You are on page 1of 11

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง การออกแบบงานประดิษฐ์

รหัสวิชา ง 21121
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

เวลา 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาว


ศิริพร ใจเปี ้ ย

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
1.1 ตัวชีว
้ ัด
ง 1.1 ม.1/1 วิเคราะห์ขน
ั ้ ตอนการทำงานตามกระบวนการ
ทำงาน
ม.1/2 ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความ
เสียสละ
ม.1/3 ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายหลักการออกแบบงานประดิษฐ์ได้ถูกต้องเหมาะสม (K)
2. ออกแบบงานประดิษฐ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (P)
3. มีเจตคติที่ดีต่อการออกแบบงานประดิษฐ์ (A)

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) ขัน
้ ตอนการทำงาน เป็ นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานตามทักษะ
กระบวนการทำงาน
โดยทำตามลำดับขัน
้ ตอนที่วางแผนไว้ เช่น
- การใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการทำงานบ้าน
- การจัดตกแต่งห้อง
2) กระบวนการกลุ่ม เป็ นวิธีการทำงานตามขัน
้ ตอน คือ การเลือก
หัวหน้ากลุ่ม กำหนดเป้ าหมาย วางแผน แบ่งงานตามความ
สามารถ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ ประเมินผล และปรับปรุงงาน เช่น
- การเตรียม ประกอบ จัด ตกแต่ง และบริการอาหาร
- การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
- การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
3) ความเสียสละเป็ นลักษณะนิสัยในการทำงาน

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุในท้องถิ่น เป็ นการนำวัสดุต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน
ท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็ นของใช้ ของตกแต่ง ดังนัน
้ ควรเลือกใช้วัสดุที่หา
ได้ง่าย หรือมีราคาที่ไม่แพง แล้วนำมาออกแบบการประดิษฐ์ชน
ิ ้ งาน ตาม
กระบวนการทำงาน โดยใช้กระบวนการกลุ่มด้วยความเสียสละ และตัดสิน
ใจแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการสื่อสาร
5. ทักษะการคิดวิเคราะห์
6. ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
7. ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional
Model)
ขัน
้ นำ
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement)
1.ครูสนทนาร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับความหมายของการประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุ
ในท้องถิ่นและให้นักเรียนดูตัวอย่างงานประดิษฐ์ของใช้ ของ
ตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจมาก
ยิ่งขึน

2.จากนัน
้ ครูสุ่มนักเรียน 2–3 คนที่น่าสนใจออกมาเล่าประสบการณ์
เกี่ยวกับการประดิษฐ์
และครูอธิบายกับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน

ขัน
้ สอน
ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) กลุ่มละ 4-5 คน คละกันตาม
ความสามารถ และให้นักเรียน ร่วมกันสำรวจคุณสมบัติของ
ผู้ออกแบบงานประดิษฐ์ให้ได้มากที่สุด และส่งตัวแทนกลุ่มออกมา
เขียนคำตอบหน้าชัน
้ เรียน โดยครูดำเนินการตัดคุณสมบัติที่ซ้ำกัน
ออกเพื่อลดความซับซ้อน
2.ครูซักถามเพื่อสำรวจความคิดของนักเรียน และให้นักเรียนภายใน
กลุ่มร่วมกันระดมความคิด เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับการ
ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากต้นกล้วย
3.ให้นักเรียนดำเนินการศึกษาความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบงาน
ประดิษฐ์จากหนังสือเรียน หรืออินเทอร์เน็ต

ขัน
้ ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
4.สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มร่วมกันผลัดกันอธิบายความรู้ที่ได้จากการ
ศึกษาค้นคว้า เรื่อง หลักการ ออกแบบงานประดิษฐ์
5.ครูสุ่มนักเรียน 2–3 คน ซักถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักการออกแบบ
งานประดิษฐ์ โดยครูและเพื่อนร่วมชัน
้ ร่วมกันตวจสอบความถูก
ต้องจากการตอบคำถาม

ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
6.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) กลุ่มละ 4-5 คน คละกันตาม
ความสามารถ เพื่อร่วมกัน ออกแบบงานประดิษฐ์ของใช้ ของ
ตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่นตามที่แต่ละกลุ่มได้คัดเลือกไว้
ในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยใช้หลักการทางทัศนศิลป์ และบันทึกข้อมูล
ลงในใบงาน
7.ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานการออกแบบ
งานประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่นหน้าชัน

เรียน

ขัน
้ สรุป
ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1.ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานที่ 4.2.1
ถ้ามีข้อผิดพลาดให้ช่วยกัน
หาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
2.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การออกแบบงาน
ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุ
ในท้องถิ่นโดยใช้หลักการทางทัศนศิลป์ ว่า “การออกแบบเป็ นการ
ทำโครงสร้างของชิน
้ งานก่อน ลงมือประดิษฐ์ชน
ิ ้ งาน ดังนัน
้ เพื่อ
ความสวยงามของชิน
้ งาน ผู้ประดิษฐ์ควรทำการออกแบบโดย
นำหลักการทางทัศนศิลป์ เข้ามาใช้ในการออกแบบเพื่อให้ได้ชน
ิ ้ งานที่มี
ความน่าสนใจ ยกตัวอย่าง การออกแบบเส้น รูปร่าง รูปทรง
แสงเงา สี เป็ นต้น”

8. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
8.1 การประเมิน
ระหว่าง
- ตรวจใบงานที่ - ใบงานที่ 4.2.1 ร้อยละ 60
การจัดกิจกรรม
4.2.1 ผ่านเกณฑ์
การเรียนรู้
1) การ
ออกแบบ
งานประดิษฐ์
2) นำเสนอผล - ประเมินการนำ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
งาน เสนอ การนำเสนอผล 2
ผลงาน งาน ผ่านเกณฑ์
3) พฤติกรรม - สังเกต - แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
การทำงาน พฤติกรรม พฤติกรรม 2
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
4) คุณลักษณะ - สังเกตความใฝ่ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
อันพึง เรียนรู้ คุณลักษณะ 2
ประสงค์ อยู่อย่างพอ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
เพียง และ
มุ่งมั่นในการ
ทำงาน

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1 หน่วยการเรียนรู้ที่
4 การประดิษฐ์ของใช้
ของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น
2) ใบงานที่ 4.2.1 เรื่อง การออกแบบงานประดิษฐ์
3) ตัวอย่างงานประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น
9.2 แหล่งการเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต

10. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ
.............................
( นายมณฑล วังวล
สินธุ์ )
ตำแ
หน่ง ครูพี่เลีย
้ ง
11. บันทึกผลหลังการสอน
Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ ด้านความสามารถทางภูมิศาสตร์

Ÿ ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียน


เป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))
Ÿ ปั ญหา/อุปสรรค

Ÿ แนวทางการแก้ไข

บันทึกผลหลังการสอนอยูใ่ นภาคผนวก

ใบงานที่ 4.2.1
เรื่อง การออกแบบงานประดิษฐ์

คำชีแ
้ จง : ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ระดมความคิดร่วมกันภายในกลุ่ม
ของตนเอง เพื่อเลือกวัสดุจากท้องถิ่น ของตนเอง และนำมา
ออกแบบงานประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง โดยใช้หลักการทางทัศนศิลป์

วัสดุทางธรรมชาติ คือ .....................................................................


ประดิษฐ์ ............................................................................................
เส้น
...............................................
......................................................
............................................................
............................................................
สี ....................................................
รูปร่าง
............................................... ..............................................
...............................................
...................................................... ........................................
......................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
.................................................... ....................................................
.............................................. ..............................................
หลักการออกแบบงาน
........................................ ........................................
ประดิษฐ์
โดยใช้หลักการทางทัศน รูปทรง
แสงเงา
............................................... ...............................................
...................................................... ......................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
.................................................... ....................................................
.............................................. ..............................................
........................................ ........................................

You might also like