You are on page 1of 35

1

บทที่ 1
บทนำ

ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศให้ใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544


โดยได้กาหนดหลักการของหลัก สู ต รการศึกษาขั้น พื้นฐานไว้ว่า “เป็ นการศึกษาเพื่อ ความเป็ น
เอกภาพของชาติ มุ่ งเน้นความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ นสากล เป็ นการศึกษาเพื่อ ปวงชนที่
ประชาชนทุกคนจะได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันโดยสังคมมีส่วนร่ วมในการจัด
การศึกษาส่ งเสริ มให้ นักเรี ยนได้พฒั นาและเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิตโดยถือว่า
นักเรี ยนมี ความสาคัญที่ สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพเป็ นหลักสู ตรที่มี
โครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระเวลาการจัดการเรี ยนรู ้และเป็ นหลักสูตรที่จดั การศึกษาได้ทุกรู ปแบบ
ครอบคลุ มทุก กลุ่ ม เป้ า หมายสามารถเที ย บโอน ผลการเรี ย นรู ้ แ ละประสบการณ์ ” โดยกาหนด
โครงสร้างของหลักสู ตร เป็ น 4 ช่วงชั้น คือ ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ช่วงชั้นที่ 2 ชั้น
ประถมปี ที่ 5-6 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 และช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 โดยที่การ
จัดการเรี ยนการสอนของหลักสู ตร ตามช่ วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 - 6 นั้น เป็ นกลุ่ มที่มุ่ งเน้น
การศึกษาเพื่อ เพิ่มพูนความรู ้ความสามารถและทักษะในวิท ยาการ และเทคโนโลยี เพื่อ ให้เ กิ ด
ความคิดสร้างสรรค์ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ (กรมวิชาการ,
2544)
การจัดการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งเป็ นวิชาที่จาเป็ นและเป็ นประโยชน์ กับ
นักเรี ยน ในการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ในช่วงเวลาที่ผ่านมาให้ความสาคัญในเรื่ องของทักษะ
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ควบคู่ไ ปกับ ความรู ้ ด้า นเนื้ อ หาสาระ ดัง จะเห็ น ได้จ ากหลักสู ตร
การศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2544 ซึ่ งเป็ นหลัก สู ต รที่ พ ัฒ นานั ก เรี ย นให้ เ ป็ นผู ้น าด้า น
คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (กรมวิชาการ, 2544) การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้
ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นั้น กระทรวงศึกษาธิการกาหนดว่า เป็ น
กระบวนการที่ให้ผูส้ อนใช้พฒั นาคุ ณ ภาพนัก เรี ยน โดยสถานศึกษาในฐานะผูร้ ั บผิด ชอบจัด
การศึกษา จะต้องนาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิในการวัดและประเมินผลการเรี ยนของสถานศึกษา
เอง ในการประเมินผลของสถานศึกษาเป็ นการประเมินเพือ่ ตรวจสอบความก้าวหน้าด้านการเรี ยนรู ้
เป็ นรายชั้น ปี และช่ ว งชั้น สถานศึ ก ษาน าข้อ มู ล ที่ ไ ด้น้ ี ไปใช้เ ป็ นแนวทางในการปรั บ ปรุ ง
2

พัฒนาการเรี ยนการสอนและคุณภาพของนักเรี ยนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ รวมทั้งนาผล


การประเมิ นรายช่ วงชั้น ไปพิจารณาตัดสิ นในการเลื่ อนช่ วงชั้น ที่นักเรี ยนไม่ ผ่านมาตรฐานการ
เรี ยนรู ้ของกลุ่มสาระต่าง ๆ โดยสถานศึกษาต้องจัดให้มีการเรี ยนการสอนซ่ อมเสริ มและจัดให้มี
การประเมินผลการเรี ยนรู ้ดว้ ย (กรมวิชาการ, 2544)
ในการจัดการเรี ยนการสอนโดยทัว่ ไปนั้น จะมีท้ งั นักเรี ยนที่ เรี ยนเก่ง เรี ยนปานกลาง
เรี ยนอ่อน และบางคนเรี ยนไม่รู้เรื่ องการสอนของครู แต่ละครั้งในเวลาจากัด จะทาให้เกิดผลเท่ากัน
กับนักเรี ยนทุกคนย่อมเป็ นไปได้ยากวิธีการหนึ่ งที่จะช่วยแก้ปัญหานี้ คือ การจัดให้มีการสอนซ่ อม
เสริ ม (กรมสามัญศึกษา, 2537) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับมัธยมศึกษา แม้ว่าเด็กจะผ่านการเรี ยน
ระดับประถมศึกษา อยูใ่ นระดับมัธยมศึกษาด้วยกัน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า เด็กทุกคนจะมีความรู ้
ความเข้าใจ ความสามารถและความถนัดทางวิชาการต่าง ๆ เหมือนกันหรื อเท่าเทียมกัน ดังนั้นเมื่อ
มาพบกับ ความรู ้ ใ หม่ ใ นระดับ มัธ ยมศึ ก ษา เด็ ก บางคนอาจต้อ งการความช่ ว ยเหลื อ เป็ นพิเ ศษ
ในขณะที่เด็กบางคนอาจมีความสามารถดีกว่าเพื่อนๆ ในชั้นเรี ยนเดียวกัน (ประดินันท์ อุปรมัย,
2529) ซึ่ งในเรื่ อ งที่เกี่ ยวกับการสอนซ่ อ มเสริ มนี้ (กรมสามัญศึกษา,2537)ได้ให้ขอ้ เสนอแนะว่า
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ของการเรี ยนให้สูงขึ้นจะต้องเสริ มความรู ้ให้แก่เด็กที่มีปัญหาด้านการเรี ยน
ช้าให้สามารถเรี ยนได้ทนั กับนักเรี ยนส่ วนใหญ่ จะต้องมีการใช้ระบบการสอนซ่อมเสริ มช่วยเหลือ
นักเรี ยนเหล่านั้น ดังนั้นจึงกล่าวได้วา่ การสอนซ่อมเสริ มเป็ นงานหนึ่งของการบริ หารงานวิชาการที่
โรงเรี ยนจะต้องจัดให้มีข้ นึ
จากปั ญหาของการจัดการเรี ยนการสอนที่ เ กิ ดขึ้ นการสอนซ่ อ มเสริ ม จึง เป็ นแนวทาง
แก้ปัญหาอีกแนวทางหนึ่ งที่มีความสาคัญ ซึ่งผลจากการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการสอนซ่อมเสริ มเท่าที่
ผ่านมาได้ให้ความสนใจในรู ปแบบวิธีการสอนซ่ อมเสริ มและ พบว่าการสอนซ่ อมเสริ มทาให้ผล
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนสูงขึ้น สามารถพัฒนาทักษะ เจตคติ และแรงจูงใจได้ดว้ ย (สม
วงษ์ แปลงประสพโชค, 2540) ถึงแม้ว่าผลการวิจยั จะปรากฏผลชัดเจนว่า การสอน ซ่ อมเสริ ม มี
ความสาคัญต่อการยกระดับคุณภาพการเรี ยนการสอน แต่ยงั ไม่สามารถใช้ประโยชน์ จากการสอน
ซ่ อมเสริ มได้ เนื่ องจากปั ญหาครู มีชวั่ โมงมากเกิ นไป จานวนครู มีไม่เพียงพอกับนักเรี ยน ครู มี
หน้าที่ตอ้ งรับผิดชอบนอกเหนือจากการสอนมาก ครู ขาดคาแนะนาเกี่ยวกับการสอนซ่อมเสริ มที่ดี
พอ นักเรี ยนไม่มีเวลาสาหรับการเรี ยนซ่อมเสริ ม เวลาที่ใช้ในการสอนซ่อมเสริ ม แต่ละครั้งไม่
เพียงพอ ตลอดจนขาดสื่อการสอนซ่อมเสริ ม (สิริพร ทิพย์คง, 2539) ด้วยเหตุผลที่วา่ การสอนซ่อม
เสริ ม มีคุณค่าที่จะทาให้นักเรี ยนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู งขึ้นและเวลาที่ใช้ในการเรี ยนการ
สอนซ่ อมเสริ มมีอยูอ่ ย่างจากัด จึงมีการศึกษาวิธีการสอนซ่ อมเสริ มในรู ปแบบต่างๆ ตลอดจนการ
เปรี ยบเทียบวิธีการสอนซ่ อมเสริ มเหล่านั้นด้วย ซึ่ งสมวงษ์ แปลงประสพโชค (2540 : 7) ได้สรุ ป
3

ไว้ท้งั สิ้น 9 รู ปแบบ คือ (1) ใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป (2) เพือ่ นช่วยเพือ่ นสอนเป็ นกลุ่ม (3) เพือ่ นช่วย
เพื่อนสอนตัวต่อตัว (4) ครู สอนเป็ นกลุ่ม (5) ครู สอนตัวต่อตัว (6) ใช้ทาแบบฝึ กหัดเพิ่มเติมจาก
สมุดแบบฝึ กหัด (7) มอบหมายงานให้ทาเพิ่มขึ้น (8) ใช้บทเรี ยนโมดูลหรื อชุดการสอน (9) ใช้สื่อ
วัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอน
จากประสบการณ์การสอนคณิ ตศาสตร์เรื่ อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มา พบว่ามีนกั เรี ยน
ที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 มีเป็ นจานวนมากซึ่ งในปี การศึกษา 2558, 2559 พบว่า มีนักเรี ยน
26% , 15% ที่สอบไม่ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60 ตามลาดับ
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผูว้ ิจยั จึงต้องซ่ อมเสริ มนักเรี ยน โดยสนใจนาแบบฝึ กซ่ อมเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4 มาเป็ นสื่ อ
ประกอบการเรี ยนซ่ อมเสริ มแล้วนาผลที่ได้จากการศึกษามาเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งการเรี ยนการ
สอนวิชา คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ให้มี
ประสิทธิภาพและน่าสนใจมากยิง่ ขึ้น

ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย

ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ต้งั ความมุ่งหมายไว้ดงั นี้


1. เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ก่อนและหลังได้รับการ
จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์
2. เพื่อ เปรี ย บเที ย บผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร์ ห ลัง ได้รั บ การจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ กับ เกณฑ์ร้อยละ 60

ควำมสำคัญของกำรวิจัย
ผลจากการวิจยั ครั้งนี้ สามารถนาไปเป็ นแนวทางในการพัฒนาการเรี ยนการสอนวิชา
คณิ ตศาสตร์สาหรับครู ผสู ้ อนและผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เพือ่ ปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพ
ของการจัดการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้มีประสิทธิภาพ
สูงขึ้น
4

ขอบเขตของกำรวิจัย
กลุ่มประชำกรในกำรวิจัย
กลุ่ ม ประชากรที่ ใ ช้ใ นการวิจ ัย ครั้ ง นี้ เป็ นนัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึ กษาปี ที่ 4 โรงเรี ย น
จอมสุ รางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ที่ได้มาจากการเลือก
แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยได้ค ะแนนสอบเรื่ อ ง ความคิ ด รวบยอดเกี่ ย วกับ การ
ดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต ไม่ถึงร้อยละ 60 จานวน 12 คน

ระยะเวลำที่ใช้ ในกำรวิจัย
ดาเนิ นการวิจยั ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ใช้เวลาในการจัดการเรี ยนการสอน
นอกเวลาเรี ยน ตั้งแต่เวลา 16.00 น. – 17.00 น. ทุกวัน จานวน 8 ชัว่ โมง ประกอบด้วย ทดสอบก่อน
เรี ยน เป็ นระยะเวลา 1 ชัว่ โมง กิจกรรมการเรี ยนซ่ อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ ก เป็ นระยะเวลา 6 ชัว่ โมง
และทดสอบหลังเรี ยน เป็ นระยะเวลา 1 ชัว่ โมง

เนื้อหำทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นเนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์
ปั ญหาเกี่ยวกับเซต

ตัวแปรที่ศึกษำ
1. ตัว แปรอิ ส ระ คื อ การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้แ บบฝึ กซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์
2. ตัวแปรตาม คือ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์

นิยำมศัพท์ เฉพำะ
1. การสอนซ่อมเสริ ม หมายถึง การจัดการเรี ยนการสอนนอกชั้นเรี ยนปกติในเนื้อหาวิชา
ที่ได้เรี ยนมาแล้วในชั้นเรี ยนปกติ ให้แก่นกั เรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
ของคะแนนเต็ม จากการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101
คณิ ตศาสตร์ พ้ืน ฐาน ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4 เป็ นสื่ อ ประกอบการสอนซ่ อ มเสริ ม เพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม
5

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง เซต ให้แก่นักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่ากว่าร้อยละ 60 ของ


คะแนนเต็ม
2. แบบฝึ กซ่อมเสริ ม หมายถึง ชุดกิจกรรมการสอนนอกชั้นเรี ยนปกติในเนื้อหาวิชาที่
นักเรี ยนได้เรี ยนผ่านมาแล้วในชั้นเรี ยนปกติ โดยแบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา
ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 2 เล่ม (เล่มที่ 2 และ เล่มที่ 3) ซึ่งแต่
ละเล่มประกอบด้วย
- คาแนะนาในการใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต
- ตัวชี้วดั และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
- เนื้อหา
- แบบฝึ ก
- แบบทดสอบท้ายแบบฝึ ก
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ หมายถึง ความรู ้ความสามารถของ
นั ก เรี ย น ในด้า นความรู ้ ความเข้า ใจ และการน าไปใช้ห ลัง เรี ย น โดยใช้แ บบฝึ กซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ซึ่ งสามารถวัด
ออกมาเป็ นคะแนนที่ได้ จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต จานวน
30 ข้อ 30 คะแนน ซึ่งผูว้ จิ ยั สร้างขึ้นเป็ นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก
4. เกณฑ์ หมายถึง ร้อยละ 60 ขึ้นไปของคะแนนเต็ม 30 คะแนน กล่าวคือ ถ้านักเรี ยน
ได้คะแนนในการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนตั้งแต่ร้อยละ 60 ขึ้นไปของคะแนนเต็ม
30 คะแนน ถือว่า ผูน้ ้ นั สอบผ่านเกณฑ์

สมมติฐำนของกำรวิจัย
ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ต้งั สมมติฐานของการวิจยั ไว้ดงั นี้
1. นักเรี ยนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยแบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ มี
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน
2. นักเรี ยนที่ได้รับการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนโดยแบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์
หลังเรี ยนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
6

ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ ำจะได้ รับ

ส่งเสริ มและกระตุน้ ให้ครู ผสู ้ อนมีความสนใจในการสร้างแบบฝึ ก เพือ่ ใช้เป็ นสื่อ


ประกอบการเรี ยนการสอนมากขึ้น
7

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกีย่ วข้ อง

การรายงานการพัฒนาและผลการใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา


ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องและได้นาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้
1. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการสอนซ่อมเสริ ม
1.1 ความหมายของการสอนซ่อมเสริ ม
1.2 สาเหตุที่ตอ้ งจัดให้มีการสอนซ่อมเสริ ม
1.3 หลักการและจุดมุ่งหมายของการสอนซ่อมเสริ ม
1.4 ปั ญหาและความต้องการในการสอนซ่อมเสริ ม
1.5 แนวคิดในการดาเนินการสอนซ่อมเสริ ม
1.6 ขั้นตอนและระยะเวลาในการสอนซ่อมเสริ ม
1.7 ลักษณะนักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริ ม
1.8 ประโยชน์ของการสอนซ่อมเสริ ม
1.9 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการสอนซ่อมเสริ ม
2. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์
3.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์
3.2 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
3.3 สาเหตุที่ทาให้เกิดปั ญหาต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์
3.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์

1. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับกำรสอนซ่ อมเสริม


1.1 ควำมหมำยของกำรสอนซ่ อมเสริม
ได้มีผใู ้ ห้ความหมายของการสอนซ่อมเสริ มไว้ต่าง ๆ กันดังนี้
คมศักดิ์ หาญสิงห์ (2543)ให้ความหมายว่า การสอนซ่อมเสริ ม หมายถึง การสอน
เพือ่ ช่วยเหลือนักเรี ยนกรณี พเิ ศษจากการสอนตามปกติ โดยมุ่งที่จะปรับปรุ งแก้ไขสิ่งที่นกั เรี ยน
บกพร่ องหรื อส่งเสริ มให้กบั นักเรี ยนที่เรี ยนดีอยูแ่ ล้วให้ได้รับการพัฒนายิง่ ขึ้น
8

ปราณี สละชีพ (2547) ได้กล่าวถึงความหมายของการสอนซ่อมเสริ มว่า การสอน


ซ่อมเสริ ม คือ การจัดกิจกรรมประสบการณ์การเรี ยนรู ้ในลักษณะต่าง ๆ เพือ่ มุ่งที่จะแก้ไขนักเรี ยน
ที่มีปัญหาและข้อบกพร่ องให้มีความรู ้ความสามารถตามจุดมุ่งหมายทางการเรี ยนที่ผสู ้ อนได้กาหนด
ไว้
สุจินดา พัชรภิญโญ (2548) ได้ให้ความหมายว่า การสอนซ่อมเสริ ม หมายถึง
การจัดการเรี ยนการสอนนอกชั้นปกติในเนื้อหาวิชาที่ได้เรี ยนมาแล้วในชั้นเรี ยนปกติ ให้กบั นักเรี ยน
ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม
จากความหมายของการสอนซ่ อมเสริ มที่นักการศึกษาได้ให้ไว้ พอสรุ ปได้ว่า การ
สอนซ่อมเสริ ม หมายถึง การจัดการเรี ยนการสอนในเนื้อหาวิชาที่เรี ยนมาแล้วให้นกั เรี ยนผ่านเกณฑ์
ตามสถานศึกษากาหนด ซึ่งโรงเรี ยนจอมสุรางค์อุปถัมภ์กาหนดผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของคะแนน
เต็ม จากงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ มเป็ นสื่ อประกอบการสอนซ่ อมเสริ ม เพื่อช่วยแก้ไข
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนให้กบั นักเรี ยน การวิจยั ครั้งนี้ได้จดั ทาสื่อแบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์

1.2 สำเหตุที่ต้องจัดให้ มีกำรสอนซ่ อมเสริม


ในการจัด ให้มีการสอนซ่ อ มเสริ มนั้น ตามหลักสู ตรการเรี ย นการสอนในระดับ
มัธยมศึกษาได้กาหนดให้โรงเรี ยนมีการจัดสอนซ่อนเสริ มให้แก่นกั เรี ยนที่ยงั ไม่ผา่ นจุดประสงค์ของ
หลักสูตรเพือ่ ให้นกั เรี ยนได้บรรลุจุดประสงค์ที่ต้งั ไว้ ซึ่งสาเหตุที่ตอ้ งจัดให้มีการสอนซ่อมเสริ มนั้น
ได้มีผใู ้ ห้แนวคิดไว้ ดังนี้
ความจาเป็ นที่ตอ้ งมีการสอนซ่อมเสริ ม มีสาเหตุมาจากสิ่งสาคัญ 4 ประการ
(กรมสามัญศึกษา, 2537) คือ
1. สติปัญญาแตกต่างกัน
2. วิธีการเรี ยนรู ้หรื อความสามารถเฉพาะตัวในการที่จะรับรู ้เรื่ องราวต่างกัน
3. สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมแตกต่างกัน
4. แรงจูงใจในการเรี ยนแตกต่างกัน

สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2530) ได้กล่าวถึงเหตุผลอื่น ๆ อีกที่ตอ้ งสอนซ่อมเสริ ม คือ


1. นักเรี ยนมีความสามารถทางการเรี ยนต่า ในระหว่างการสอนคณิ ตศาสตร์ จะพบว่า
เมื่อให้งานใหม่นกั เรี ยนทา นักเรี ยนมักจะทาไม่ได้ จนกว่าจะมีการสอนซ้ า 2 หรื อ 3 ครั้ง
9

2. การสอนที่ไม่ได้ผลก็มีผล เพราะมีผสู ้ อนจานวนไม่นอ้ ยไม่รู้วา่ จะสอนเนื้อหา


ที่อยูใ่ นบทเรี ยนอย่างไร หรื อ จะใช้วธิ ีสอนอย่างไรจึงจะทาให้นกั เรี ยนบรรลุจุดประสงค์
ตามที่กาหนดไว้
3. นักเรี ยนแต่ละคนแตกต่างกันในด้านทัศนคติ ความถนัดและความซาบซึ้ง
4. เพือ่ เป็ นการสอนซ้ าในเรื่ องที่สอนไม่ดี หรื อยังไม่ได้สอนทั้งหมด โดยปกติ
นักเรี ยนจะพยายามเอาหลักการ วิธีการที่เคยเรี ยนมาเพียงเล็กน้อยไปใช้ ซึ่งเป็ นการไม่ถูกต้อง
อันที่จริ งแล้วควรจะได้เรี ยนหลักการเหล่านั้นทั้งหมดเสียก่อน
5. สื่อการเรี ยนการสอนยังไม่ดีพอ เช่น หนังสือเรี ยนยังใช้ภาษาไทยไม่เหมาะสม
กับนักเรี ยน นักเรี ยนอ่านแล้วไม่เข้าใจว่าหมายความว่าอย่างไร ตัวอย่างต่างๆ ที่อยูใ่ นหนังสือเรี ยน
ยังไม่ดี อุปกรณ์ต่างๆ ไม่ได้รับการพัฒนาที่ดีพอ
6. จุดประสงค์ต่างๆ ที่ต้งั ไว้บางจุดประสงค์อยูใ่ นระดับสูงหรื อต้องใช้เวลามาก
ในการที่นกั เรี ยนจะบรรลุ ดังนั้นการที่นกั เรี ยนจะบรรลุได้ภายหลังการสอนจึงเป็ นไปได้ยาก
จาเป็ นจะต้องมีการสอนซ่อมเสริ มเป็ นบางส่วน
7. จุดประสงค์บางจุดประสงค์เป็ นลาดับขั้นความต่อเนื่อง ฉะนั้นการที่นกั เรี ยน
จะผ่านจุดประสงค์ข้นั สูงจาเป็ นจะต้องผ่านจุดประสงค์ข้นั ต่าก่อน การสอนซ่อมเสริ มเพือ่ ให้ผา่ น
จุดประสงค์ข้นั ต้นจึงมีความจาเป็ น
จากสาเหตุต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าการสอนซ่อมเสริ มมีความจาเป็ นและ
มีความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ เนื่ องจากนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ได้ชา้ จะได้มีโอกาสในการเรี ยนรู ้ได้เท่าเทียม
กับคนอื่นๆโดยครู ผสู ้ อนจะต้องพิจารณาถึงสาเหตุที่ทาให้นักเรี ยนไม่สามารถเรี ยนรู ้ได้ในชั้นเรี ยน
ปกติเป็ นสาคัญ เพื่อจะได้เป็ นแนวทางในการปรับปรุ งแก้ไขวิธีการจัดการสอนซ่ อมเสริ มให้แก่
นักเรี ยนได้อย่างเหมาะสม

1.3 หลักกำรและจุดมุ่งหมำยของกำรสอนซ่ อมเสริม


เพือ่ ให้การเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มดาเนินไปจนบรรลุวตั ถุประสงค์ดว้ ยดี จาเป็ น
ต้องมีหลักการสอนที่ดีและเหมาะสม เพือ่ ช่วยให้ท้งั ครู และนักเรี ยนประสบผลสาเร็จในการเรี ยน
การสอนตามจุดมุ่งหมายที่ต้งั ไว้ ได้มีนกั การศึกษาหลายท่านได้นาเสนอไว้ มีดงั นี้
หลักการสอนซ่อมเสริ มเพือ่ ช่วยเหลือนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อน (กระทรวงศึกษาธิการ,
2535) มีดงั นี้
1. ศึกษาสาเหตุของปั ญหาและค้นหาข้อบกพร่ องของนักเรี ยน ถ้านักเรี ยนเรี ยน
อ่อนหลายวิชาควรแก้ไขหรื อสอนซ่อมเสริ มที่ละวิชาและเริ่ มจากสิ่งที่เป็ นรู ปธรรมไปหานามธรรม
10

2. วิธีสอนควรใช้วธิ ีการใหม่ๆไม่ซ้ ากับวิธีการเดิม ตลอดจนอุปกรณ์การสอน


ควรเลือก ให้เหมาะสมและแปลกไปจากเดิม
3. หลังจากมีการสอนซ่อมเสริ มแล้ว ครู ตอ้ งติดตามผลงานอย่างใกล้ชิด

การจัดการสอนซ่ อมเสริ ม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2535) พบว่า เมื่อผูส้ อนทราบ


ปั ญหาหรื อข้อบกพร่ องของนักเรี ยนและก็นามาเป็ นข้อมูลในการพิจารณาจัดสอนซ่ อมเสริ มให้แก่
นักเรี ยน ดังนั้นในทางปฏิบตั ิเมื่อสอนจบแต่ละหน่ วยผูส้ อนควรประเมินทันที เมื่อพบว่านักเรี ยน
คนใดไม่สามารถบรรลุตามจุดประสงค์ที่ระบุไว้ในหน่ วยนั้นจะได้ซ่อมเสริ มให้นกั เรี ยนทันทีซ่ ึ งใน
การจัดสอนซ่อมเสริ มนั้นสถานศึกษาควรดาเนินการใน 3 ระยะ ดังนี้
1. ภายหลังการประเมินผลก่อนเรี ยน ถ้าพบว่านักเรี ยนมีพ้นื ฐานความรู ้ไม่พอหรื อ
ยังไม่มีพฤติกรรมขั้นต้นก่อนการเรี ยนควรจะได้จดั การสอนซ่อมเสริ มให้
2. ภายหลังการประเมินผลระหว่างเรี ยน ถ้ายังพบว่านักเรี ยนยังไม่ผ่านตามเกณฑ์
ของจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ควรจะได้จดั การสอนซ่อมเสริ มให้
3. ภายหลังการตัดสินผลการเรี ยน ถ้านักเรี ยนได้ระดับผลการเรี ยน “0” ก่อน จะให้
นักเรี ยนสอบแก้ตวั ควรจะได้จดั การสอนซ่อมเสริ มให้
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2530) ได้กล่าวถึงหลักการซ่อมเสริ มไว้ ดังนี้
1. การสอนซ่อมเสริ มจะต้องเริ่ มต้นจากความต้องการ ความเหมาะสมและปั ญหา
ของนักเรี ยน ควรมีการศึกษาสาเหตุของปั ญหาที่ทาให้นกั เรี ยนเรี ยนอ่อน
2. การสอนซ่อมเสริ มจะต้องให้ความสาคัญกับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลและควรเปิ ด
โอกาสให้มีการทางานเป็ นกลุ่มบ้าง เพือ่ จะได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
3. การสอนซ่อมเสริ มจะต้องมีการจัดเตรี ยมไว้ล่วงหน้า
4. อุปกรณ์สาหรับการสอนซ่อมเสริ ม ควรเหมาะกับเนื้อหาและนักเรี ยนและควรมี
หลายอย่างเพือ่ ป้องกันความเบื่อหน่าย
5. ให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนในภาคปฏิบตั ิมาก ๆ
6. กระบวนการในการจัดการสอนซ่อมเสริ ม จะต้องมีความพอเหมาะพอควร
7. ควรใช้เทคนิคการสอนหลาย ๆ แบบ และจะต้องมีความยืดหยุน่ สามารถปรับ
ให้
เหมาะกับสภาพของนักเรี ยน
8. มีการทบทวนสิ่งที่ได้เรี ยนไปแล้ว
9. การสอนซ่อมเสริ มควรเป็ นการสอนเฉพาะเรื่ อง มิใช่เป็ นการสอนโดยทัว่ ๆ ไป
11

10. จัดช่วงเวลาในการฝึ กให้เหมาะสม ควรให้มีระยะพัก


11. ต้องสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั นักเรี ยนโดยการให้กาลังใจ ความหวังและเป็ น
คู่คิดในการแก้ปัญหาตลอดจนเสริ มแรง ให้ความรัก ความเมตตา และให้ความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ
12. กิจกรรมและแบบฝึ กหัดสาหรับการสอนซ่อมเสริ ม จะต้องน่าสนใจ สนุกและ
ไม่ซ้ าซาก
13. ให้นกั เรี ยนแข่งขันกับตัวเองมากกว่าแข่งขันกับเพือ่ นในกลุ่ม
14. ต้องให้นกั เรี ยนได้ทราบความก้าวหน้าของตนเองทุกระยะอย่างสม่าเสมอ
ปราณี สละชีพ (2547) ได้กล่าวถึงหลักการซ่อมเสริ มไว้วา่
1. ต้องรู ้ปัญหาหรื อข้อบกพร่ องของนักเรี ยน เพือ่ จะช่วยเหลือได้ถูกต้อง
2. ควรให้วธิ ีการที่ต่างจากการสอนปกติ เพือ่ ให้นกั เรี ยนสนใจและเข้าใจยิง่ ขึ้น
3. การเสนอบทเรี ยนและกิจกรรมต่าง ๆ ควรให้เหมาะสมกับความสามารถและ
ความสนใจของนักเรี ยน
4. ควรให้กาลังใจและเอาใจใส่ช่วยเหลือนักเรี ยนอยูเ่ สมอ
5. ควรมีการติดตามผลอย่างสม่าเสมอ
จากหลักการสอนซ่ อมเสริ มที่มีผเู ้ สนอไว้แล้วนั้น สรุ ปได้ว่า การสอนซ่ อมเสริ ม
นั้นครู จะต้อ งรู ้ปัญ หาหรื อ ข้อ บกพร่ อ งของนัก เรี ยนเป็ นขั้น ต้น จากนั้นครู จึงจะนาปั ญหาหรื อ
ข้อบกพร่ องนั้นไปจัดทาชุดการสอนหรื อจัดกิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับความสามารถและความ
สนใจของนักเรี ยน ตลอดจนควรจะต้องมีการให้กาลังใจและเอาใจใส่ รวมไปถึงการติดตามผล
อย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอด้วย

1.4 ปัญหำและควำมต้ องกำรในกำรสอนซ่ อมเสริม


การเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มเป็ นไปเพือ่ แก้ไขปรับปรุ งข้อบกพร่ องของนักเรี ยนทาให้
นักเรี ยนมีความเข้าใจมากขึ้น ซึ่ งได้มีผูท้ าการศึกษาเกี่ยวกับปั ญหาและความต้องการในการสอน
ซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ไว้ซ่ ึง สิริพร ทิพย์คง (2539) ได้รวบรวมไว้ พอสรุ ปได้ดงั นี้คือ
1. สาเหตุของปั ญหานั้นเกิดจากตัวนักเรี ยน และหน้าที่ความรับผิดชอบของครู เช่น
นักเรี ยนไม่มีเวลาสาหรับการเรี ยนซ่อมเสริ ม นักเรี ยนขาดความกระตือรื อร้น นักเรี ยนมีสติปัญญา
แตกต่างกัน ครู มีชวั่ โมงสอนมากเกินไป จานวนครู มีไม่เพียงพอกับนักเรี ยน วิธีการสอนของครู
ที่ไม่แปลกใหม่ ครู ไม่ทราบสาเหตุและข้อบกพร่ องของนักเรี ยนตลอดจนสื่อการเรี ยนต่างๆยังไม่ดี
พอ
12

2. นักเรี ยนมีความต้องการครู ประจาวิชาคนเดิมเป็ นผูส้ อนซ่ อมเสริ มให้ตอ้ งการใช้


ห้อ งเรี ย นเดิ ม เป็ นสถานที่ ใ ช้ส อนซ่ อ มเสริ มและสอนภายในช่ ว งเวลาที่ กาหนดเป็ นเวลาเรี ยน
ตลอดจนการจัดให้นกั เรี ยนที่ขาดเรี ยนบ่อยเข้ารับการสอนซ่อมเสริ ม
จากปั ญหาและความต้องการในการสอนข้างต้นพอสรุ ปได้ว่า ปั ญหาในการสอน
ซ่อมเสริ มมี 2 ประการ คือ ปั ญหาที่ตวั นักเรี ยนขาดความเอาใจใส่ ต่อตนเอง และปั ญหาที่ครู ผสู ้ อน
มีภาระงานสอน และงานอื่นๆ มากเกินไป แต่ถา้ หากมีนักเรี ยนที่ตอ้ งการให้มีการซ่ อมเสริ มครู ก็
ควรจะจัดเวลาและเนื้อหาในการสอนซ่อมเสริ มให้เหมาะสมกับความต้องการของนักเรี ยนด้วย

1.5 แนวคิดในกำรดำเนินกำรสอนซ่ อมเสริม


การจัดการเรี ยนการสอนซ่อมเสริ ม ครู หรื อผูส้ อนควรมีหลักการ จุดมุ่งหมาย และ
วิธีการสอนซ่อมเสริ มที่เหมาะสมกับนักเรี ยน ซึ่งได้มีผใู ้ ห้ขอ้ เสนอแนะแนวคิดเกี่ยวกับการดาเนิน
การสอนซ่อมเสริ มไว้ เช่น สาธร แก่นมณี (2525 อ้างถึงใน สุรภี ฤทธิวงศ์, 2549) สรุ ปได้ดงั นี้
1. ทดสอบนักเรี ยนด้วยวิธีการต่างๆ เพือ่ ดูความบกพร่ องของนักเรี ยน เช่น ทดสอบ
จากการสังเกต การสอบ การสัมภาษณ์
2. นาผลการทดสอบมาพิจารณาวางแผนการสอนซ่ อมเสริ ม โดยกาหนดเวลาและ
วัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสม
3. ดาเนินการสอนซ่อมเสริ มด้วยรู ปแบบต่างๆ เช่น การสอนเป็ นรายบุคคล การ
สอน
เป็ นกลุ่ ม พร้ อ มมี ก ารทดสอบเป็ นระยะเพื่ อ ดู ค วามก้า วหน้ า และแก้ไ ขปรั บ ปรุ ง แก้สิ่ ง ที่ ผิด
ให้ถูก โดยให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิซ้ าให้ถูกต้องเป็ นจานวนหลายๆ ครั้ง มีการสอนซ้ าในกรณี ที่มีจานวน
ผูไ้ ม่ผา่ นเกณฑ์ประมาณ 20%- 50% ของจานวนนักเรี ยนในชั้น
4. อาจให้นกั เรี ยนเป็ นผูช้ ่วยสอน เป็ นผูด้ าเนินการสอนซ่อมเสริ ม หรื อตัวครู เป็ น
ผูด้ าเนิ นการสอนซ่ อมเสริ มเอง นอกจากนี้ ตวั ครู กับนักเรี ยนผูช้ ่ วยร่ วมกันเป็ นผูด้ าเนิ นการสอน
ซ่อมเสริ ม
5. การสอนใหม่ ใช้ในกรณี ที่นักเรี ยนไม่ผ่านเกณฑ์มี มากกว่า 50% ของชั้นเรี ยน
ซึ่ งอาจใช้เป็ นแนวทางการสอนโดยการใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ป การจัดกิ จกรรมให้นักเรี ยนลงมือ
ปฏิบตั ิ
กระทรวงศึกษาธิการ (2535) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการสอนซ่อมเสริ มว่า โรงเรี ยน
แต่ละโรงเรี ยน ย่อมจะใช้วธิ ีการสอนซ่อมเสริ มที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ข้ นึ อยูก่ บั สภาพของโรงเรี ยนที่
แตกต่างกัน วิธีการสอนซ่อมเสริ มในแต่ละวิธีมีรายละเอียดและข้อเสนอแนะดังนี้
13

1. การสอนแบบตัวต่อตัว ระหว่างครู ผสู ้ อนกับนักเรี ยนเป็ นวิธีที่ดีที่สุด เพราะผูส้ อน


สามารถเลือกใช้ถอ้ ยคาหรื อวิธีการได้เหมาะสมกับนักเรี ยน สามารถจูงใจความสนใจของนักเรี ยน
ได้อย่างใกล้ชิดและสามารถสอนได้ตามที่นกั เรี ยนกาลังประสบปั ญหา ผูส้ อนนอกจากจะเป็ นครู
ประจาชั้นหรื อครู ประจาวิชาแล้ว ถ้าหากใช้ครู คนอื่นได้ก็จะยิง่ ดี เพราะครู ผสู ้ อนจะได้ให้ความรู ้
ความเข้าใจแก่นกั เรี ยนในแนวใหม่
2. การสอนเป็ นกลุ่มย่อย เพือ่ ความสะดวกในการจัดนักเรี ยนที่มีปัญหาเหมือนๆกัน
อยู่ในกลุ่ ม เดี ยวกัน กลุ่ ม หนึ่ งประมาณ 2-3 คน ผูส้ อนอาจใช้วิธีสลับ หมุ น เวียนไปทีล ะกลุ่ ม
ข้อ ดี ของวิธีน้ ี คือ นักเรี ยนในแต่ล ะกลุ่ มจะช่ วยกันแก้ปัญหาความเข้าใจบทเรี ยนซึ่ งกันและกัน
ร่ วมมือซึ่ งกันและกันไม่ทาให้รู้สึกว่ามีปมด้อยหรื อปมเด่น ผูส้ อนนอกจากจะใช้ครู ที่สอนประจา
แล้วอาจจะเปลี่ยนให้ผสู ้ อนอื่นสอนแทนหรื อหมุนเวียนกันก็ได้
3. นักเรี ยนสอนกันเอง ในการสอนซ่ อมเสริ มผูส้ อนจะคัดเลือกนักเรี ยนเก่ ง ช่ ว ย
นักเรี ยนที่ยงั ไม่บรรลุจุดประสงค์ก็ได้ โดยให้ช่วยสอนตัวต่อตัวหรื อสอนเป็ นกลุ่มย่อย ข้อดีของ
การให้นักเรี ยนสอนกันเอง คือ นักเรี ยนใช้ภาษาเดียวกัน ดังนั้นการถ่ายทอดความรู ้ก็ดีหรื อการใช้
ถ้อยคาอธิบายก็ดียอ่ มทาให้ง่ายต่อการเข้าใจกว่าภาษาที่ครู ใช้และยังทาให้ผชู ้ ่วยสอนต้องสนใจการ
เรี ยนมากยิง่ ขึ้น เพราะต้องมีความรับผิดชอบมากยิง่ ขึ้น จากรายงานวิจยั ในเรื่ องนี้ พบว่าทั้งผูช้ ่ ว ย
สอนและนักเรี ยนมีความเปลี่ ยนแปลงไปในทางดี นักเรี ยนแสดงความชื่นชมกับระบบการช่ ว ย
สอนนี้ และความรู ้สึกต่อเพือ่ นนักเรี ยนด้วยกันในทางดี การคัดเลือกผูช้ ่วยสอนนอกจากจะคัดเลือก
นักเรี ยนเก่งในชั้นเดียวกันแล้วอาจจะใช้นกั เรี ยนที่อยูใ่ นระดับสูงกว่าก็ยอมทาได้
4. แบบเรี ยนสาเร็ จรู ป ในกรณี ผสู ้ อนพบว่านักเรี ยนมีปัญหาในการเรี ยนบางเรื่ องก็
อาจใช้แบบเรี ยนสาเร็ จรู ปแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อนเป็ นสื่ อในการสอน โดยนักเรี ยนแต่ละคนจะต้อง
อ่านทาแบบฝึ กหัดและตรวจคาตอบด้วยตนเอง โดยใช้แบบเรี ยนสาเร็จรู ปนั้น
5. สมุดแบบฝึ กหัดเรี ยนด้วยตนเอง ลักษณะของแบบฝึ กหัดเรี ยนด้วยตนเองคล้า ย
แบบเรี ยนสาเร็ จรู ป เพราะเริ่ มต้นการใช้บทเรี ยนแล้วให้ทาแบบฝึ กหัด ต่อ จากนั้นเฉลยคาตอบ
ลักษณะต่างกันก็คือ สมุดแบบฝึ กหัดมีแบบฝึ กหัดมากกว่าบทเรี ยนสาเร็จรู ป เพราะมีจุดมุ่งหมายที่
จะให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กหัดเป็ นการฝึ กทักษะให้มากยิง่ ขึ้น
6. ให้กิจกรรมเพิม่ ภายหลังการวินิจฉัยปั ญหา ถ้าพบว่านักเรี ยนมีความเข้าใจแล้ว แต่
สมควรได้รับการฝึ กทักษะเพิ่มอีก ผูส้ อนอาจใช้วิธีการมอบหมายงานให้ทา เช่ น ทาแบบฝึ กที่มี
ระดับยากง่ายใกล้เคียงกันเพิ่มขึ้น โดยจะให้ทาที่โรงเรี ยนหรื อ จะให้ทาการบ้านก็ได้แล้วแต่ความ
เหมาะสม
14

จากแนวคิดในการดาเนินการสอนซ่ อมเสริ มข้างต้น สรุ ปได้วา่ การดาเนินการสอน


ซ่อมเสริ ม จะใช้วธิ ีการสอนซ่อมเสริ มแบบใดนั้นขึ้นอยูก่ บั สภาพของโรงเรี ยน สภาพของห้องเรี ยน
ความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลของนั ก เรี ย น ศัก ยภาพของนัก เรี ย น รวมถึ ง ความสามารถและ
ประสบการณ์ของครู ผสู ้ อนด้วย

1.6 ขั้นตอนและระยะเวลำในกำรสอนซ่ อมเสริม


อาไพ สุจริ ตกุล (2524 อ้างถึงใน สุ รภี ฤทธิวงศ์, 2549) ได้กล่าวถึงขั้นตอน
ของการดาเนินการสอนซ่อมเสริ มไว้วา่
1. วัดความสามารถทัว่ ๆไปของนักเรี ยน
2. แยกนักเรี ยนที่มีความบกพร่ อ ง เพื่อ การสอนซ่ อ มเสริ ม แต่ไ ม่ จาเป็ นต้องบอก
ให้กับ นัก เรี ย นรู ้ ต ัว ก่ อ น เพราะบางคนอาจเกิ ด ปมด้อ ยภายหลัง นัก เรี ย นที่ แ ยกออกมานี้ เป็ น
นักเรี ยนที่มีความสามารถในการเรี ยนต่ากว่าระดับเฉลี่ย
3. สารวจข้อบกพร่ องของนักเรี ยนที่แยกออกมานั้นให้ชดั เจนว่า มีความบกพร่ อ ง
อย่างไรบ้าง โดยต้องมีการวิเคราะห์เป็ นรายบุคคลอย่างละเอียด นักเรี ยนมีความบกพร่ องทางด้าน
ร่ างกายอาจต้องส่งให้แพทย์รักษา และบางคนมีความบกพร่ องทางด้านสติปัญญาหรื ออารมณ์ก็อาจ
ส่งให้จิตแพทย์หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขาช่วยเหลือโดยตรง
4. ดาเนิ นการแก้ไขโดยเริ่ มวิธีสอนเพื่อซ่ อมเสริ มให้แก่นักเรี ยนแต่ละคนเมื่อทราบ
ข้อบกพร่ องของนักเรี ยนแล้ว
ศรี ยา นิ ยมธรรม (2541) ได้เสนอลาดับขั้นตอนในการสอนซ่ อมเสริ มนักเรี ยนที่มี
ความบกพร่ องทางการเรี ยน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การวินิจฉัยปั ญหา ก่อนที่จะสอนซ่ อมเสริ มครู วินิจฉัยปั ญหาของนักเรี ยน
โดยการวิเคราะห์พฤติกรรมเพื่อ ค้นหาสิ่ งที่บกพร่ อ งที่เป็ นอุ ปสรรคต่อการเรี ยนและเพื่อให้การ
ช่ ว ยเหลื อ ได้ถู ก จุ ด การวินิ จ ฉัย อาจท าได้อ ย่า งไม่ เ ป็ นทางการ เช่ น การสัง เกตผลงานและ
พฤติกรรมหรื อ การวินิจฉัยอย่า งเป็ นทางการโดยการทดสอบต่ างๆ ซึ่ งอาจทาเป็ นกลุ่ ม หรื อ
รายบุคคลตามความจาเป็ นการทดสอบต่างๆ ทาในลักษณะของการสารวจปั ญหาขั้นต้นก่อนแล้วจึง
ศึกษาอย่างละเอียดถึงปั ญหาที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ครู ควรเลือกปฏิบตั ิตามที่จาเป็ นเท่านั้น
ขั้นที่ 2 การวางแผนการสอนซ่อมเสริ ม หลังจากการวินิจฉัยว่านักเรี ยนมีปัญหาใน
ด้านใดแล้วครู ควรจะวางแผนการสอนซ่ อ มเสริ มโดยการกาหนดจุดมุ่ งหมายของการสอนเป็ น
รายบุคคลหรื อเฉพาะกลุ่มของนักเรี ยนที่มีปัญหาเดียวกันแล้วเขียนโครงการสอนซ่ อมเสริ มอย่าง
ละเอียด
15

ขั้นที่ 3 การปฏิบตั ิการสอน ในการสอนซ่ อมเสริ มนอกจากจะต้องดาเนิ นการไป


ตามแผนที่วางไว้แล้ว ครู ควรจะระลึกเสมอว่าครู ควรใช้กิจกรรมและสื่ อการสอนใหม่ๆ ที่แตกต่าง
จากที่ใช้ในเวลาปกติโดยคานึ งถึงช่วงเวลาที่เหมาะสม แรงจูงใจ การปรับพฤติกรรมและการใช้
แรงเสริ ม ดังนั้นการสอนแต่ละครั้งจึงต้องคานึงถึงระดับที่พอเหมาะกับความสามารถของนักเรี ยน
แต่ละคนหรื อแต่ละกลุ่ม
ขั้นที่ 4 การวัดผล จะต้อ งมี การวัดผลการสอนซ่ อมเสริ มเป็ นระยะๆ เพื่อ ทราบ
ความก้าวหน้าของนักเรี ยนและความเหมาะสมของกิจกรรมที่ใช้สอน หากมีความบกพร่ องที่จุดใด
จะได้รีบแก้ไขทันที หรื อหากมีความก้าวหน้าดีก็จะได้พิจารณาว่าการสอนซ่ อมเสริ มควรดาเนิ น
ต่อไปหรื อยุติเพราะถึงจุดหมายปลายทางแล้ว
สาหรับหลักการเกี่ยวกับระยะเวลาในการจัดการเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มนั้น
Dechant (1971, อ้างถึงใน สุจินดา พัชรภิญโญ, 2548)ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับระยะเวลาในการสอน
ซ่อมเสริ มไว้วา่ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถเรี ยนซ่อมเสริ มทั้งชัว่ โมง ศรี ยา นิยม
ธรรมและประภัสสร นิยมธรรม(2525 อ้างถึงในไพจิตร โชตินิสากรณ์, 2530)ได้เสนอแนะว่า การ
สอน ซ่อมเสริ มจะสอนสัปดาห์ละกี่ครั้งก็ได้ข้ นึ อยูก่ บั ปั ญหาของแต่ละคน ในการสอนครั้ง
หนึ่งๆ ไม่ควรเกิน 1 ชัว่ โมงและไม่ควรน้อยกว่า 15 นาที สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2530) ได้กล่าวว่า
เวลาที่ใช้สอนซ่อมเสริ มอาจใช้เวลาว่างตอนท้ายชัว่ โมง นอกเวลาเรี ยนหรื อวันหยุดก็ได้และสุพจน์
แกล้วกล้า (2534) ได้กล่าวว่า ระยะเวลาในการสอน ซ่อมเสริ มควรจัดให้เหมาะสมกับวัย ระดับ
การศึกษาและลักษณะปั ญหาของนักเรี ยนแต่ละคน
การประเมินผลการสอนซ่อมเสริ มนั้นขึ้นอยูก่ บั กิจกรรมที่ครู จดั ฉะนั้นครู ผสู ้ อน
จะเลือกใช้วธิ ีในต้องคานึงถึงประสิทธิภาพที่จะได้รับและใช้เวลาสั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้และในการ
ประเมินผลการเรี ยนนั้นมีเกณฑ์การประเมินแบบอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม ซึ่งได้มีนกั จิตวิทยาหลาย
ท่าน เช่น Levellen and Nagy (1981, อ้างถึงใน สุจินดา พัชรภิญโญ, 2548) ได้ให้แนวคิดไว้วา่
การประเมินผลการสอนซ่อมเสริ มควรเป็ นการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์เพือ่ วินิจฉัยว่านักเรี ยนมี
ความรู ้ความสามารถ หรื อข้อบกพร่ องในเรื่ องใด หรื อจุดประสงค์ขอ้ ใดและในการสร้างเกณฑ์การ
เรี ยนรู ้ในกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนเพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องทางการเรี ยน ซึ่งเป็ นขั้นตอนที่
สาคัญขั้นตอนหนึ่งของ การจัดการเรี ยนการสอนที่ทุกครั้งของการสอน ครู ตอ้ งกาหนดจุดมุ่งหมาย
ของการเรี ยนการสอนและกาหนดเกณฑ์การเรี ยนรู ้ ไว้ให้ชดั เจน
สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มหรื อการเรี ยนการสอนที่มีการศึกษา
ข้อบกพร่ องทางการเรี ยนโดยใช้แบบทดสอบวินิจฉัยและมีการแก้ไขข้อบกพร่ องนี้ สานักทดสอบ
ทางการศึกษา (2539) และดวงเดือน อ่อนน่วม (2533)ได้ให้แนวคิดที่สอดคล้องกันในการกาหนด
16

เกณฑ์การเรี ยนรู ้ว่าเกณฑ์การประเมินใช้ความถูกต้องอย่างน้อย 67% หรื อ 2 ใน 3 ซึ่ ง หมายความ


ว่านักเรี ยนทาถูกหมด ทั้ง 3 ข้อ หรื อถูก 2 ข้อใน 3 ข้อ ถือว่านักเรี ยนมีความเข้าใจในเนื้ อหานั้นๆ
การใช้เกณฑ์ 67% ช่วยให้ผวู ้ ินิจฉัยแน่ ใจได้ว่า การที่นักเรี ยนทาผิดเนื่ องจากความไม่เข้าใจอย่าง
แท้จริ งไม่ใช่ เพราะความพลั้งเผลอ และกระทรวงศึกษาธิการ(2532) ได้กล่าวไว้ว่าในการจัด การ
เรี ยนการสอนครู ผสู ้ อนต้องแจ้งให้นกั เรี ยนทราบเกณฑ์การผ่านจุดประสงค์การเรี ยนรู ้และเกณฑ์ข้ นั
ต่าของการผ่านวิชาก่อนสอนรายวิชานั้น ซึ่งเกณฑ์การผ่านจุดประสงค์การเรี ยนรู ้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ผูส้ อน
กาหนดความเหมาะสมของระดับขั้น ซึ่ งการกาหนดเกณฑ์ของการผ่านแต่ล ะจุดประสงค์ค วร
กาหนดตามความ สาคัญของจุดประสงค์ จุดประสงค์ที่สาคัญมากเกณฑ์ควรจะสู ง จุดประสงค์ที่
สาคัญรองลงมาเกณฑ์อ าจลดลงได้ แต่ตอ้ งไม่ ต่ ากว่าร้อ ยละ 50 และเกณฑ์ข้ นั ต่ าของการผ่า น
รายวิชานั้นคือ ร้อยละ 50 ของคะแนนระหว่างภาคเรี ยนรวมกับปลายภาคเรี ยน
จากขั้นตอนและระยะเวลาในการสอนซ่ อ มเสริ มที่ไ ด้กล่ าวมาแล้วนั้น สรุ ปได้ว่า
การสอนซ่อมเสริ มต้องมีการศึกษาสาเหตุของปั ญหาและค้นหาข้อบกพร่ องของนักเรี ยน แล้วจัดการ
สอนซ่อมเสริ มเพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องเหล่านั้นตามลาดับขั้นตอนจากการวินิจฉัยปั ญหา การวางแผน
การสอนซ่ อมเสริ ม การปฏิบตั ิการสอนไปจนถึ งการวัดผล และวิธีการสอนควรใช้วิธีการใหม่ ๆ
ไม่ ซ้ ากับวิธีการเดิ มและใช้อุปกรณ์การสอนที่เหมาะสมและแปลกใหม่ไปจากเดิม สาหรับเวลา
ที่ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มนั้น ควรใช้เวลาในการจัดการเรี ยนการสอนให้เหมาะสม
กับวัย ระดับการศึกษาและลักษณะของปั ญหาของนักเรี ยนแต่ละคน ซึ่ งเวลาที่ใช้สอนซ่ อมเสริ ม
อาจใช้เวลาว่างนอกเวลาเรี ยนโดยนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถสอนซ่ อ มเสริ มได้ท้ งั
ชัว่ โมง และในการประเมินผลการสอนซ่ อมเสริ มควรใช้วิธีการประเมินผลทั้ง การตรวจงาน การ
สังเกต การสัมภาษณ์และการสอบข้อเขียนและใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ ซึ่ งเกณฑ์ที่น่าพอใจ
และ สามารถปฏิบตั ิได้ ควรเป็ นเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป ซึ่งหมายถึง นักเรี ยนเรี ยนได้คะแนนอย่าง
น้อย ร้อยละ 50 ของคะแนนในแต่ละจุดประสงค์การเรี ยนรู ้

1.7 ลักษณะนักเรียนที่ได้ รับกำรสอนซ่ อมเสริม


ตามแนวคิดของ รวีวรรณ ธุมชัย (2536) ผูเ้ ขียนบทความเกี่ยวกับการสอนซ่อมเสริ ม
วิชาคณิ ตศาสตร์ ลักษณะนักเรี ยนที่ควรได้รับการสอนซ่ อมเสริ มความเป็ นนักเรี ยนที่ขาดความ
สนใจในการเรี ยน มีความสามารถในการเรี ยนรู ้อยูใ่ นระดับต่ากว่าคนอื่น มีทศั นคติที่ไม่ดีต่อการ
เรี ยน อันเนื่ องมาจากความผิดหวังในผลการเรี ยน ได้รับความกดดันจากการเรี ยนและในด้าน
ผลสาเร็ จในการเรี ยน จัดอยูใ่ นร้อยละต่ากว่า 30 อันเนื่ องมาจากสาเหตุต่าง ๆ คือ ความเจริ ญด้าน
อารมณ์ต่า ความเจริ ญด้านสังคมมีนอ้ ย ความเจริ ญด้านสติปัญญาต่า ความสามารถในการเรี ยนรู ้
17

น้อย มีความบกพร่ องทางร่ างกาย ตลอดจนมีประสบการณ์ทางการเรี ยนและประสบการณ์ทวั่ ไป


น้อยกว่าผูอ้ ื่น
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2530) ยังระบุเหตุผลอื่นๆ อีก เช่น นักเรี ยนที่มีความสามารถ
ทางการเรี ยนต่าในระหว่างการสอน พบว่า เมื่อให้งานใหม่นกั เรี ยนมักจะทาไม่ได้จนกว่าจะมีการ
สอนซ้ า นักเรี ยนแต่ละคนแตกต่างกันในด้านทัศนคติ ความถนัดและความซาบซึ้ ง สื่ อการเรี ยน
ต่างๆยังไม่ดีพอ จุดประสงค์ต่างๆ ที่ต้ งั ไว้บางจุดประสงค์อ ยู่ในระดับสู ง หรื อต้องใช้เวลามาก
ในการที่นักเรี ยนจะบรรลุ และจุดประสงค์ข้ นั สู งจาเป็ นต้องผ่านจุดประสงค์ข้ นั ต้นก่อ น ดังนั้น
การซ่อมเสริ มเพือ่ ให้ผา่ นจุดประสงค์ข้นั ต้นจึงจาเป็ นอย่างยิง่
จากลักษณะนักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ ม ข้างต้น พอสรุ ปได้ว่า ลักษณะของ
นักเรี ยนที่ควรได้รับการสอนซ่อมเสริ มคือ นักเรี ยนที่มีระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ ขาดความเอาใจ
ใส่ต่อการเรี ยนและมีทศั นคติที่ไม่ดีต่อการเรี ยน ทั้งนี้เพือ่ ช่วยให้นกั เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
สูงขึ้น เอาใจใส่ต่อการเรี ยนมากขึ้นและมีทศั นคติที่ดีต่อการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์สูงขึ้นด้วย

1.8 ประโยชน์ ของกำรซ่ อมเสริม


ในการจัดการเรี ยนการสอนซ่อมเสริ มประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยน
ดังมีนกั วิชาการหลายท่านได้กล่าวไว้ดงั นี้
จินนาภา สีตบุตร (2521 อ้างถึงใน สุจินดา พัชรภิญโญ , 2548 ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์วิธีการหารของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 2 ที่ไม่มีการสอบย่อ ย
พบว่า การสอนซ่อมเสริ มให้ตรงจุดบกพร่ องตามลาดับขั้นตอนของการเรี ยนรู ้และการสอบย่อยท้าย
บทเรี ยนทุกครั้ง เพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนสูงขึ้น
จนบรรลุเกณฑ์มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตามจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมของบทเรี ยน ซึ่ งเป็ นการเพิ่ม
คุณภาพของการเรี ยนรู ้ให้มีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น
บุญส่ง ศุภศิริรัตน์ (2551) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการสอนซ่อมเสริ มไว้ดงั นี้
1. ทาให้นกั เรี ยนที่เรี ยนอ่อนสามารถเรี ยนได้ทนั เพือ่ น
2. ทาให้นกั เรี ยนทั้งหมดเรี ยนได้ดีข้ นึ กว่าเดิม
3. ทาให้นกั เรี ยนที่เรี ยนเก่งอยูแ่ ล้ว สามารถเรี ยนได้ดีที่สุดตามความสามารถ
จากทั้งหมดที่กล่าวมาจะเห็นได้วา่ การสอนซ่อมเสริ มมีความสาคัญ และเป็ นเรื่ องที่
ครู ผสู ้ อนควรเอาใจใส่ศึกษาทาความเข้าใจ เพื่อที่จะได้หาทางช่วยเหลือนักเรี ยนที่ตนสอนให้มีผล
การเรี ยนที่ดีข้ นึ เข้าใจตนเองมากขึ้น อันจะเป็ นทางให้นกั เรี ยนได้ประสบผลสาเร็จในการเรี ยนและ
การงานอาชีพต่อไปในอนาคต
18

1.9 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับกำรสอนซ่ อมเสริม


บริ บูรณ์ ศรี มาชัย (2529) และพีระ รัศมี สว่าง (2530) ได้ศึกษาปั ญหาและความ
ต้องการในการสอนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ พบว่า การสอนซ่อมเสริ มมีความจาเป็ นและมีประโยชน์
การสอนซ่อมเสริ มโดยใช้ครู คนเดิม นาเนื้อหาที่นกั เรี ยนไม่เข้าใจมาสอนซ้ าให้แก่นกั เรี ยน สภาพที่
เป็ นปั ญหามากคือปั ญหาในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน นักเรี ยนไม่เห็นความสาคัญของการ
สอนซ่อมเสริ ม ขาดความกระตือรื อร้นในการเรี ยนและขาดสื่อการเรี ยน นักเรี ยนต้องการให้ครู เอา
ใจใส่ เ ป็ นรายบุ ค คล และต้อ งการให้ครู มี วิธี การช่ ว ยให้นัก เรี ย นเข้า ใจบทเรี ย นและเรี ย นอย่าง
สนุกสนาน
ณรงค์ บูรณะศรี ศกั ดิ์ (2530) ได้ทาการศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนรายบุคคล
เพือ่ การสอนซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องปริ มาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ชั้นประถมศึกษาปี ที่
5 สรุ ปผลว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ ม
โดยใช้ ชุดการสอนรายบุคคลกับนักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ มตามปกติแตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และค่าร้อยละของจานวนนักเรี ยนที่ผา่ นเกณฑ์การวัดจุดประสงค์
หลังซ่อมเสริ ม โดยใช้ชุดการสอนรายบุคคลมากกว่าการสอนซ่อมเสริ มตามปกติ
ไพจิ ต ร โชติ นิ ส ากรณ์ (2530) ได้ศึ ก ษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ มวิชา
คณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ไ ด้รับการสอนซ่ อ มเสริ มโดยครู กับการสอน
ซ่ อมเสริ ม โดยใช้บทเรี ยนโปรแกรม ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์
ที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ ม โดยครู กบั การสอนซ่ อมเสริ มโดยใช้บทเรี ยนโปรแกรมไม่แตกต่างกัน
ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05
วาทินี ธี รตระกูล (2534) ได้ศึกษาเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและความ
คงทนในการเรี ยนรู ้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ในการสอนซ่ อ มเสริ ม จุดบกพร่ อ งเรื่ อ งเวลา ของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ชุดการสอนซ่ อ มเสริ มกับวิธีสอนซ่ อมเสริ มตามปกติ ผล
ปรากฏว่า ความคงทนในการเรี ยนรู ้ของกลุ่ มที่ไ ด้รับการสอนซ่ อ มเสริ มโดยใช้ชุ ดการสอนกับ
วิธีการสอนตามปกติ ไม่แตกต่างกัน
อดิ เรก เนตยานันท์ (2536) ได้ทาการศึกษาเกี่ ยวกับการเปรี ยบเทียบผลสัม ฤทธิ์
ทางการเรี ยนวิชาวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ฟังก์ชนั ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้บทเรี ยน
สาเร็จรู ปและใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ปประกอบเทปโทรทัศน์ ผลปรากฏว่านักเรี ยน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
4 กลุ่มที่เรี ยนซ่ อมเสริ ม โดยใช้บทเรี ยนสาเร็ จรู ปประกอบเทปโทรทัศน์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
สูงกว่านักเรี ยนกลุ่มที่เรี ยนซ่อมเสริ มโดยการใช้บทเรี ยนสาเร็จรู ป อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
19

คมศักดิ์ หาญสิงห์ (2543) ได้ศึกษาผลของการสอนซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง


โจทย์ปัญหาร้อยละของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ มจากครู แบบปกติ
และจากบทเรี ยนการ์ตูน ผลปรากฏว่า นักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่ อมเสริ มโดยใช้บทเรี ยนการ์ตูน
กับนักเรี ยนที่ไ ด้รับการสอนซ่ อ มเสริ มโดยครู แบบปกติ มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกัน
อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
สุ จินดา พัชรภิญโญ (2548) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง
โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิ ง เส้น สองตัวแปรของนัก เรี ยนชั้นมัธ ยมศึก ษาปี ที่ 3 ที่สอนโดยใช้
ชุดการสอนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์หลังจากเรี ยน สู งกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01
สุ รภี ฤทธิ วงศ์ (2549) ได้ศึกษา ผลการศึกษาปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ซ่ อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การแก้โจทย์ปัญหาร้อ ยละ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยน
สามเสนนอก ที่สอนโดยใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ หลังการเรี ยนสู งกว่าเกณฑ์ ร้อยละ
50 อย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01

จากการวิจ ัย ที่ เ กี่ ย วกับ การเรี ย นซ่ อ มเสริ ม ที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น สามารถสรุ ป ได้ ว่ า
การจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนซ่ อ มเสริ มที่มี นักการศึก ษาทาการวิจ ัยไว้แล้วนั้นใช้วิธี ก ารที่
แตกต่างกัน ซึ่ งแต่ละวิธีมีจุดหมายของการวิจยั เหมือนกัน คือ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
และมุ่งเน้น ที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนให้สูงขึ้น ฉะนั้นในการเรี ยนการ
สอนเพื่อให้บรรลุเป้ าประสงค์ดงั กล่าว ครู ผสู ้ อนจะต้องศึกษาวิธีการสอนซ่ อมเสริ ม เพื่อนามาใช้
สอนนักเรี ยนให้สามารถพัฒนาตนได้อย่างเต็มตามศักยภาพ

2. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำคณิตศำสตร์


3.1 ควำมหมำยของผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำคณิตศำสตร์
Wilson (1971 อ้างถึ งใน สุ จินดา พัชรภิญโญ , 2548) กล่ าวว่า ผลสัม ฤทธิ์ ทาง
การเรี ย นวิช าคณิ ต ศาสตร์ หมายถึ ง ความสามารถทางด้า นสติ ปั ญ ญา (Cognitive Domain)
ในการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ จากแนวคิดวิล สัน พอจะกล่ าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา
คณิ ตศาสตร์ ก็คือ ความสาเร็ จของการเรี ยนรู ้ในวิชาคณิ ตศาสตร์ที่ประเมินเป็ นระดับความสามารถ
นัน่ เอง วิลสัน ได้จาแนกพฤติกรรมที่พึงประสงค์ดา้ นพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ในการเรี ยน
วิชาคณิ ตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา โดยอิงลาดับขั้นของพฤติกรรมด้านพุทธิพสิ ัยตามกรอบแนวคิด
ของบลูมไว้เป็ น 4 ระดับ คือ
20

1. ความรู ้ความจาด้านการคิดคานวณ (Computation) พฤติกรรมในระดับนี้ ถือ ว่า


เป็ นพฤติกรรมที่อยูใ่ นระดับต่าที่สุด แบ่งออกเป็ น 3 ขั้นดังนี้
1.1 ความรู ้ความจาเกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง (Knowledge of Specific Facts) เป็ นความ
สามารถที่จะระลึกถึงข้อเท็จจริ งต่างๆ ที่นักเรี ยนเคยได้รับจากการเรี ยนการสอนมาแล้วคาถามที่วดั
ความสามารถในระดับนี้จะเกี่ยวกับข้อเท็จจริ งตลอดจนความรู ้พ้นื ฐานซึ่ งนักเรี ยนได้สั่งสมมาเป็ น
ระยะเวลานานแล้ว
1.2 ความรู ้ เ กี่ ย วกับ ศัพ ท์แ ละนิ ย าม (Knowledge of Terminology) เป็ นความ
สามารถในการระลึกหรื อจาศัพท์และนิยามต่างๆ ได้ โดยคาถามอาจจะถามโดยตรงหรื อโดยอ้อม
ก็ได้แต่ตอ้ งอาศัยการคิดคานวณ
1.3 ความสามารถในการใช้กระบวนการคิดคานวณ (Ability of Carry Out
Algorithms) เป็ นความสามารถในการใช้ขอ้ เท็จจริ งหรื อนิยามและกระบวนการที่เรี ยนมาแล้วมาคิด
คานวณตามลาดับขั้นตอนที่เคยเรี ยนรู ้มาแล้ว ข้อสอบที่วดั ความสามารถด้านนี้ ต้องเป็ นโจทย์ง่ายๆ
คล้ายคลึงกับตัวอย่าง นักเรี ยนไม่ตอ้ งพบกับความยุง่ ยากในการตัดสินใจเลือกใช้กระบวนการ
2. ความเข้าใจ (Comprehension) เป็ นพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมระดับ
ความรู ้ความจาเกี่ยวกับการคิดคานวณ แต่ซบั ซ้อนกว่า แบ่งได้เป็ น 6 ขั้นตอนดังนี้
2.1 ความเข้าใจเกี่ยวกับมโนมติ (Knowledge of Concept) เป็ นความสามารถที่
ซับซ้อ นกว่าความรู ้ความจาเกี่ ยวกับข้อ เท็จจริ ง เพราะมโนมติเป็ นนามธรรม ซึ่ งประมวลจาก
ข้อเท็จจริ งต่างๆ ต้องอาศัยการตัดสินใจในการตีความหรื อยกตัวอย่างของมโนมติน้ นั โดยใช้คาพูด
ของตนหรื อเลือกความหมายที่กาหนดให้ ซึ่งเขียนในรู ปใหม่หรื อยกตัวอย่างใหม่ที่แตกต่างไปจาก
ที่เคยเรี ยน
2.2 ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กฎทางคณิ ตศาสตร์และการสรุ ปอ้างอิ ง เป็ น
กรณี ท ั่ว ไป (Knowledge of Principles Rules and Generalization) เป็ นความสามารถในการเอา
หลักการ กฎ และความเข้าใจเกี่ยวกับมโนมติไปสัมพันธ์กบั โจทย์ปัญหา จนได้แนวทางในการ
แก้ปัญหาได้ ถ้าคาถามนั้นเป็ นคาถามเกี่ยวกับหลักการและกฎที่นกั เรี ยนเพิง่ เคยพบเป็ นครั้งแรกอาจ
จัดเป็ นพฤติกรรมในระดับการวิเคราะห์ก็ได้
2.3 ความเข้าใจในโครงสร้า งทางคณิ ต ศาสตร์ (Knowledge of Mathematical
Structure) คาถามที่วดั พฤติกรรมระดับนี้ เป็ นคาถามที่วดั เกี่ ยวกับคุ ณสมบัติของระบบจานวน
และโครงสร้างทางพีชคณิ ต
2.4 ความสามารถในการเปลี่ยนรู ปแบบปั ญหาจากแบบหนึ่งไปเป็ นอีกแบบหนึ่ ง
(Ability to Transform Problem Elements from One Mode to Another) เป็ นความสามารถในการ
21

แปล ข้อความที่กาหนดให้เป็ นข้อความใหม่หรื อภาษาใหม่ เช่น แปลจากภาษาพูดให้เป็ นสมการ


ซึ่ งมีความหมายคงเดิม โดยไม่รวมถึงกระบวนการแก้ปัญหา (Algorithms)หลังจากแปลความแล้ว
อาจกล่าวได้วา่ เป็ นพฤติกรรมที่ง่ายที่สุดของพฤติกรรมระดับความเข้าใจ
2.5 ความสามารถในการคิดตามแนวของเหตุผล (Ability to Follow a Line of
Reasoning) เป็ นความสามารถในการอ่านและเข้าใจข้อความทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งแตกต่างไปจาก
ความสามารถในการอ่านทัว่ ๆ ไป
2.6 ความสามารถในการอ่านและตีความโจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ (Ability to
Read and Interpret a Problem) ข้อสอบวัดความสามารถในชั้นนี้อาจดัดแปลงมาจากข้อสอบที่วดั
ความสามารถในขั้นอื่นๆ โดยนักเรี ยนอ่านและตีความโจทย์ปัญหาซึ่ งอาจจะอยูใ่ นรู ปของข้อความ
ตัวเลข ข้อมูลทางสถิติและกราฟ
3. การนาไปใช้ (Application) เป็ นความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาที่นกั เรี ยน
คุน้ เคย เพราะคล้ายกับปั ญหาที่นกั เรี ยนประสบอยูใ่ นระหว่างเรี ยน คือ แบบฝึ กหัดที่นักเรี ยนต้อง
เลื อ กกระบวนการแก้ปัญหาและดาเนิ นการแก้ปัญหาได้โดยไม่ ยาก พฤติกรรมในระดับนี้ แบ่ ง
ออกเป็ น 4 ขั้นคือ
3.1 ความสามารถในการแก้ปัญหาที่คล้ายกับปั ญหาที่ประสบอยูใ่ นระหว่างเรี ยน
(Ability to Solve Routine Problems) นักเรี ยนต้องอาศัยความสามารถในระดับความเข้าใจและเลือก
กระบวนการแก้ปัญหาจนได้คาตอบออกมา
3.2 ความสามารถในการเปรี ยบเทียบ (Ability to Make Comparisons) เป็ น
ความสามารถในการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 ชุด เพื่อสรุ ปการตัดสิ นใจ ซึ่ งใน การ
แก้ปัญหาขั้นนี้ อาจต้อ งใช้วิธีการคิดคานวณและจาเป็ นต้อ งอาศัยความรู ้เกี่ ยวข้อ ง รวมทั้งใช้
ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล
3.3 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ขอ้ มูล (Ability to Analyze Data) เป็ น
ความสามารถในการตัดสิ นอย่างต่อเนื่องในการหาคาตอบจากข้อมูลที่กาหนดให้ ซึ่งอาจต้องอาศัย
การแยกข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องมาพิจารณาว่า อะไรคือข้อมูลที่ตอ้ งการเพิ่มเติม มีปัญหาอื่นใดบ้าง
ที่อาจเป็ นตัวอย่างในการหาคาตอบของปั ญหาที่กาลังประสบอยูห่ รื อต้องแยกโจทย์ปัญหาออกมา
พิจารณาเป็ นส่ วน มี การตัดสิ นใจหลายครั้ งอย่างต่อ เนื่ อ งตั้งแต่ตน้ จนได้คาตอบหรื อ ผลลัพ ธ์ที่
ต้องการ
3.4 ความสามารถในการมองเห็ นแบบลัก ษณะโครงสร้ างที่ เ หมื อ นกันและ
การสมมาตร (Ability to Recognize patterns, Isomorphisms and Symmetries) เป็ นความสามารถ
ที่ตอ้ งอาศัยพฤติกรรมอย่างต่อ เนื่ อ ง ตั้งแต่การระลึกถึงข้อมูล ที่กาหนดให้การเปลี่ ยนรู ปปั ญ หา
22

การจัดกระทากับข้อมูลและการระลึกถึงความสัมพันธ์ นักเรี ยนต้องสารวจหาสิ่ งคุน้ เคยจากข้อมูล


หรื อสิ่งที่กาหนดจากโจทย์ปัญหาให้พบ
4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นความสามารถในแก้ปัญหาที่นกั เรี ยนไม่เคยเห็ นหรื อ
ไม่เคยทาแบบฝึ กหัดมาก่อน ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นโจทย์พลิกแพลง แต่ก็อยูใ่ นขอบเขต เนื้ อหาวิชาที่
เรี ย น การแก้โ จทย์ปั ญ หาดัง กล่ า วต้อ งอาศัย ความรู ้ ที่ ไ ด้เ รี ย นมารวมกับ ความคิ ด สร้ า งสรรค์
ผสมผสานกัน เพือ่ แก้ปัญหาพฤติกรรมในระดับนี้ ถือเป็ นพฤติกรรมขั้นสูงสุดของการเรี ยนการสอน
คณิ ตศาสตร์ ซึ่งต้องใช้สมรรถภาพสมองระดับสูงแบ่ง เป็ น 5 ขั้น ดังนี้
4.1 ความสามารถในการแก้โ จทย์ปั ญหาที่ ไ ม่ เ คยประสบมาก่ อ น (Ability to
Solve Nonroutine Problems) คาถามในขั้นนี้ เป็ นคาถามที่ซับซ้อน ไม่ มี แบบฝึ กหัดหรื อ ตัวอย่าง
ไม่เคยเห็นมาก่อน นักเรี ยนต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ผสมผสานความเข้าใจ มโนมติ นิ ยาม
ตลอดจนทฤษฎีต่างๆ ที่เรี ยนมาแล้วเป็ นอย่างดี
4.2 ความสามารถในการค้นหาความสัมพันธ์(Ability to Discover Relationships)
เป็ นความสามารถในการจัดส่ วนต่างๆที่โจทย์กาหนดให้ใ หม่ แล้วสร้างความสัมพันธ์ เพื่อ ใช้
ในการแก้ปัญหาแทนการจาความสัมพันธ์เดิมที่เคยพบมาแล้วมาใช้กบั ข้อมูลชุดใหม่เท่านั้น
4.3 ความสามารถในการพิสูจน์ (Ability to Contruct Proofs) เป็ นความสามารถ
ในการพิสูจน์โจทย์ปัญหาที่ไม่เคยเห็นมาก่อน นักเรี ยนต้องอาศัยนิยามทฤษฎีต่างๆ ที่เรี ยนมาแล้ว
มาช่วยในการแก้ปัญหา
4.4 ความสามารถในการวิ จ ารณ์ ก ารพิ สู จ น์ (Ability to Criticize Proofs)
ความสามารถในขั้น นี้ เป็ นการใช้ เ หตุ ผ ลที่ ค วบคู่ กับ ความสามารถในการเขี ย นพิ สู จ น์ แต่
ความสามารถในการวิจารณ์เป็ นพฤติกรรมที่ยงุ่ ยากซับซ้อนกว่า ความสามารถในขั้นนี้ ตอ้ งการให้
นักเรี ยนมองเห็นและการเข้าใจการพิสูจน์น้ นั ว่าถูกต้องหรื อไม่ มีตอนใดผิดพลาดไปจากมโนมติ
หลักการ กฎ นิยาม หรื อ วิธีการทางคณิ ตศาสตร์
4.5 ความสามารถเกี่ ย วกับการสร้า งสู ต รและทดสอบความถู ก ต้อ งของสู ต ร
(Ability to Formulate and Validate Generalization) นั ก เรี ย นต้อ งสามารถสร้ า งสู ต รขึ้ น มาใหม่
โดยให้สัมพันธ์กบั เรื่ องเดิมและต้องสมเหตุสมผลด้วย นั่นคือ การถามให้หาและพิสูจน์ประโยค
ทางคณิ ตศาสตร์หรื ออาจถามให้นักเรี ยนสร้างกระบวนการคิดคานวณใหม่ พร้อมทั้งแสดงการใช้
กระบวนการนั้น
จากที่กล่าวมาข้างต้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ หมายถึง คะแนน
ที่ได้จากการทดสอบหลังสิ้ นสุ ดการทดลองด้วยแบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต ที่ผวู ้ ิจยั
สร้างขึ้น
23

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย

ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้


1. การกาหนดประชากร
2. การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทาและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

กำรกำหนดประชำกรและกำรสุ่ มกลุ่มตัวอย่ ำง
กลุ่มประชำกรในกำรวิจัย
กลุ่ ม ประชากรที่ ใ ช้ใ นการวิจ ัย ครั้ ง นี้ เป็ นนัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึ กษาปี ที่ 4 โรงเรี ย น
จอมสุ รางค์อุปถัมภ์ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ที่ได้มาจากการเลือก
แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยได้ค ะแนนสอบเรื่ อ ง ความคิ ด รวบยอดเกี่ ย วกับ การ
ดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต ไม่ถึงร้อยละ 60 จานวน 12 คน

เนื้อหำทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นเนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์
ปั ญหาเกี่ยวกับเซต

ระยะเวลำที่ใช้ ในกำรวิจัย
ดาเนิ นการวิจยั ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ใช้เวลาในการจัดการเรี ยนการสอน
นอกเวลาเรี ยน ตั้งแต่เวลา 16.00 น. – 17.00 น. ทุกวัน จานวน 8 ชัว่ โมง ประกอบด้วย ทดสอบก่อน
เรี ยน เป็ นระยะเวลา 1 ชัว่ โมง กิจกรรมการเรี ยนซ่ อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ ก เป็ นระยะเวลา 6 ชัว่ โมง
และทดสอบหลังเรี ยน เป็ นระยะเวลา 1 ชัว่ โมง
24

กำรสร้ ำงเครื่ องมือทีใ่ ช้ ในกำรวิจยั


เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั มีดงั นี้
1. แบบฝึ กซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อ ง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 2 เล่ม (เล่มที่ 2 – 3) ดังนี้
1.1 แบบฝึ กซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่ มที่ 2 เรื่ อ ง ความคิดรวบยอดเกี่ ยวกับการ
ดาเนินการของเซต
1.2 แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่มที่ 3 เรื่ อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต
เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต รายวิชา
ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ซึ่งเป็ นข้อสอบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ

ขั้นตอนกำรสร้ ำงเครื่ องมือที่ใช้ ในกำรวิจัย


แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต
เรื่ อ ง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ ยวกับเซต เป็ น
แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 2 คาบ คาบละ 50 นาที ผูว้ ิจยั ได้ดาเนิ นการ
ตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
1. ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จ ัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกั บ การวัด ประเมิ น ผล วิ ธี ก ารสร้ า ง
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
2. ศึ ก ษาหลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 หลัก สู ต ร
สถานศึกษาของโรงเรี ยนจอมสุ รางค์อุ ปถัมภ์ คู่มือ ครู การจัดการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ และหนังสื อ
แบบเรี ยนคณิ ตศาสตร์พน้ื ฐาน เรื่ อง เซต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
3. วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาและจุ ด ประสงค์ก ารเรี ย นรู ้ จ ากหลัก สู ต รสถานศึ ก ษา สาระ
การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
4. ศึ ก ษาเอกสารเกี่ ย วกับ วิ ธี ก ารสร้ า งแบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น
คณิ ตศาสตร์
5. ก าหนดจุ ด มุ่ ง หมายในการทดสอบ จุ ด ประสงค์ข องการเรี ย นรู ้ และก าหนด
พฤติกรรมที่แสดงถึงความสามารถที่ตอ้ งการวัด
6. ดาเนินการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ โดยผูว้ จิ ยั ออก
ข้อ สอบทั้งหมดไว้จานวน 40 ข้อ เสนอต่อ ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านการสอนคณิ ตศาสตร์ และด้านการวัด
ประเมิ นผล จานวน 3 ท่าน เพื่อ ตรวจสอบความถู กต้อ งเหมาะสมความสอดคล้องกับเนื้ อหากับ
25

ประสงค์การเรี ยนรู ้ โดยได้ค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC: Index of Objective Congruence) ในช่วง


0.67 – 1.00
7. คัดเลือกข้อสอบในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ที่ผ่านการ
ประเมินค่า IOC ไปใช้กบั นักเรี ยนในกลุ่มประชากร

กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิจ ัย ในครั้ งนี้ เป็ นการพัฒ นาผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น โดยใช้แ บบฝึ กซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการ
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ ยวกับเซต เป็ นการวิจยั เชิ งทดลอง ซึ่ งดาเนิ นการทดลองโดยใช้แบบแผนการ
ทดลองแบบกลุ่ ม เดี่ ย วสอบก่ อ นเรี ย นและหลัง เรี ย น (One-Group Pretest-Posttest Design) ซึ่ ง มี
รู ปแบบการวิจยั ดังนี้

ตาราง แบบแผนการทดลอง

กลุ่ม ทดสอบก่ อนเรียน ทดลอง ทดสอบหลังเรียน


กลุ่มทดลอง (E) T1 X T2

สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง
T1 แทน การทดสอบก่อนเรี ยน (Pre Test)
T2 แทน การทดสอบหลังเรี ยน (Post Test)
X แทน การใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์

ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังขั้นตอนต่อไปนี้
1. คัด เลื อ กนัก เรี ย นเข้า กลุ่ ม ประชากร โดยทดสอบความรู ้ ท างคณิ ต ศาสตร์ เ รื่ อ ง
ความคิดรวบยอดการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต ซึ่ งใช้แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อ ง ความคิดรวบยอด
เกี่ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ใช้ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง โดยนักเรี ยนในกลุ่มประชากรคือ นักเรี ยนที่มี
ผลคะแนนสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60
26

2. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง


การดาเนิ นการของเซตและการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต เป็ นระยะเวลา 6 ชัว่ โมง จานวน 2 เล่ม
ดังนี้
2.1 แบบฝึ กซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่ มที่ 2 เรื่ อ ง ความคิดรวบยอดเกี่ ยวกับการ
ดาเนินการของเซต
2.2 แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่มที่ 3 เรื่ อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
3. ทดสอบหลัง เรี ย นโดยใช้แ บบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการ
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ใช้ระยะเวลา
1 ชัว่ โมง

กำรจัดกระทำและวิเครำะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั มีลาดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
1. คานวณหาค่าสถิติพ้นื ฐาน ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนน
ต่าสุ ด คะแนนสู งสุ ดของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้
เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
2. เปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งของคะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการ
แก้โ จทย์ปั ญ หาเกี่ ย วกับ เซต ระหว่า งก่ อ นเรี ย นและหลังเรี ย น ด้ว ยการวิเ คราะห์ ค่ าที (t-test for
dependent samples) ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05
3. เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์หลังเรี ยน หน่วย
การเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อ ง ความคิดรวบยอดเกี่ ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเซต กับเกณฑ์ร้อยละ 60

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้สถิติการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
1. สถิติพ้นื ฐาน
1.1 ค่าเฉลี่ย (Mean)
1.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
27

2. สถิติที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพเครื่ องมือ
หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC: Index of Objective Congruence) ของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ มคณิ ต ศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อ ง ความคิดรวบยอดเกี่ ยวกับ การ
ดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต

3. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน
เปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร์ ก่ อ นและหลัง
ดาเนิ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ โดยใช้สูตร t-test
dependent sample
เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์หลังเรี ยน กับ
เกณฑ์ร้อยละ 60 โดยใช้สูตร t-test for one sample
28

บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูล

สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล


จากการวิเคราะห์ขอ้ มู ลและการแปลผลการวิเคราะห์ขอ้ มู ลในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้
กาหนดสัญลักษณ์ในการนาเสนอ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ดังนี้
n แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มตัวอย่าง
M แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนกลุ่มตัวอย่าง
SD แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Min แทน คะแนนต่าสุด
Max แทน คะแนนสูงสุด
0 แทน ค่าเฉลี่ยมาตรฐานที่ใช้เป็ นเกณฑ์ (ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม)
t แทน ค่าสถิติ t-test

กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการแปลผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีคะแนนสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ
60 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนซ่ อมเสริ มในครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้นาเสนอข้อมูลตามลาดับ
ดังนี้
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐำน
ข้อ มู ลพื้นฐานของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ก่อนและ
หลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนซ่อมเสริ ม

ส่ วนที่ 2 ผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐำน


1. เปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร์ ก่ อ นและหลัง
ดาเนิ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ โดยใช้สูตร t-test
dependent sample
2. เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หลังเรี ยน กับ
เกณฑ์ร้อยละ 60 โดยใช้สูตร t-test for one sample
29

ผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐำน
ข้อ มู ลพื้นฐานของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ก่อนและ
หลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ดังนี้

ตาราง ข้อมูลพื้นฐานของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ก่อนและหลังได้รบั


การจัดกิจกรรมการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์

ตัวแปร n Min Max M SD


ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนซ่ อมเสริมคณิตศำสตร์
ก่อนเรี ยน 12 4 10 6.75 2.14
หลังเรี ยน 12 12 21 16.25 2.60

จากการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ ก่อนเรี ยน


คะแนนเต็ม 30 คะแนน พบว่า คะแนนสู งสุ ดคือ 10 คะแนน คะแนนต่าสุ ดคือ 4 คะแนน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 6.75 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.14
สาหรับการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์หลังเรี ยน
คะแนนเต็ม 30 คะแนน พบว่า คะแนนสูงสุดคือ 21 คะแนน คะแนนต่าสุดคือ 12 คะแนน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 16.25 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.60

ส่ วนที่ 2 ผลกำรวิเครำะห์ ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐำน


1. เปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ ม คณิ ต ศาสตร์ ก่ อ นและหลัง
ดาเนิ นการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่ อ มเสริ ม โดยใช้สูตร t-test dependent
sample
30

ตาราง แสดงการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ ระหว่างก่อนและหลัง


เรี ยน

ผลสั มฤทธิ์ทำงกำรเรียนซ่ อมเสริมคณิตศำสตร์ N M SD t p


ก่อนเรี ยน 12 6.75 2.14 36.38 .000*
หลังเรี ยน 12 16.25 2.60
ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05*

จากตารางข้างต้น พบว่าหลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนซ่ อมเสริ มนักเรี ยนมีคะแนน


ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 (t = 36.38 , p = .000)

2. เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หลังเรี ยน กับ


เกณฑ์ร้อยละ 60 โดยใช้สูตร t-test for one sample

ตาราง แสดงการเปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์หลังเรี ยนกับ


เกณฑ์ร้อยละ 60

กลุ่มประชากร N คะแนนเต็ม 0 M SD df t p
หลังทดลอง 12 30 12 16.25 2.60 11 5.67 .000*
ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05

จากตารางข้า งต้น พบว่ า หลัง การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม นั ก เรี ย นมี ค ะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่
ระดับ .05 (t = 5.67 , p = .000)
31

บทที่ 5
สรุป อภิปรำยผล และข้ อเสนอแนะ

การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน โดยใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ต ศาสตร์
หน่วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
เซต ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีคะแนนวิชาคณิ ตศาสตร์ไม่ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60

ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย
ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ต้งั ความมุ่งหมายไว้ดงั นี้
1. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ ก่ อ นและหลังได้รับการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์
2. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หลังได้รับการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ กับ เกณฑ์ร้อยละ 60

สมมติฐำนของกำรวิจัย
ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ต้งั สมมติฐานของการวิจยั ไว้ดงั นี้
1. นักเรี ยนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยแบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ มีคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน
2. นักเรี ยนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยแบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หลังเรี ยนมี
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60

วิธีดำเนินกำรวิจยั
กลุ่มประชำกรในกำรวิจัย
กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนจอมสุ รางค์
อุ ป ถัม ภ์ จัง หวัด พระนครศรี อ ยุธ ยา ภาคเรี ย นที่ 1 ปี การศึ ก ษา 2560 ที่ ไ ด้ม าจากการเลื อ กแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) โดยได้คะแนนสอบเรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต ไม่ถึงร้อยละ 60 จานวน 12 คน
32

ระยะเวลำที่ใช้ ในกำรวิจัย
ดาเนินการวิจยั ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 ใช้เวลาในการจัดการเรี ยนการสอนนอกเวลา
เรี ยน ตั้งแต่เวลา 16.00 น. – 17.00 น. ทุกวัน จานวน 8 ชัว่ โมง ประกอบด้วย ทดสอบก่อนเรี ยน เป็ นระยะเวลา
1 ชัว่ โมง กิจกรรมการเรี ยนซ่ อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ ก เป็ นระยะเวลา 6 ชัว่ โมง และทดสอบหลังเรี ยน เป็ น
ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง

เนื้อหำทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย
เนื้ อ หาที่ ใ ช้ใ นการวิจ ัย ครั้ ง นี้ เป็ นเนื้ อ หาวิช าคณิ ต ศาสตร์ พ้ืน ฐาน ระดับ ชั้น มัธ ยมศึ ก ษา
ปี ที่ 4 หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเซต

ตัวแปรที่ศึกษำ
1. ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์
2. ตัวแปรตาม คือ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์

เครื่ องมือที่ใช้ ในกำรวิจัย


1. แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4 จานวน 2 เล่ม (เล่มที่ 2 – 3) ดังนี้
1.1 แบบฝึ กซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่มที่ 2 เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนิ นการ
ของเซต
1.2 แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เล่มที่ 3 เรื่ อง การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วยการเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อ ง
ความคิดรวบยอดเกี่ ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ ยวกับ เซต รายวิชา ค31101
คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ซึ่งเป็ นข้อสอบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ

กำรวิเครำะห์ ข้อมูล
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั มีลาดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
1. คานวณหาค่าสถิติพ้ืนฐาน ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนต่ าสุ ด
คะแนนสู ง สุ ดของคะแนนผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ เซต เรื่ อ ง
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนินการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
33

2. เปรี ยบเทียบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ หน่ วย


การเรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
ระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ด้วยการวิเคราะห์ค่าที (t-test for dependent samples) ที่ระดับนัยสาคัญทาง
สถิติ .05
3. เปรี ยบเทียบคะแนนผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ หลังเรี ยน หน่ วยการ
เรี ยนรู ้ เซต เรื่ อง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดาเนิ นการของเซต และการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต กับ
เกณฑ์ร้อยละ 60

สรุปผลกำรวิจยั
1. หลังการจัดกิ จกรรมการเรี ยนซ่ อ มเสริ มนักเรี ยนมี คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 36.38 , p = .000)
2. หลังการจัดกิ จกรรมการเรี ยนซ่ อ มเสริ มนักเรี ยนมี คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (t = 5.67 , p = .000)

กำรอภิปรำยผล
หลัง การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม นัก เรี ย นมี ค ะแนนผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และหลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนซ่ อ ม
เสริ ม นัก เรี ย นมี คะแนนผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นซ่ อ มเสริ มคณิ ตศาสตร์ สู งกว่า เกณฑ์ร้ อ ยละ 60 อย่า งมี
นัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่ งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ ทั้งนี้ อาจเนื่ องมาจากเหตุผลหลายประการ
ดังนี้
1.การสอนซ่อมเสริ มโดยใช้ แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่ อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101
คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 สู งขึ้น ทั้งนี้ เป็ นเพราะการสอนซ่ อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ ม
มุ่งเน้นให้นักเรี ยนสามารถฝึ กฝนได้ดว้ ยตนเอง โดยครู มีบทบาทใน การจัดการเรี ยนซ่ อมเสริ มที่กระตุน้ ให้นักเรี ยน
เกิดการเรี ยนรู ้และคอยให้คาชี้แนะ เพือ่ สร้างความกระจ่างชัด ในส่วนที่นกั เรี ยนยังไม่เข้าใจหรื อมีขอ้ สงสัยอยู่ เป็ น
การให้การเสริ มแรงแก่ นักเรี ยนอย่างต่ อเนื่ อง ทั้งนี้ เพื่อให้นักเรี ยนเกิ ดความมั่นใจในการเรี ยน และภู มิ ใจใน
ความสามารถของตนเอง ซึ่ งสอดคล้องกับกฎการเสริ มแรงของ Throndike (สุ จินดา พัชรภิญโญ , 2548) ที่ว่าการ
สร้างแบบฝึ กที่ดีน้ นั ควรมีความสม่าเสมอในการฝึ กและมีการเสริ มแรงเป็ นประจา เพือ่ สร้างให้นกั เรี ยนเกิด
ความภูมิใจในตนเองและรู ้สึกว่าตนเองประสบความสาเร็จในงานนั้น ๆ
34

2. ในการจัดการเรี ยนการสอนซ่ อ มเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อ ง เซต โดยใช้แบบฝึ กซ่ อ มเสริ ม
คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 เมื่อเรี ยนจบในแต่ล ะ
ชัว่ โมง ผูว้ จิ ยั ได้เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนซักถามในเนื้อหาที่ยงั ไม่เข้าใจ และช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน โดยครู เป็ น
ผูค้ อยชี้แนะเพิม่ เติมบางส่ วนเท่านั้น ก่อนที่จะให้นักเรี ยนทาแบบฝึ กหัด ซึ่ งส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ซ่อมเสริ มของนักเรี ยนสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจยั ของวัชรี บูรณสิงห์
3. การเรี ยนซ่อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง เซต รายวิชา ค31101 คณิ ตศาสตร์
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์เรื่ อง เซต สูงขึ้น เนื่องมาจาก
การใช้แบบฝึ กซ่ อมเสริ ม นักเรี ยนสามารถศึกษาและฝึ กซ้ า ๆได้ตามที่ตอ้ งการจนกว่าจะพัฒนาขึ้นในระดับที่ดี ซึ่ ง
สอดคล้องและเป็ นไปตามกฎแห่ งการฝึ กฝนของ Throndike (สุ จินดา พัชรภิญโญ, 2548) ที่กล่าวว่าสิ่ งใดที่
บุคคลทาบ่อย ๆ หรื อมีการฝึ กฝนอย่างสม่าเสมอ บุคคลนั้นย่อมทาสิ่งนั้นได้ดีและเนื่องจากการทาแบบฝึ กทา
ให้นกั เรี ยนได้รับทราบข้อบกพร่ องของตนเองสามารถศึกษาเพิม่ เติมหรื อพัฒนาเรื่ องนั้น ๆ ได้อย่างต่อเนื่ อง
สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ สุรภี ฤทธิวงศ์ (2549) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของ
นักเรี ยนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริ มโดยใช้แบบฝึ กซ่อมเสริ มวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนสูงกว่าเกณฑ์ร้อ ยละ
50 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของ จิรพันธ์ ขันจินะ (2548) ที่ได้
ศึกษาการสร้างแบบฝึ กวิชาคณิ ตศาสตร์เพือ่ แก้ไขข้อบกพร่ องในการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องร้อยละของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ร้อยละ สู ง
กว่าก่อนการใช้แบบฝึ ก อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ข้ อสั งเกตจำกกำรวิจยั
1. นักเรี ยนที่เป็ นประชากร คือ นักเรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อ ง เซต ต่ ากว่าร้อยละ 60
เมื่อผูว้ จิ ยั นานักเรี ยนกลุ่มดังกล่าวมาสอนซ่อมเสริ มนอกเวลา ในชัว่ โมงแรกๆ นักเรี ยนบางส่วนยังขาดความ
กระตือรื อร้นและขาดความสนใจต่อการเรี ยนเท่าที่ควร อาจเป็ นเพราะนักเรี ยนยังไม่เข้าใจกิจกรรมการเรี ยน
การสอนซ่ อมเสริ ม และยังไม่ค่อยกล้าแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ งกันและกันในการทากิจกรรมกลุ่ม ครู จึง
ต้อ งสร้างความเข้าใจและชี้ แจงให้เห็ นประโยชน์ของการทากิ จกรรมต่าง ๆ แก่ นักเรี ยน นักเรี ยนจึงกล้า
แสดงออกมากขึ้นและมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
35

2. ในระหว่างการทาแบบฝึ กครู ควรจัดบรรยากาศการสอนให้สนุกสนาน เป็ นกันเองและ ไม่น่าเบื่อ


ควรให้กาลังใจนักเรี ยน เพือ่ ไม่ให้นกั เรี ยนเกิดความเบื่อหน่าย ท้อแท้ในการทาแบบฝึ ก ทาให้ไม่ต้งั ใจและ
ไม่ได้รับความรูอ้ ย่างเต็มที่
3. แบบฝึ กซ่อมเสริ มคณิ ตศาสตร์ เป็ นนวัตกรรมทางเลือกอีกทางหนึ่งในการที่จะพัฒนานักเรี ยนให้
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงกว่าร้อยละ 60 ได้ เพราะสามารถสร้างให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ มี
ความเข้าใจมากขึ้น และสามารถนาไปศึกษาได้ดว้ ยตนเองนอกชั้นเรี ยน

ข้ อเสนอแนะ
ควรมีการศึกษาผลการใช้แบบฝึ กในการพัฒนานักเรี ยนในด้านอื่น ๆ ไม่เฉพาะแค่การใช้ซ่อมเสริ ม
ควรมีการศึกษาการใช้แบบฝึ กเพือ่ พัฒนาความสามารถด้านคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนที่มีความสามารถพิเศษ
ทางด้านคณิ ตศาสตร์ เพื่อ พัฒนานักเรี ยนให้มีความสามารถที่สูงขึ้นหรื อ อาจศึกษาผลการใช้แบบฝึ กใน
เนื้อหาอื่น ๆไม่เพียงแต่เฉพาะวิชาคณิ ตศาสตร์เท่านั้นเพือ่ เป็ นการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ในสาระการเรี ยนรู ้
ต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น

You might also like