You are on page 1of 3

แผนการจัดการเรี ยนรู้ ภาคเรี ยนที่........2........

ปี การศึกษา 2560
รหัสวิชา ค 116101 รายวิชา คณิ ตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 12 เรื่ อง รู ปเรขาคณิ ตสามมิติและปริ มาตรของทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก เวลา 7 ชัว่ โมง
หน่วยย่อยที่ 6 เรื่ อง รู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ เวลา 1 ชัว่ โมง
สัปดาห์ที่ วันที่ เดือน พ.ศ. ครู ผสู ้ อน นางกาญจนา พรหมบุบผา

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย ทางคณิ ตศาสตร์ และ
การนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์
อื่นๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
ป.6/2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับปริ มาตรและความจุของทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก
ตัวชี้วดั
ค 6.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
จุดประสงค์
1. อธิ บายเกี่ยวกับรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ (K)
2. เขียนรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ (P)
3. เห็นคุณค่าของการนาความรู ้เรื่ อง รู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติไปใช้ (A)
คุณค่ าพระวรสาร : ความมหัศจรรย์ใจ
สาระสาคัญ
- รู ปเรขาคณิ ตสามมิติ เมื่อคลี่ออกจะได้รูปที่ประกอบด้วยรู ปเรขาคณิ ตสองมิติที่สามารถประกอบเป็ นรู ป
เรขาคณิ ตสามมิติได้
2. สาระการเรี ยนรู้ (ความรู้ )
- รู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ
ทักษะกระบวนการ
- แก้ปัญหา
- ทักษะทางคณิ ตศาสตร์
3. สมรรถนะสาคัญของผู้เรี ยน
 1. ความสามารถในการสื่ อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์  2. ซื่อสัตย์ สุ จริ ต  3. มีวนิ ยั
 4. ใฝ่ เรี ยนรู ้  5. อยูอ่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
 7. รักความเป็ นไทย  8. มีจิตสาธารณะ  9. รักและรับใช้
5. การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
1. ให้นกั เรี ยนทบทวนความรู ้เรื่ องชนิดของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ โดยครู ให้นกั เรี ยนช่วยกันบอกชื่อรู ปเรขาคณิ ต
สามมิติ เช่น ทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก พีระมิด ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
2. จากกิจกรรมข้อ 1 ครู เลือกรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ 1 รู ป แล้วติดบัตรภาพรู ปคลี่
บนกระดาน ดังนี้

ครู ถามคาถามกระตุน้ ความคิดของนักเรี ยน ดังนี้


 มีรูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้ากี่รูป (1 รู ป)
 มีรูปวงกลมกี่รูป (2 รู ป)
 รู ปคลี่น้ ีเป็ นรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติใด (ทรงกระบอก)
ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ดาเนินกิจกรรมนี้อีก 2-3 ครั้ง เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดทักษะและความคิดรวบยอดเกี่ยวกับรู ปคลี่ ดังตัวอย่าง

ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง


3. ครู แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 คน แจกบัตรรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติให้กลุ่มละ 2 แผ่น
จากนั้นให้นกั เรี ยนช่วยกันบอกว่าเป็ นรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติใด
แล้ววาดรู ปเรขาคณิ ตสามมิติน้ นั
ผูแ้ ทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน ครู และนักเรี ยนกลุ่มอื่น ๆ ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
คุณค่ าพระวรสาร : ความมหัศจรรย์ ใจ ทุกสิ่ งทุกอย่ าถึงแม้ จะแตกต่ างกันแต่ เมื่อนามารวมกันทาให้ เกิดสิ่ งใหม่ ๆได้ เสมอ
4. ให้นกั เรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปความรู ้ ดังนี้
 รู ปเรขาคณิ ตสามมิติ เมื่อคลี่ออกจะได้รูปที่ประกอบด้วยรู ปเรขาคณิ ตสองมิติที่สามารถประกอบเป็ นรู ป
เรขาคณิ ตสามมิติได้
5. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครู ถามคาถามท้าทาย ดังนี้
 นักเรี ยนสามารถนาความรู ้เรื่ อง รู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติไปใช้ประโยชน์
ในชีวติ ประจาวันเรื่ องใดมากที่สุด
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นกั เรี ยนได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมทั้งแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม สามารถตอบคาถามได้หลากหลายตามประสบการณ์
และมีการเสริ มแรงโดยการให้คะแนนกลุ่ม
6. สื่ อการเรี ยนรู้ /แหล่ งการเรี ยนรู้
1. บัตรภาพรู ปคลี่ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ
7. การวัดและประเมินผล
7.1 วิธีการวัดและประเมินผล
7.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนในการเข้าร่ วมกิจกรรม
7.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนในการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
7.2 เครื่ องมือ
7.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรม
7.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
7.3 เกณฑ์ การประเมิน
7.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ ผ่าน

7.3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม


คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุ ง

You might also like