลัดเปลี่ยนกันอ่านโคลงสุ ภาษิตเป็ นทำนองเสนาะ และให้เพื่อนใน
กลุ่มที่เหลือประเมินผลการอ่าน
๓. นักเรี ยนทุกกลุ่มช่วยกันลากเส้นโยงคำเส้นสัมผัสระหว่างวรรคของคำประพันธ์ประเภท
โคลงสุ ภาษิตจากแบบฝึ กหัด
๔. นำแผนผังคำประพันธ์โคลงสุ ภาษิตติดกระดานดำ และให้นกั เรี ยนทุกกลุ่มตรวจสอบ
ความถูกต้องให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม แข่งขันกันเรี ยงแถบข้อความให้ถูกต้องตามลักษณะโคลงสุ ภาษิตตามขั้น
ตอน
๕. นักเรี ยนและครู ช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน เรื่ อง การอ่านบทร้อยกรองให้เป็ นทำนองเสนาะ
และสรุ ปหลักเกณฑ์ในการแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงสุ ภาษิต
๖. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้
๗. มอบหมายให้นกั เรี ยนไปอ่านโคลงสุ ภาษิตหรื อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเป็ นการบ้าน
สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้

ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา


๑ บัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม ครู จดั ทำ
๒ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๓ เฉลยบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู้ ตรวจสอบ ครู จดั ทำ
๔ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ
พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล

กิจกรรม-พฤติกรรมที่ เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


ประเมิน การประเมิน
๑. นักเรี ยนนำเสนอ แบบประเมินรายกลุ่ม สังเกตรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
๒. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การเรี ยนรู ้ พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ตรวจงานรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................
บัตรความรู้

เรื่อง “การแต่ งโคลงสี่ สุภาพ”

โคลง คือ คำประพันธ์ซ่ ึ งเป็ นวิธีเรี ยงร้อยถ้อยคำเข้าคณะ มีก ำหนดเอกโทและสัมผัสโคลงมี


ลักษณะบังคับ ๖ อย่างได้แก่ คณะ พยางค์ สัมผัส คำเอกคำโท คำเป็ นคำตาย และคำสร้อย
ในใบความรู้ประกอบนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะ “โคลงสี่ สุภาพ” เท่านั้น
คำ “สุ ภาพ” ในโคลงนั้น อาจารย์ก ำชัย ทองหล่อ ได้อธิ บายไว้วา่ มีความหมายเป็ น ๒ อย่าง คือ
1. หมายถึง คำที่ไม่มีเครื่ องหมายวรรณยุกต์เอกโท (คือ คำธรรมดาที่ไม่ก ำหนดเอก
โทจะมีหรื อไม่มีกไ็ ด้)
2. หมายถึง การบังคับคณะและสัมผัสอย่างเรี ยบๆ ไม่โลดโผน โคลงสุ ภาพทั้ง ๗
ชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกัน ดังจะได้อธิบายต่อไป
ก่อนอื่นนักเรี ยนควรรู้จกั ลักษณะระดับของโคลง ซึ่ งมีดงั นี้
1. คณะ คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับรู ปแบบของคำประพันธ์แต่ละชนิด ว่าจะต้อง
ประกอบด้วยส่ วนย่อยๆ อะไรบ้าง
คำที่เป็ นคำย่อยของคณะ ได้แก่ บท บาท วรรค คำ
ลักษณะบังคับข้อนี้ สำคัญมาก คำประพันธ์ทุกชนิดจะต้องมีคณะ ถ้าไม่มีกไ็ ม่เป็ นคำประพันธ์
คณะที่เป็ นสิ่ งที่ช่วยกำหนดรู ปแบบของคำประพันธ์แต่ละชนิดให้เป็ นระเบียบเพื่อใช้เป็ นหลักในการแต่งต่อ
ไป
2. พยางค์ คือ เสี ยงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ บางทีกม็ ีความหมาย เช่น เมืองไทยนี้ ดี
บางทีกไ็ ม่มีความหมาย แต่เป็ นส่ วนหนึ่งของคำ เช่น ภิ ในคำว่า อภินิหาร ยุ ในคำยุวชน กระ ในคำ
กระถาง เป็ นต้น
เนื่องจากคนไทยเราแต่เดิมมีพยางค์เดียวโดยมาก ฉะนั้นในการแต่งคำประพันธ์เราถือว่าพยางค์กค็ ือ
คำนัน่ เอง ในคำประพันธ์แต่ละชนิดมีการกำหนดพยางค์ (คำ) ไว้แน่นอน ว่าวรรคหนึ่งมีกี่พยางค์ (คำ)
ในคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่ งถือ ครุ ลหุ เป็ นสำคัญ เรานับแต่ละพยางค์เป็ น ๑ คำเสมอ เช่น
สุ จริ ต นับเป็ น ๓ พยางค์ (๓ คำ) แต่ถา้ สุ จริ ตไปอยูใ่ นโคลง เช่น
“สุ จริต คือ เกราะบัง ศาสตร์ พ้อง” เรานับเพียง ๒ คำเท่านั้น คือ ให้รวมเสี ยง ลหุ ๒ พยางค์ที่
อยูใ่ กล้กนั เป็ น ๑ คำ
และในทำนองเดียวกัน ถ้าคำใดมี ๒ พยางค์ เป็ นลหุพยางค์หนึ่ง เช่น กระถาง สมัคร ตลอด
สะบัด ก็อนุโลมให้นบั เป็ น ๑ พยางค์ (คำ) ได้
จะเห็นได้วา่ ในการนับพยางค์ (คำ) นั้นต้องแล้วแต่ลกั ษณะบังคับของร้อยกรองแต่ละประเภท ซึ่ ง
ผูแ้ ต่งคำประพันธ์จะต้องสังเกตให้ดี
3. สัมผัส คือ ลักษณะที่ยงั บังคับให้ใช้ค ำคล้องจองกัน สัมผัส เป็ นลักษณะที่สำคัญ
ที่สุดในคำประพันธ์ของไทย คำประพันธ์ทุกชนิดจำเป็ นต้องมีสมั ผัส
4. คำเอก คำโท หมายถึง พยางค์ที่บงั คับด้วย ไม้เอก และไม้โท สำหรับใช้กบั
คำประพันธ์ประเภทโคลงเท่านั้น มีขอ้ กำหนดดังนี้
คำเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีไม้เอกบังคับทั้งหมด เช่น จ่า ปี่ ขี่ ส่ อ น่า คี่ และพยางค์ที่เป็ นคำตาย
ทั้งหมด จะมีเสี ยงวรรณยุกต์ใดก็ได้ เช่น กาก บอก มาก โชค คิด รัก
คำเอกโทษ คือ คำที่ไม่เคยใช้ไม้เอกแต่เอามาแปลงใช้โดยเปลี่ยนวรรณยุกต์ เป็ นเอกเพื่อ
ให้ได้เสี ยงเอกตามบังคับ เช่น เสี้ ยม เปลี่ยนเป็ น เซี่ ยม, สร้าง เปลี่ยนเป็ น ซ่าง คำเช่นนี้ อนุโลมให้เป็ นคำ
เอกได้
คำโท ได้แก่ พยางค์ที่มีไม้โทบังคับทั้งหมด เช่น ถ้า ป้ า น้า น้อย ป้ อม ยิม้
คำโทโทษ คือ คำที่ไม่เคยใช้ไม้โท แต่เอาแปลงใช้โดยเปลี่ยนวรรณยุกต์เป็ นโท เพื่อได้
เสี ยงโทตามบังคับ เช่น เล่น เปลี่ยนเป็ น เหล้น, ช่วย เปลี่ยนเป็ นฉ้วย คำเช่นนี้อนุโลมให้เป็ นคำโทได้
5. คำเป็ น คำตาย
คำเป็ น ได้แก่ พยางค์ที่ผสมด้วยสระเสี ยงยาวในมาตราแม่ ก กา เช่น มา ขี่ ถือ เมีย กับพยางค์ที่
ผสมด้วย สระ อำ ไอ ใอ เอา เช่น ทำ ไม่ เขา และพยางค์ที่สะกดด้วยมาตราแม่ กง กน เกย เกอว
เช่น สัง่ ถ่าน ล้ม ตาย เร็ ว
คำตาย ได้แก่ พยางค์ที่ผสมด้วยสระเสี ยงสั้น ในมาตราแม่ ก กา เช่น จะ ติ และพยางค์ที่สะกด
ด้วยมาตราแม่ กก กด กบ เช่น ปัก นาค คิด มือ เก็บ สาป คำตายนี้ใช้แทนคำเอกในโคลงได้
6. คำสร้ อย คือ คำที่ใช้เติมลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรื อท้ายบท เพื่อความไพเราะ
หรื อเพื่อให้ครบจำนวนคำตามลักษณะบังคับ บางแห่งก็ใช้เป็ นคำถาม หรื อใช้ย ้ำความ คำสร้อยนี้ใช้เฉพาะ
ในโคลงและร่ าย และมักจะเป็ นคำเป็ น เช่น แลนา พี่เอย ฤาพี่ แม่แล น้อยเฮ หนึ่งรา

ตัวอย่าง : คำสร้อย
โคลง ๔
เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย
เมรุ ชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม
อากาศจัดจารผจง จารึ ก พอฤา
โฉมแม่หยาดฟ้ าแย้ม อยูร่ ้อยฤาเห็น
(นิราศนริ นทร์ )

โคลงสี่ สุภาพ
ผังภูมิ :
สร้อย
 

  

สร้อย
 

   

ตัวอย่ าง ๑
เสี ยงลือเสี ยงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสี ยงย่อมยอยศใคร ทัว่ หล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
(ลิลิตพระลอ)
ตัวอย่ าง ๒
จากมามาลิ่วล้ำ ลำ บาง
บางยีเ่ รื อราพลาง พี่พร้อง
เรื อแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา
บางบ่รับคำคล้อง คล่าวน้ำตาคลอ
(นิราศนริ นทร์ )
หมายเหตุ : โคลงสองบทนี้ ถือเป็ นโคลงสี่ สุภาพแม่บทที่มีบงั คับสัมผัสเอกโทถูกต้องตามลักษณะ
บังคับของโคลงสี่ สุภาพทุกอย่าง นักเรี ยนควรท่องจำไว้ให้ได้
กฎ :
1. คณะ มีดงั นี้
โคลงสี่ สุภาพบทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๒ วรรค คือ วรรคหน้ากับวรรค
หลัง วรรคหลังของทุกบาท มีวรรคละ ๕ คำ วรรคหลังของบาทที่ ๑, ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คำ ส่ วน
ของบาทที่ ๔ มี ๔ คำ รวมโคลงสี่ สุภาพ บทหนึ่งมี ๓๐ คำ
2. สัมผัส มีดงั นี้
คำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และ ๓ คำที่ ๗ ของบาท
ที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔
ถ้าจะให้โคลงที่แต่งไพเราะยิง่ ขึ้น ควรมีสมั ผัสใน และสัมผัสอักษรระหว่างวรรคด้วย
กล่าวคือ ควรให้ค ำสุ ดท้ายของวรรคหน้า สัมผัสอักษรกับคำหน้าของวรรคหลัง จากตัวอย่างในโคลง
ได้แก่ คำ “อ้าง” กับ “อัน” “ใหล” กับ “ลืม”
3. คำเอกคำโทและคำเป็ นคำตาย มีดงั นี้
1) ต้องมีค ำเอก ๗ แห่ง และคำโท ๔ แห่ง ตามตำแหน่งที่เขียนไว้ในแผนผังภูมิ
2) ตำแหน่งคำเอก และโท ในบาทที่ ๑ อาจสลับที่กนั ได้ คือ เอาคำเอกไปไว้ใน
คำที่ ๕ และเอาคำโทมาไว้ในคำที่ ๔ เช่น
อย่าโทษไทท้าวท่วย เทวา
อย่าโทษสถานภูผา ย่านกว้าง
อย่าโทษหมู่วงศา มิตรญาติ
โทษแต่กรรมเองสร้าง ส่ งให้เป็ นเอง
(โคลงโลกนิติ)
3) คำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ และคำที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และ ๓ ห้าใช้ค ำที่มีรูป
วรรณยุกต์
4) ห้ามใช้ค ำตายที่ผนั ด้วยวรรณยุกต์โท ในตำแหน่งโท
5) คำสุ ดท้ายของบท ห้ามใช้ค ำตาย และคำที่มีรูปวรรณยุกต์ และเสี ยงที่นิยม
กันว่าไพเราะ คือ เสี ยงจัตวาไม่มีรูป หรื อจะใช้เสี ยงสามัญก็ได้เพราะเป็ นคำจบ จะต้องอ่านเอื้อนลากเสี ยง
ยาว

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้
คำชี้แจง นักเรี ยนลากเส้นโยงคำสัมผัสในแผนภูมิโคลงสี่ สุภาพให้ถูกต้อง แล้วฝึ กแต่งโคลงสี่ สุภาพคนละ ๒
บท ตามความชอบและจินตนาการของนักเรี ยนเอง

โคลงสี่ สุภาพ
ผังภูมิ :
สร้อย
 

  

สร้อย
 

   

............................... .....................
............................................. .....................
............................................ .....................
........................................... .....................

............................... ......................
............................................. ......................
............................................. ......................
............................................. ......................

คำชี้แจง นักเรี ยนลากเส้นโยงคำสัมผัสในแผนภูมิโคลงสี่ สุภาพให้ถูกต้อง แล้วฝึ กแต่งโคลงสี่ สุภาพคนละ ๒


บท ตามความชอบและจินตนาการของนักเรี ยนเอง

โคลงสี่ สุภาพ
ผังภูมิ :
สร้อย
 

  

สร้อย
 

   

( การแต่ งอยู่ในดุลพินิจของครู ผู้สอน )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕.๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยที่ ๑ โคลงสุ ภาษิต เวลา ๗ ชั่วโมง
เรื่อง อ่ านคิดสรุ ปเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง
ใช้ สอนวันที่ ....................................................................................................................
.

มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้ และความคิด เพือ่ นำไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหาในการ
ดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่ าน
มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้ าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่ างเห็นคุณค่ าและ
นำมาประยุกต์ ใช้ ในชีวติ จริง

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๔ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน
ท ๕.๑ ม.๒/๑. สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น
ท ๕.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อมยก
เหตุผลประกอบ
ท ๕.๑ ม.๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง/ท้ องถิ่น


ตัวชี้วดั
ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ (A)
ท ๑.๑ ม.๒/๔ - นิยามหลัก - ฝึ กอภิปราย - มีมารยาทใน
อภิปรายแสดงความ การอภิปราย แสดงความคิด การอภิปราย
คิดเห็นและข้อโต้แย้ง แสดงความ เห็นและ และแสดงความ
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน คิดเห็นและ ข้อโต้แย้ง คิดเห็น
ข้อโต้แย้ง ข้อโต้แย้ง
ท ๕.๑ ม.๒/๑. สรุป การจับใจ - ฝึ กจับใจความ - มีมารยาทใน
เนื้ อหาวรรณคดีและ ความสำคัญ สำคัญ การอ่าน
วรรณกรรมที่อ่าน - ฝึ กสรุป
ในระดับที่ยากขึ้น เนื้ อหา
ท ๕.๑ ม.๒/๒ การวิเคราะห์ - ฝึ กวิเคราะห์ - เห็นคุณค่า
วิเคราะห์และวิจารณ์ คุณค่าของ คุณค่าของ และซาบซึ้ง
วรรณคดีวรรณกรรม วรรณคดีไทย วรรณคดีไทย
และวรรณกรรมท้อง และ และวรรณกรรม
ถิ่นที่อ่าน พร้อมยก วรรณกรรม ท้องถิ่น
เหตุผลประกอบ ท้องถิ่น
ท ๕.๑ ม.๒/๓ การวิเคราะห์ ฝึ กเขียนอธิบาย - เห็นคุณค่า
อธิบายคุณค่าของ คุณค่าของ วิเคราะห์คุณค่า และซาบซึ้ง
วรรณคดีและ วรรณคดีไทย ของวรรณคดี
วรรณกรรมที่อ่าน และ ไทยและ
วรรณกรรม วรรณกรรมท้อง
ท้องถิ่น ถิ่น

สาระสำคัญ
๑. การอภิปรายบทเรี ยน แสดงเหตุผลประกอบการพูด เป็ นการเพิ่มทักษะด้าน
การวิเคราะห์ ทำให้สรุ ปข้อคิดจากบทเรี ยนได้ง่ายและตรงประเด็น
๒. การย่อความจากเรื่ องที่อ่าน โดยอาศัยแผนภาพโครงเรื่ อง จะทำให้ยอ่ เรื่ องได้ง่ายและ
สมบูรณ์มากขึ้น
สาระการเรียนรู้
๑. การอภิปรายข้อคิดจากบทเรี ยน
๒. การเขียนย่อความ
๓.การทดสอบหลังการเรี ยนรู้

กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนและครู ร่วมกันสนทนาทบทวนเนื้ อหาสาระการเรี ยนรู ้จากชัว่ โมงที่ผา่ นมา
๒. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม (ตามความเหมาะสม) โดยให้นกั เรี ยนร่ วมกันศึกษา
วิเคราะห์เนื้ อหาจากบทเรี ยนแล้วดำเนินการอภิปรายสรุ ปข้อคิดจากบทเรี ยน แล้วเขียนสรุ ปข้อคิด ลงในสมุด
แบบฝึ กหัด
๓. นักเรี ยนแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้การเขียนย่อความกับเพื่อนในกลุ่มแล้วเขียนย่อความจาก
บทเรี ยนลงในสมุดและส่ งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานการเขียนสรุ ปข้อคิดจากบทเรี ยนและย่อความของ
ตนเองหน้าชั้นเรี ยน

๓. นักเรี ยนและครู ร่วมกันอภิปรายสรุ ปข้อคิดจากบทเรี ยน เสนอแนะข้อบกพร่ องการ


เขียนย่อความ และแนวทางปรับปรุ งแก้ไข สนทนาถึงการทำงานกลุ่มและการทำงานรายบุคคลของนักเรี ยน
๔. นักเรี ยนทำบัตรกิจกรรมการเรี ยนรู ้
๕. นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังการเรี ยนรู ้

สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้

รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งทีไ่ ด้ มา


ลำดับที่
๑ แบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน ครู จดั ทำ
๒ แผนภูมิความหมายของคำ นักเรี ยนศึกษาและอ่าน ครู จดั ทำ
ศัพท์และสำนวนจากเรื่ อง
๓ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
วิจกั ษ์ ชั้น ม.๒
๔ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม ครู จดั ทำ
พฤติกรรม

การวัดผลและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน
กิจกรรม-พฤติกรรมที่ การประเมิน
ประเมิน
๑. นักเรี ยนทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ตรวจงานรายบุคคล ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
หลังเรี ยน
๒. นักเรี ยนนำเสนอหน้าชั้น แบบประเมินรายกลุ่ม สังเกตรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
เรี ยน
๓. ประเมินพฤติกรรมและผล แบบประเมินพฤติกรรม ตรวจงานรายกลุ่ม ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
งานระหว่างเรี ยน และผลงานระหว่างเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชัว่ โมง ครู ตอ้ งกวดขันให้นกั เรี ยนใช้ตวั เลขไทย เพื่อให้เกิด
ความเคยชินและติดเป็ นนิสยั อีกทั้งให้มีความภูมิใจในการใช้ตวั เลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้ ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
นักเรี ยนทั้งหมด ....................คน
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี ............ คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
– ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง – คน คิดเป็ นร้อยละ .................
– ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุ ง – คน คิดเป็ นร้อยละ ...............
๒. ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่ างเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. การปรับปรุ ง
แก้ไข...........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๕. ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน
( ............................................. )
ครู วิทยฐานะครู ช ำนาญการ/พิเศษ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.....................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...............................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูต้ รวจสอบ
( ................................................. )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน............................................

บัตรกิจกรรมการเรียนรู้

คำชี้แจง ให้ นักเรียนพิจารณาคุณค่าของโคลงสุ ภาษิตนฤทุมาการ ตามความเข้ าใจในช่ องว่ างที่


………………………
กำหนดให้
………………………
………………………
………………………
…..
…………………… ……………………
…………………… ……………………
…………………… ……………………
…………………… ……………………
คุณค่ าโคลง
…………….. ……………..
สุ ภาษิต
นฤทุมนาการ

………………………
……………………… ………………………
……………………… ………………………
……………………… ………………………
……………………… …..
…..
แนวเฉลยบัตรกิจกรรมการเรียนรู้

คำชี้แจง ให้ นักเรียนพิจารณาคุณค่าของโคลงสุ ภาษิตนฤทุมาการ ตามความเข้ าใจในช่ องว่ างที่


กำหนดให้

การใช้ภาษาใช้ค ำง่ายๆ
เป็ นคำไทยแท้ ความ
หมายชัดเจน เข้าใจ ง่าย
เห็นภาพพจน์
เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้อง เป็ นคำสอนที่คน
กับ ชีวิตประจำวัน ทัว่ ไปสามารถ
ของคน ปฏิบตั ิได้
และเป็ นเรื่ องอุดมคติ
คุณค่ าโคลง
สุ ภาษิต
นฤทุมนาการ

เป็ นข้อเตือนใจในการ
สอดคล้องกับธรรมมะ ดำรงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้
ในพระพุทธศาสนา ซึ่ ง ทุกยุคทุกสมัย
ผูป้ ฏิบตั ิจะเกิดความสงบ
สุ ข

แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้ าข้ อความที่นักเรียนคิดว่ าถูกต้ อง และ เขียนเครื่องหมายผิด


หน้ าข้ อที่นักเรียนคิดว่าผิด
...............๑ ผูท้ ี่ประสบความสำเร็ จมักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต
แนวทางต่าง ๆ เป็ นข้อคิดที่นกั ปราชญ์แต่โบราณได้รวบรวมไว้ ดังปรากฏในโคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
............... ๒ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็ นสุ ภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนักแปลและประพันธ์เป็ น
โคลงภาษาไทย
..............๓ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็ นโคลงสี่ สุภาพ ซึ่ งมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง ๑๖ บท และบท
สรุ ป ๑ บท บอกจำนวนสุ ภาษิต ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็ น ๔๘ ข้อ
...............๔ ในพระราชนิพนธ์น้ ี “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนสิ่ งที่ควรแสวงหาหรื อควรละเว้น ซึ่ งใน
โคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ ง
...............๕ สามสิ่ งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุ ภาพ และความรักใคร่ สามสิ่ งควรชม ได้แก่
อำนาจ เกียรติยศ และ มีมารยาทดี
...............๖ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง 4 บท และบทสรุ ป ๑ บท
............... ๗ ชื่อว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง “กิจ ๑๐ ประการที่ผปู ้ ระพฤติยงั ไม่เคยเสี ยใจ”
...............๘ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ เป็ นข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจีกรรม (การพูด)
และกายกรรม (การกระทำ) ซึ่ งครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็ นเกราะป้ องกันผูป้ ระพฤติมิให้ตอ้ งเสี ยใจ
เพราะสิ่ งที่ตนคิด พูด และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔ เรื่ อง
และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุ ภาษิตประกอบนิทาทนร่ วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุ ภาษิตดังกล่าวรวมเรี ยก
ว่า โคลงสุ ภาษิตอิศปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรื อ อีสป (Aesop) เป็ นชื่อนักโทษชาวกรี ก เล่ากันว่า อีสปเป็ นทาสผูม้ ีร่างกายพิกล
พิการ แต่ชาญฉลาด มักยกนิทานขึ้นมาเล่าเพื่อเปรี ยบเปรย หรื อเตือนสติให้ผอู ้ ื่นได้คิด

เฉลยทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนเครื่องหมายถูกหน้ าข้ อความที่นักเรียนคิดว่ าถูกต้ อง และ เขียนเครื่องหมายผิด


หน้ าข้ อที่นักเรียนคิดว่าผิด
...............๑ ผูท้ ี่ประสบความสำเร็ จมักจะมีหลักธรรมประจำใจเพื่อเป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต
แนวทางต่าง ๆ เป็ นข้อคิดที่นกั ปราชญ์แต่โบราณได้รวบรวมไว้ ดังปรากฏในโคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์
............... ๒ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์ เดิมเป็ นสุ ภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในราชสำนักแปลและประพันธ์เป็ น
โคลงภาษาไทย
...............๓ โคลงสุ ภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็ นโคลงสี่ สุภาพ ซึ่ งมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง ๑๖ บท และ
บทสรุ ป ๑ บท บอกจำนวนสุ ภาษิต ว่ามี ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็ น ๔๘ ข้อ
...............๔ ในพระราชนิพนธ์น้ ี “ไตรยางค์” หมายถึงจำนวนสิ่ งที่ควรแสวงหาหรื อควรละเว้น ซึ่ งใน
โคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ ง
...............๕ สามสิ่ งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุ ภาพ และความรักใคร่ สามสิ่ งควรชม ได้แก่
อำนาจ เกียรติยศ และ มีมารยาทดี
...............๖ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการมีบทนำ ๑ บท เนื้ อเรื่ อง 4 บท และบทสรุ ป ๑ บท
............... ๗ ชื่อว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง “กิจ ๑๐ ประการที่ผปู ้ ระพฤติยงั ไม่เคยเสี ยใจ”
...............๘ โคลงสุ ภาษิตนฤทุมนาการ เป็ นข้อแนะนำทั้งทางด้านมโนกรรม (การคิด) วจีกรรม (การ
พูด) และกายกรรม (การกระทำ) ซึ่ งครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเป็ นเกราะป้ องกันผูป้ ระพฤติมิให้ตอ้ ง
เสี ยใจเพราะสิ่ งที่ตนคิด พูด และกระทำ
............... ๙ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอิสปไว้ ๒๔
เรื่ อง และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุ ภาษิตประกอบนิทาทนร่ วมกับกวีอีก ๓ ท่าน โคลงสุ ภาษิตดังกล่าวรวม
เรี ยกว่า โคลงสุ ภาษิตอิศปปกรณำ
............... ๑๐ อิศป หรื อ อีสป (Aesop) เป็ นชื่อนักโทษชาวกรี ก เล่ากันว่า อีสปเป็ นทาสผูม้ ีร่างกายพิกล
พิการ แต่ชาญฉลาด มักยกนิทานขึ้นมาเล่าเพื่อเปรี ยบเปรย หรื อเตือนสติให้ผอู ้ ื่นได้คิด
คิด

แบบประเมินหลังแผนการจัดการเรียน
แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่ างเรียน
ความหมาย
๑. ตั้งใจ หมายถึง ความมานะ อดทนทำงานจนเสร็ จ ( A )
๒. ความร่ วมมือ หมายถึง สมาชิกในกลุ่มให้ความร่ วมมือทำงานจนเสร็ จ ( A )
๓. ความมีวินยั หมายถึง ผลงาน หรื อการทำงานเป็ นระบบระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด
สวยงาม และได้เนื้ อหาครบถ้วน ทันหรื อตรงต่อเวลา ( A,K )
๔. คุณภาพของผลงาน หมายถึง ผลงานเรี ยบร้อย สวยงาม เนื้ อหาครบถ้วน
ภาษาที่ใช้เหมาะสม (P – Product, K)
๕. การนำเสนอผลงาน หมายถึง การพูดอธิ บายนำเสนอผลงานได้ตามลำดับ
และเนื้อหาถูกต้อง ( P – Process, K )
เกณฑ์ การประเมิน
๔ หมายถึง ทำได้ดีมาก ๓ หมายถึง ทำได้ดี
๒ หมายถึง ทำได้พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง
เลขที่ ความตั้งใจ ความร่ วมมือ ความมีวนิ ยั คุณภาพของ การนำเสนอ รวม
(๔) (๔) (๔) ผลงาน (๔) ผลงาน (๔) (๒๐)
เกณฑ์ การให้ คะแนนกระบวนการทำงานกลุ่ม

เกณฑ์การให้คะแนน/ระดับ
ประเด็นการประเมิน
๓ ๒ ๑
๑. การกำหนด – สมาชิกทุกคนมีส่วน สมาชิกส่ วนใหญ่มี สมาชิกส่ วนน้อยมี
เป้ าหมายร่ วมกัน ร่ วมในการกำหนดเป้ า ส่ วนร่ วมในการ ส่ วนร่ วมในการ
หมายการทำงานอย่าง กำหนดเป้ าหมายใน กำหนดเป้ าหมายใน
ชัดเจน การทำงาน การทำงาน
๒. การแบ่งหน้าที่ กระจายงานได้อย่าง กระจายงานได้ทวั่ ถึง กระจายงานไม่ทวั่ ถึง
รับผิดชอบ ทัว่ ถึงและตรงตาม แต่ไม่ตรงตามความ
ความสามารถของ สามารถของสมาชิก
สมาชิกทุกคน
๓. การปฏิบตั ิหน้าที่ ทำงานได้สำเร็ จตาม ทำงานได้สำเร็ จตาม ทำงานไม่สำเร็ จตาม
ที่ได้รับมอบหมาย เป้ าหมายที่ได้รับมอบ เป้ าหมายแต่ชา้ กว่า เป้ าหมาย
หมาย ตามระยะเวลา เวลาที่ก ำหนด
ที่ก ำหนด
๔. การประเมินและ สมาชิกทุกคนร่ วม สมาชิกบางส่ วนมี สมาชิกบางส่ วนไม่มี
ปรับปรุ งผลงาน ปรึ กษาหารื อ ติดตาม ส่ วนร่ วมปรึ กษาหารื อ ส่ วนร่ วมปรึ กษาหารื อ
ตรวจสอบและปรับ– แต่ไม่ช่วยปรับปรุ งผล และไม่ช่วยปรับปรุ ง
ปรุ งผลงานเป็ นระยะ งาน ผลงาน

แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ กลุ่มที่ …….....

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้ อคิดเห็น


๓ ๒ ๑
๑. การกำหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
๒. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
๓. การปฏิบตั ิตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
๔. การประเมินและปรับปรุ งผลงาน
รวม

ลงชื่อ ผูป้ ระเมิน


( )

เกณฑ์การประเมิน
๑๑ – ๑๒ = ดีมาก
๘ – ๑๐ = ดี
๕–๖ = พอใช้
๐–๔ = ปรับปรุ ง

เกณฑ์ การประเมินการนำเสนอผลงาน
แนวทางการพิจารณา
หัวข้อการพิจารณา/ระดับการปฏิบตั ิหรื อพฤติกรรม
ระดับ กลวิธีการนำเสนอ ขั้นตอนการนำ ตอบคำถาม/เวลา
คะแนน เนื้อหา เสนอ การใช้ภาษา
๔ มีการเรี ยงลำดับ มีการนำเข้าสู่ เนื้อ มีการนำเสนอ ออกเสี ยงถูกต้อง ตอบคำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่ อง มีความ อย่างต่อเนื่องราบ ตามอักขรวิธีและ อย่างมีภมู ิรู้ และ
มีความต่อเนื่อง สัมพันธ์กบั เนื้ อ รื่ นเป็ นไปตามขั้น ดังชัดเจน ใช้ภาษา มีความชัดเจน มี
มีประโยชน์ เรื่ อง เร้าใจผูฟ้ ัง ตอน เหมาะสม เข้าใจ แหล่งอ้างอิง
ให้แง่คิด มีความมัน่ ใจ ง่าย มีการใช้ ใช้เวลาตาม
สำนวนโวหาร กำหนด
๓ มีการเรี ยงลำดับ มีการนำเข้าสู่ เนื้อ การนำเสนอต่อ ออกเสี ยงถูกต้อง ตอบคำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่ อง มีความ เนื่อง มีการข้าม ตามอักขรวิธีและ ค่อนข้างชัด เจน
มีความต่อเนื่อง สัมพันธ์กบั เนื้ อ ขั้นตอนบ้าง ดังชัดเจน ใช้ภาษา มีแหล่งอ้างอิง
มีประโยชน์ เรื่ อง เร้าใจผูฟ้ ัง เหมาะสมเข้าใจง่าย ใช้เวลาเกิน
ให้แง่คิดน้อย ไม่มีความมัน่ ใจ ไม่มีการใช้สำนวน กำหนด ๑ นาที
ในการนำเสนอ โวหาร
๒ มีการเรี ยงลำดับ มีการนำเข้าสู่ เนื้อ การนำเสนอต่อ ออกเสี ยงถูกต้อง ตอบคำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่ อง มีความ เนื่อง ไม่มีข้นั ตามอักขรวิธีและ ไม่ค่อยชัดเจน
มีความต่อเนื่อง สัมพันธ์กบั เนื้ อ ตอนเป็ นส่ วน ดังชัดเจน ใช้ภาษา มีแหล่งอ้างอิง
มีประโยชน์นอ้ ย เรื่ อง ไม่ เร้าใจผูฟ้ ัง ใหญ่ เข้าใจยาก ไม่มีการเป็ นบางส่ วน
ให้แง่คิดน้อย ไม่มีความมัน่ ใจ ใช้สำนวนโวหาร ใช้เวลาเกิน
ในการนำเสนอ กำหนด
๒ นาที
๑ มีการเรี ยงลำดับ มีการนำเข้าสู่ เนื้อ การนำเสนอ ออกเสี ยงถูกต้อง ตอบคำถามไม่
เนื้อหาได้ดี เรื่ อง ไม่มีความ ไม่ต่อเนื่องนำ ตามอักขรวิธีและ ได้เป็ น
ไม่มีความต่อเนื่อง สัมพันธ์กบั เนื้ อ เสนอสับสน ดังชัดเจน ใช้ภาษา ส่ วนใหญ่
มีประโยชน์นอ้ ย เรื่ อง ไม่เร้าใจผูฟ้ ัง ไม่เหมาะสม เข้าใจ ใช้เวลาเกิน
ให้แง่คิดน้อย ไม่มีความมัน่ ใจ ยาก ไม่มีการใช้ กำหนด ๕ นาที
ในการนำเสนอ สำนวนโวหาร

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

กลุ่มที่............................................................ห้อง.......................

เนื้อหา กลวิธี ขั้นตอน การใช้ การตอบ รวม


ประเด็น ๔ การนำ การนำเสนอ ภาษา คำถาม คะแนน
เสนอ ๔ ๔ /เวลา ๒๐
ชื่อ – สกุล ๔ ๔
สมาชิก
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๖.
๘.
ลงชื่อ......................................................ผูป้ ระเมิน
( )
วันที่......เดือน......................ปี ................

เกณฑ์ การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก


๓ หมายถึง ดี
๒ หมายถึง พอใช้
๑ หมายถึง ต้องปรับปรุ ง

แบบสั งเกตพฤติกรรมการอ่าน
คำชี้แจง ให้ ทำเครื่องหมาย / ลงในช่ องรายการสั งเกตพฤติกรรมที่กำหนด
รายการสั งเกต

สรุ ปผลการประเมิน
ผ่าน / ไม่ผา่ น
จับหนังสื อได้ถูก
ความสนในเรื่ อง

มีมารยาทในการ

อ่านไม่กดหรื อ
เลข
น้ำเสี ยงชัดเจน
มีสมาธิในการ

อ่านคำถูกต้อง

ชื่อ – สกุล
ที่
ถูกต้อง

เติมคำ
ที่อ่าน

อ่าน

อ่าน

๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ต้อง









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
เกณฑ์ การให้ คะแนน ๒= ดี, ๑ = ปานกลาง, ๐ = ต้องปรับปรุ งแก้ไข
(ลงชื่อ)……………………………………….ผูป้ ระเมิน
วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ………………
แบบประเมินก่ อนเรียนและหลังเรียน หน่ วยที่ ๕

แบบทดสอบ แบบทดสอบ สรุ ป


เลขที่ ชื่อ – สกุล ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่ าง
๒๐ ๒๐ ผ่ าน ไม่ ผ่าน









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐

You might also like