You are on page 1of 35

ผลการเรียนรู้

1. เข้าใจหลักการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน
2. เข้าใจหลักการจัดการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดขั้นสูง GPAS 5 Steps

มโนทัศน์หลัก
Section 1. หลักการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน

1 2. หลักการจัดการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดขั้นสูง GPAS 5 Steps

กระบวนการเรียนรู้
1. การให้ความรู้ประกอบตัวอย่าง
2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /การอภิปราย

ประเมินการเรียนรู้
1. วิเคราะห์เนื้อหาจากการอภิปรายระหว่างทากิจกรรม

กระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ด้วยกระบวนการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS 5 steps เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน


การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
สู่การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21
กิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร
ที่เป็นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning)
ที่มา : ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช : รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
ธนาธิป ทุ้ยแป
คุณมีสมรรถนะหรือไม่
ท่านตระหนักดีว่า การออกกาลังกาย มีผลดีต่อสุขภาพ A
ท่านรู้จักชื่อของกีฬา และบอกวิธีการเล่นแบบง่ายๆได้ K
ท่านสามารถเล่นกีฬาได้ อย่างน้อย 1 ชนิด P
ท่านออกกาลังกาย สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 45 นาที และมี Sixpack
C
ที่มา : มารุต ทรรศนากรกุล
สมรรถนะ
หมายถึง อะไร
สมรรถนะ (Competency) หมายถึงอะไร
ความสามารถที่แสดงออก ถึง พฤติกรรมและการกระทา ในการ ใช้ชีวิต
การแก้ปัญหา และการปฏิบัติงาน ให้ประสบความสาเร็จ

โดยประยุกต์ใช้ สอดคล้องกับบริบทของสังคมและ
- ความรู้ (Knowledge) วัฒนธรรม
- ทักษะ (Skills) ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
- เจตคติ (Attitudes) และค่านิยม(Values)
ให้เหมาะสม
ที่มา : คู่มือการใช้กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
สมรรถนะที่พูดถึง
ได้แก่สมรรถนะ
อะไรบ้าง
สานักทดสอบทางการศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (หลักสูตร 51)

สานักทดสอบทางการศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ
สานักทดสอบทางการศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ
สานักทดสอบทางการศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ
สมรรถนะ (Competency) หมายถึงอะไร
ความสามารถที่แสดงออก ถึง พฤติกรรมและการกระทา ในการ ใช้ชีวิต
การแก้ปัญหา และการปฏิบัติงาน ให้ประสบความสาเร็จ

โดยประยุกต์ใช้ สอดคล้องกับบริบทของสังคมและ
- ความรู้ (Knowledge) วัฒนธรรม
- ทักษะ (Skills) ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
- เจตคติ (Attitudes) และค่านิยม(Values)
ให้เหมาะสม
ที่มา : คู่มือการใช้กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินตามกรอบองค์ประกอบของสมรรถนะ
(ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช : รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน)

ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสิน

สมรรถนะ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ในการทางาน/แก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่างๆ


ครบทั้ง 3 ด้าน ร่วมกันอย่างดี จนทา ให้ผลงานมีความสาเร็จ สูงกว่า เป้าหมาย
สูงมาก
สมรรถนะ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ในการทางาน/แก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่างๆ
สูง ครบทั้ง 3 ด้าน ร่วมกันอย่างดี จนทา ให้ผลงานมีความสาเร็จ ตามเป้าหมาย

สมรรถนะ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ในการทางาน/แก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่างๆ


ครบทั้ง 3 ด้าน ร่วมกัน จนทา ให้ผลงานมีความสาเร็จ ตามเป้าหมาย
ตามเกณฑ์
ไม่มีการประยุกต์ใช้ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ในการทางาน/แก้ปัญหาใน
ไม่มีสมรรถนะ สถานการณ์ต่างๆ หรือผลงานไม่สาเร็จตามเป้าหมาย
ตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะ: ความสามารถในการแก้ปัญหา
ระดับคุณภาพ คาอธิบายคุณภาพ
มีสมรรถนะสูงมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการวิเคราะห์ ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดาเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผลครบทุกขั้นตอน รวมทั้งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการแก้ปัญหา สูงกว่า เป้าหมายที่กาหนด
มีสมรรถนะสูง ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการวิเคราะห์ ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดาเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผลครบทุกขั้นตอน รวมทั้งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการแก้ปัญหา บรรลุตาม เป้าหมายที่กาหนด
มีสมรรถนะ ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการวิเคราะห์ ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดาเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผลยังไม่ครบทุกขั้นตอน แต่ผลลัพธ์ที่
เกิดขึ้นจากการแก้ปัญหา บรรลุตาม เป้าหมายที่กาหนด
ที่มา: สานักทดสอบทาง
ไม่มีสมรรถนะ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการแก้ปัญหา ไม่บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด การศึกษา
คาถาม
สมรรถนะของนักเรียนเกิดขึ้นได้อย่างไร
สมรรถนะเกิดขึ้นได้อย่างไร

เชื่อมโยงกับชีวิตจริง
และสังคม
ความรู้
(Knowledge)

ทักษะ ประยุกต์ใช้ใน
(Skills) งาน/สถานการณ์

เจตคติ สถานการณ์จริง
(Attitudes)
ค่านิยม หรือ ใกล้เคียงกับ
(Values) สถานการณ์จริง
มัคนายกน้อย

ความรู้ ทักษะ เจตคติ


(K) (S) (A)
นวัตกรรม (Innovation) = Thing + New + Value

ความรู้
(Knowledge)

ทักษะ ประยุกต์ใช้ใน
(Skills) สถานการณ์จริง
(ทาระบบล้างแอร์
อัตโนมัต)ิ
เจตคติ
(Attitudes)
ค่านิยม
(Values)
ที่มา : ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช : รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
การจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ GPAS 5 Steps
ขั้นที่ 5 ประเมินเพื่อเพิม่ คุณค่ า 1) ประเมินกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน
บริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 2) แสดงความคิดเห็นเพื่อต่อยอดนวัตกรรม

ขั้นที่ 4 การสื่ อสารและการนาเสนอ นาเสนอ 1) นวัตกรรมประจาหน่วย


(Applying the Communication Skill) 2) Mindmap สรุปความรู้หลังปฏิบัติ

ขั้นที่ 3 การปฏิบัตแิ ละสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ


(Applying and Constructing the Knowledge )
1) ภาระงานตามตัวชี้วัด
2) Mindmap สรุปความรู้หลังปฏิบัติ
ขั้นที่ 2 คิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ 3) นวัตกรรมประจาหน่วย
( Processing)

ขั้นที่ 1 รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


G P
Gathering
G A1
S A2 รวบรวมข้อมูล
1.1 จัดกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม สังเกต สารวจ สืบค้น ศึกษา
1.2 แบ่งหน้าทีภ่ ายในกลุ่ม
1.3 ชี้แจงเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆให้นร.รับรู้
1.4 กระตุ้นด้วย คลิป / เรื่องจริง / เหตุการณ์ ที่สอดคล้องกับ
เป้าหมายที่จะเรียน
1.5 ตั้งคาถาม เพื่อนาไปสู่การแสวงหาความรู้ ที่สอดคล้องกับ
ผลงาน : ผลการรวบรวมข้อมูลที่สอดคล้องกับ ตชว.
เป้าหมายการเรียนรู้
1.6 นักเรียน รวบรวมข้อมูล จากแหล่งเรียนรู้
G P วิเคราะห์
Processing สรุปความรู้
P A1
จาแนก เรียงลาดับ เปรียบเทียบ วิพากษ์
S A2 1. จัดกระทาข้อมูลด้วยการคิดวิเคราะห์
( จาแนก จัดหมวดหมู่ หาความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ)
2.สรุปความรู้ที่ได้ แล้วเขียนเป็นแผนภาพความคิด

ผลงาน : แผนภาพความคิด
ความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า
G P Applying
ปฏิบัติและสรุปความรู้
and Constructing the Knowledge
A1 A1 โครงงาน แก้ปัญหา วิจัย
S A2
ผลงาน :
1. ผลงาน/ภาระงาน ตาม ตชว. 1. นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ ตามภาระงาน ที่ระบุใน
2. แผนภาพความคิด ความรู้ที่ ตัวชี้วัด
สอดคล้องกับ ตชว. 2. สรุปความรู้ ที่เกิดขึ้นหลังการปฏิบัติ
3. นวัตกรรมนักเรียน 3. KSA ไปประยุกต์ใช้ โดยการสร้างนวัตกรรมนักเรียน
G P Applying and สื่อสารและนาเสนอ
Communication Skill
A2 A1 โปสเตอร์ คลิป นิทรรศการ

S A2 1. เตรียมการนาเสนอ ความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการลงมือปฏิบัติ และผลงานที่เกิดขึ้นจากการ


ปฏิบัติ
2. นาเสนอ ความรู้ และผลงาน ตามที่วางแผนไว้ ในรูปแบบต่างๆ เช่น แสดง พูด
นาเสนอ : อภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการ ฯลฯ
1. นวัตกรรมนักเรียน
2.แผนภาพความคิด
สรุปความรู้หลังปฏิบัติ
G P ประเมินเพิ่มคุณค่า
Self – regulating บริการสังคมและจิตสาธารณะ
S A1 ตรวจสอบ ทบทวน สะท้อน พัฒนา ใช้ประโยชน์
S A2 คิด

1. ประเมินกระบวนเรียนรู้ เพื่อให้เห็นจุดแข็ง จุดอ่อนของกลุ่มและตนเอง เพื่อนาไปสู่การ 2. ขยายประโยชน์


ปรับปรุงแก้ไข
1. เป้าหมายของการเรียนรู้ในหน่วยนี้ คืออะไร คุณค่าที่เกิดขึ้นไปสู่
2. นักเรียนมาถึงเป้าหมายการเรียนรู้นั้นแล้วหรือยัง
3. ในระหว่างการเรียนรู้ นักเรียนเจอปัญหา หรืออุปสรรค อะไรบ้าง สังคม (รร.,ชุมชน,
4. นักเรียนจัดการกับปัญหา และอุปสรรค นั้นอย่างไร
5. นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
เป็นต้น)

You might also like