You are on page 1of 73

เอกสารประกอบการบรรยาย

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร
“การจัดทาผลงานเพื่อเสนอขอกาหนดระดับตาแหน่งที่สูงขึ้น
ของบุคลากรสายสนับสนุน”

คุณอุ่นเรือน มงคลชัย บุคลากรเชี่ยวชาญ


(ข้าราชการบานาญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
การยกระดับตําแหนงสูงขึ้น
1. ความหมายของผลงานวิชาชีพ
2. เทคนิคการเขียนผลงาน/โครงสรางผลงาน
2.1 คูมือการปฎิบัติงาน
2.2 ผลงานวิจัย
2.3 ผลงานวิเคราะห/สังเคาระห
2.4 ผลงานลักษณะอื่น
3. การฝกปฎิบัติการเขียนผลงาน
จุดประกายความคิด พิชิตความรู
1.ความหมายของผลงานวิชาชีพ
1.1 ความรู ความสามารถ ความถนัด
1.2 ทักษะ ประสบการณ
1.3 การศึกษาขอมูล สภาพปญหาจากการปฎิบัติงาน

ผลงานวิชาชพ ความหมาย
1. การแปลงองคความรู ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ ในการปฎิบัติงานของผูปฎิบัติงานแตละภาระงาน
ที่ไดรับมอบหมาย
ผลงานวิชาชีพ

คูมือปฎิบัติงานจากงานประจํา
ปญาหาอุปสรรค

การศึกษาสภาพปญหา วิจัย วิเคราะห สังเคราะห


สูการพัฒนารูปแบบนวัตกรรมที่นํามาใชในการปฎิบัติงานได
ประโยชน
1. พัฒนางาน ตนเอง องคกร
2. ความกาวหนาในวิชาชีพ
• การประเมิ น ค า งาน หมายความว า กระบวนการ
วัด คุณ คา งานของตํา แหนง โดยนํา มาเปรีย บเทีย บกั น
ภายใตองคประกอบที่เปนตัววัดหลักเพื่อตีคางาน
• ผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายความวา งานที่ปฏิบัติไดผล
ผลิตตามเปาหมายและเกิดผลลัพธตรงตามวัตถุประสงค
• สมรรถนะในการปฏิบัติงาน หมายความวา คุณลักษณะ
เชิงพฤติกรรมที่สงเสริมการปฏิบัติงาน ซึ่งกําหนดขึ้นเพื่อ
หลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงค
• คูมือปฎิบัติงานหลัก หมายความวา เอกสารแสดงเสน
การทํางานในงานหลักของตําแหนง ตั้งแตจุดเริ่มตนจน
สิ้นสุดกระบวนการ โดยระบุขั้นตอนและรายละเอียด
ของกระบวนการตางๆ ในการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบ
ที่เกี่ยวของในการปฏิบัติงาน ตลอดจนแนวทางแกไข
ป ญ หาและข อ เสนอแนะในการปฏิ บั ติ ง านดั ง กล า ว
ซึ่งตองใชประกอบการปฏิบัติงานมาแลว และตองมีการ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
• ผลงานเชิงวิเคราะห หมายความวา ผลงานที่แสดงการ
แยกแยะองคประกอบตาง ๆ ของเรื่องอยางมีระบบ
มีการศึกษาในแตละองคประกอบและความสัมพันธของ
องคประกอบตางๆเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในเรื่อง
นั้นๆ ซึ่งเปนประโยชนตองานของหนวยงาน/
มหาวิทยาลัย
• ผลงานเชิงสังเคราะห หมายความวา ผลงานที่แสดงการ
รวบรวมเนื้อหาสาระตาง ๆ หรือองคประกอบตาง ๆ
เขาดวยกัน โดยตองอาศัยความคิดสรางสรรคในการสราง
รูปแบบ หรือโครงสรางเบื้องตน เพื่อใหเกิดแนวทาง หรือ
เทคนิควิธีการใหม ๆในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งเปนประโยชนตองาน
ในหนวยงาน/มหาวิทยาลัย
• ผลงานวิจัย หมายความวา ผลงานที่เปนงานศึกษาหรือ
งานคนควาอยางมีระบบดวยวิธีวิทยาการวิจัยที่เปนที่
ยอมรับ และมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล
คําตอบหรือขอสรุปรวมที่เปนประโยชนและนําไปสู
การปรับปรุงพัฒนาหรือแกไขปญหาในงานของ
หนวยงาน/มหาวิทยาลัย
• ผลงานในลักษณะอื่น หมายความวา สิ่งประดิษฐ หรืองาน
สรางสรรค หรือผลงานศิลปะ ตกแตง ซอมบํารุง ซึ่งมิใช
มี ลั ก ษณะเป น เอกสาร หนั ง สื อ คู มื อ หรื อ งานวิ จั ย โดย
ผลงานที่เสนอตองประกอบดวย บทวิเคราะหที่อธิบายและ
ชี้ ใ ห เ ห็ น ว า งานดั ง กล า ว เป น ประโยชน แ ละนํ า ไปสู ก าร
ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาหรื อ แก ไ ขป ญ หาในงาน ทั้ ง นี้ ผลงาน
ดังกลาวตองเปนผลงานที่ผานการพิสูจนหรือมีหลักฐานที่
แสดงถึงคุณคาของผลงานนั้น
• การเผยแพรงานวิจัย หมายความวา การเผยแพรในลักษณะใด
ลักษณะหนึ่ง ดังนี้
• (ก) เผยแพรในรูปของบทความวิจยั ในวารสารทางวิชาการ ทั้งนี้
วารสารทางวิชาการนั้นอาจเผยแพรเปนรูปเลม สิ่งพิมพ หรือเปน
สื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีกําหนดการเผยแพรอยางแนนอนชัดเจน
• (ข) เผยแพรในหนังสือรวบรวมบทความวิจยั ในรูปแบบอื่นที่มีการ
บรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพ
• (ค) นําเสนอเปนบทความวิจัยตอที่ประชุมทางวิชาการ และนําไป
รวมเลมเผยแพรในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ
(Proceedings) ของการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ
• ทั้ ง นี้ ก ารเผยแพร ร ายงานการวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ ที่ มี ร ายละเอี ย ดและ
ความยาว ต อ งแสดงหลั ก ฐานว า ได ผ า นการประเมิ น คุ ณ ภาพโดย
ผูทรงคุณวุฒิและแสดงหลักฐานวาไดเผยแพรไปยังวงวิชาการ และวิชาชีพ
ในสาขาวิชานั้นและสาขาวิชาที่เกี่ยวของอยางกวางขวาง
• ไดเผยแพรตามลักษณะขางตนและไดมีการประเมินคุณภาพของงานวิจัย
นั้นแลว นํางานวิจัยนั้น มาแกไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมสวนใดสวนหนึ่งเพื่อ
นํามาเสนอขอขอกําหนดตําแหนงเปนระดับสูงขึ้นและใหมีการประเมิน
คุณภาพงานวิจัยนั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทํามิได
• ฐานขอมูลสากล หมายความวา ฐานขอมูลตามที่สภาวิชาการกําหนด
• (อางอิงจากขอบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม วาดวยการกําหนดตําแหนง
และการแตงตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยเชียงใหมกลุมปฏิบัติการและวิชาชีพ
ใหดํารงตําแหนงสูงขึ้น ๒๕๕๕)
การพัฒนาบุคลากร
สายสนับสนุนเพื่อยกระดับตาแหน่งสูงขึ้น

โดย อุ่นเรือน มงคลชัย บุคลากรเชี่ยวชาญ (ขรก.บานาญ)


บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
พัฒนา ส่งเสริม
ศักยภาพให้เป็นมืออาชีพ คน
(คนดี และเก่ง) นานโยบายสู่การปฏิบัติ
องค์กร สร้างระบบให้เป็น
มาตรฐาน

วัฒนธรรม ระบบ
พัฒนา คงอยู่ หรือ
เปลี่ยนแปลง
ประเภทตาแหน่งในระบบบริหารงานบุคคล

ประเภทวิชาการ ประเภทผู้บริหาร

วิชาชีพเฉพาะ
หรือเชี่ยวชาญ ประเภททั่วไป
เฉพาะ
การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

1.การปฐมนิเทศ
2.ศึกษาต่อ อบรม ดูงาน
3.การสัมมนาวิชาการ/วิจัย
4.เปลี่ยน/ย้าย/โอนตาแหน่ง
5.ดารงตาแหน่งสูงขึ้น
6.การมอบหมายงานเพื่อการพัฒนา
7.การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาบุคลากรสนับสนุน
(1) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา คือ
1. Organization เน้นความรู้ ความเข้าใจ และสมรรถนะเพื่อการปฏิบัติงานพร้อม
ทั้งการสร้างนวัตกรรม

2. People เน้นการพัฒนาตนเอง และพัฒนาทีมงาน

3. Function เน้นความรู้ความสามารถ และทักษะที่จาเป็นในงานที่ปฏิบัติ ได้แก่


กฎ ระเบียบ กฎหมาย ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ การคานวณ ภาษาอังกฤษ และการ
บริหารจัดการข้อมูล
การพัฒนาบุคลากรสนับสนุน
การกาหนดแผนเส้นทางการพัฒนาบุคลากร
1. การมอบหมายงานให้ปฏิบัติแทน หน.สนง.คณบดี และหัวหน้างาน
2. การส่งเข้ารับการอบรมเพื่อเตรียมตัวเป็นหัวหน้างาน
(2) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนาของคณะพิจารณาถึงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
ผู้ปฏิบัติงาน
1. แผนยุทธ์ศาสตร์/KPIs/QA
2. การมอบงานเพื่อการพัฒนา/การประเมินผล
ไมเคิล เฟลป์ส
การจัดทาแผนพัฒนาเพื่อความก้าวหน้า

วิสัยทัศน์ อยากเป็นอะไร

ยุทธศาสตร์ เรื่องใหญ่ที่ต้องทา

เป้าหมาย ต้องถึงไหน

KPIs ทาถึงไหน/ทาเท่าไหร่

แผนในการพัฒนา ทาอย่างไร

มีโครงการ/กิจกรรมใหม่อะไรบ้าง
คณะ.......................
รองคณบดี/สาขาวิชา

หัวหน้ากลุ่มภารกิจ

หัวหน้างาน

ผู้ปฏิบัติงานรายบุคคล

สานักงาน ก.พ.
คณะศึกษาศาสตร์
คณบดี/รองคณบดี/สาขาวิชา

ผู้อานวยการกองริหารงาน
คณะ
หัวหน้างาน

ผู้ปฏิบัติงานรายบุคคล

สำน ักงำน ก.พ.


สำนักงำนคณบดี
KPIs
นโยบาย

ทบทวน
ความคาดหวัง
หน่วยงาน SOP

ความเสี่ยง
สารสนเทศ สมรรถนะ
การส่งเสริม
การประเมิน แต่งตั้ง
รายงาน
การใช้ทรัพยากร กรรมการ
สะท้อนผล ร่วมกัน

การดาเนินงาน ศึกษาข้อมูล
ตามแผน
วางแผน
ลักษณะงาน

งานสนับสนุน
งานพิเศษ

งานหลัก
งานยุทธศาสตร์/QA
งานพัฒนา
ลักษณะเป้าหมายที่มีประสิทธิผล

คณะ/บุคลากรเห็นว่ามีความสาคัญ

มีความชัดเจน มีความเฉพาะเจาะจง

เป้าหมาย วัดผลได้ และกาหนดเวลาได้

สอดคล้องกับกลยุทธ์ของคณะ
มีความท้าทาย แต่อยู่ในวิสัยทัศน์ทาได้
เส้นทางความก้าวหน้าของประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือ
เชี่ยวชาญเฉพาะ และประเภททั่วไป

ตาแหน่งประเภททั่วไป ตาแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ
• ระดับชานาญงาน หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
• ระดับชานาญงานพิเศษ • ระดับชานาญการ
• ระดับชานาญการพิเศษ
• ระดับเชี่ยวชาญ
• ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ
กระบวนการประเมิ1.นเพื
กรอบต
่อแต่งตัำแหน่ ง ประกำศ
้งบุคคลให้ ก.บ.ม.
ดารงตาแหน่ งสูงขึ(ฉบั
้น บที่ 2/2555)

ประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
ประเมินค่างาน ประเมินผลงานทาง
งานตามตัวชี้วัดของ
ของตาแหน่ง วิชาการ
ตาแหน่งที่ครองอยู่
ปัญหาของบุคลากรสายสนับสนุน
• เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นไม่ได้
• ไม่มีกรอบตาแหน่งให้เลื่อนสูงขึ้น
• มีกรอบตาแหน่ง แต่ขาดประสบการณ์การวิเคราะห์/สังเคราะห์
• ไม่มีระบบพี่เลี้ยง/ขาดความมั่นใจ
ปัญหาของมหาวิทยาลัย
• ไม่มีกรอบอัตรากาลัง
• ควรจัดทากรอบอัตรากาลังเสนอสภามหาวิทยาลัย
ตามมาตรา 20 (กพอ.)
ม.20

พื้นฐาน วิชาการ
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง กรอบตาแหน่ง ความก้าวหน้า สนับสนุน

สภาสถาบันอุดมศึกษา

จานวนที่พึงมี อันดับเงินเดือน
ของตาแหน่ง

( ประสิทธิภาพ / ความไม่ซ้าซ้อน / ความประหยัด )


กรอบความก้าวหน้า

เชี่ยวชาญพิเศษ
เชี่ยวชาญ
ผอ.ส่วนที่ ……%
งานอธิการบดี ชานาญการพิเศษ ........%
ชานาญงานพิเศษ ……%

ผอ.กอง ชานาญการ ……..%


ชานาญงาน ........%

เลขานุการคณะ ปฏิบัติการ ……%


ปฏิบัติงาน ……..%

ผู้บริหาร วิชาชีพเฉพาะ/ ทั่วไป


เชี่ยวชาญเฉพาะ
การพัฒนาบุคลากรสนับสนุน
(1) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา คือ
1. Organization เน้นความรู้ ความเข้าใจ และสมรรถนะเพื่อการปฏิบัติงานพร้อม
ทั้งการสร้างนวัตกรรม
2. People เน้นการพัฒนาตนเอง และพัฒนาทีมงาน
3. Function เน้นความรู้ความสามารถ และทักษะที่จาเป็นในงานที่ปฏิบัติ ได้แก่
กฎ ระเบียบ กฎหมาย ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ การคานวณ ภาษาอังกฤษ และการ
บริหารจัดการข้อมูล
เนื้อหาในคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน

 ความเป็นมาขององค์กร ของงาน และหน้าที่งาน


 ความสาคัญที่ต้องทาคู่มือ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ขอบเขต ข้อจากัด
 ระเบียบ กฎ ข้อกาหนด ที่ต้องใช้
 มาตรฐานขั้นตอนผังกระบวนงาน แบบฟอร์ม เงื่อนไขเวลา
 เทคนิคที่สาคัญ หรือข้อพึงระวัง
 การนาไปใช้ และข้อเสนอแนะต่างๆ
 การอ้างอิง ภาคผนวก เช่น แบบฟอร์ม ระเบียบ
เนื้อหาในเอกสารสังเคราะห์ วิเคราะห์ วิจัย

เป็นกระบวนการมากขึ้น แยกเป็นบทๆ
 ความเป็นมา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ขอบเขตการศึกษา
 การอ้างอิง ทบทวนวรรณกรรม
 วิธีการในการดาเนินงาน
 ผลการดาเนินงาน
 สรุป ข้อเสนอแนะ
 อ้างอิง
 ภาคผนวก
วิธีการเขียนขั้นตอนกระบวนงาน

 แบบข้อความ
 แบบตาราง
 แบบแผนภูมิ
 แบบภาพถ่าย รูปภาพ
 Multi Media
 แบบผังขั้นตอน
 แบบเชื่อมโยง
สัญลักษณ์

จุดเชื่อมต่อกับกระบวนงานอื่น
จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดกระบวนงาน

กิจกรรมงาน/ขั้นตอนในกระบวนงาน
จุดตัดสินใจ
เอกสาร ข้อมูลนาเข้า/ผลผลิต/รายงาน
ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระบวนงาน
จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน
ตัวอย่างสัญลักษณ์
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งาน
1. การวางแผนกาลัง
2. การสรรหาและการคัดเลือก
3. การประเมินค่างานและการกาหนดค่าตอบแทน
4. มาตรฐานในการประเมินผลงาน
5. การพัฒนาบุคลากร
ความหมายการวิเคราะห์งาน

การวิเคราะห์งาน : กระบวนการรวบรวมข้อมูล
1. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ มีงานอะไรบ้าง
2. หน้าที่ความรับผิดชอบ อะไรบ้าง
3. ความรู้ ความสามารถ ทักษะ
4. องค์ประกอบอื่น ๆ
(3.-4. คุณลักษณะที่เหมาะสมกับงาน)
-การกาหนดจานวนที่เหมาะสม
ลักษณะของงาน

แสดงให้เห็นว่าผู้ดารงตาแหน่ง ต้องปฏิบัติงานลักษณะใด ในฐานะ/บทบาทใด ซึ่งจะ


สะท้อนถึงความสาคัญ และคุณค่าของงานนั้น โดยจะต้องเขียนให้สอดคล้องกับลักษณะ
งานที่กาหนดไว้ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง
ที่ ก.พ.อ. /ก.บ.ม. กาหนด
คู่มือการปฏิบัติงาน
วิเคราะห์
วิจัย

โดย
คุณอุ่นเรือน มงคลชัย (ขรก.บานาญ (บุคลากรเชี่ยวชาญ มข.))
mounra@kku.ac.th
คุณวิลาวัณย์ อุ่นเรือน (พยาบาลชานาญการพิเศษ รพ.ศรีนครินทร์ มข.)
awilaw@kku.ac.th
21-22/11/2561
คาสาคัญที่สามารถใช้แทนขอบเขตของเนื้อหา
ที่ผู้ใช้ต้องการหัวใจสาคัญของการค้นหา
เปรียบเทียบองค์ประกอบของคู่มือฯ/วิจัย/วิเคราะห์

วิจัย : วิธีการเก็บรวบรวมและ วิเคราะห์ : ศึกษาผล


คู่มือปฏิบัติงาน
วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ที่เกิดขึ้นแล้ว
1. บทนา 1.บทนา 1. บทนา
2. โครงสร้างองค์กรและบทบาทหน้าที่ 2. การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องการ
3. หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Literature Review) วิเคราะห์/กฎ ระเบียบ ฯลฯ)
(เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) 3. วิธีการดาเนินงานวิจัย 3. วิธีการดาเนินการวิเคราะห์ระเบียบวิธี:
4. เทคนิคการปฏิบัติงาน (ระเบียบวิธีวิจัย:ประชากร/กลุ่ม ตย./ ประชากร/กลุ่ม ตย./ เครื่องมือ/ สถิติ
(แผนการปฏิบัติงาน/ตย.ข้อควรระวัง) เครื่องมือ/สถิติที่ใช้) 4. ผลการวิเคราะห์
5. ปัญหาและข้อเสนอแนะ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. ปัญหาและข้อเสนอแนะ
(เพื่อการพัฒนา) 5. บทสรุปและอภิปรายผลข้อเสนอแนะ
(บทสรุปเกิดจากการค้นพบของเรา
ไม่อ้างอิงถึงงานวิจัยของใครอีก )
คู่มือ:เลือกหัวข้อให้ตรงกับตาแหน่ง

ใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนระดับตาแหน่งให้สูงขึ้น
คู่มือ : เลือกหัวข้อให้ตรงกับตาแหน่ง
ขั้นตอนการจัดทาคู่มือ
1. กาหนดหัวข้อเรื่องของคู่มือเป็นการรวบรวมความรู้ที่มีลาดับความยากง่าย ศึกษา
รายละเอียดเอกสารที่เกี่ยวข้อง (วิเคราะห์งานตนเอง)
2. เขียนขั้นตอนงาน Work Flowกระบวนงานในคู่มือตั้งแต่ต้นจนจบ
3. ลงรายละเอียดในแต่ละกระบวนงาน/ขั้นตอนงาน
(บทที่2 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่สามารถดูที่เวปไซด์ของหน่วยงานได้)
4. ให้หัวหน้าและเพื่อนร่วมงานอ่านเพื่อปรับปรุง
5. เผยแพร่ผลงาน/ นาไปใช้งานจริง(ต้องมีหลักฐานการประเมินคู่มือ)
6. ประเมิน ปรับปรุง พัฒนาให้เป็นปัจจุบันและใช้เป็น มาตรฐาน
วิจัย : Research Question
ชัดเจน วัดได้ ทราบประชากร
คาถามวิจัย PICO Model P = People, Problem
I = Intervention
C = Control / Comparison
O = Outcome
R2R คนหน้างานทาวิจัยเอง
/พบปัญหา/อยากหาคาตอบนาไปใช้แก้ปัญหาได้เลย(ไม่ใช่เสนอนโยบาย)
ระเบียบวิธีวิจัย (methodology)
เชิงปริมาณ (Quantitative)การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative)
เชิงปฏิบัติการ (Action Research)
วิเคราะห์ : ศึกษาผลที่เกิดขึ้นแล้ว
แต่ไม่เป็นไปตามตัวชี้วัด/เป้าหมาย
เกณฑ์ในการพิจารณา
คู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย
ดี เนื้อหาสาระถูกต้อง สมบูรณ์ทันสมัย ดี : ตรงตามวัตถุประสงค์ กระบวนการถูกต้องตามหลัก
มีแนวคิดและนาเสนอที่ชัดเจน มีการเสนอความรู้/ วิชาการมีประโยชน์ต่อการพัฒนางาน
วิธีการทันสมัย สามารถใช้อ้างอิง/ปฏิบัติได้ และมี
ประโยชน์ต่อการพัฒนางาน ดีมาก : ก่อให้เกิดความรู้ใหม่/เทคนิควิธีการใหม่และ
ในหน้าที่ เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบมาตรฐานของงาน
ดีมาก ก่อให้เกิดความรู้ใหม่/เทคนิควิธีการ ดีเด่น : บุกเบิกใหม่ / กระตุ้นให้เกิดความคิด ค้นคว้า
ใหม่และเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาระบบ ต่อเนื่อง / เป็นที่เชื่อถือยอมรับในวงวิชาชีพ
มาตรฐานงาน
ดีเด่น บุกเบิกใหม่ / กระตุ้นให้เกิดความคิด
ค้นคว้าต่อเนื่อง / เป็นที่ยอมรับในวงวิชาชีพ

พิเศษ ปั้นเปี่ยมรัตน์.หลักและวิธีการจัดทาคู่มือปฏิบัติงาน:http://bus.ku.ac.th/file/workbook.PDF
ข้อควรระวัง : การคัดลอกผลงานโดยไม่อ้างอิง
(วินัย ปรับตก ไม่ยื่นผลงาน 5 ปี)/เขียนภาษาพูด
เขียนไม่เรียงหัวข้อ(สลับไปมา) เนื้อหาสาคัญไม่ครบ บรรณานุกรม
หรือ เอกสารอ้างอิง (ไม่ครบ)
ภาษาไทยไม่มีเครื่องหมาย “,”
คู่มือเรื่อง : การพัฒนาระบบพี่เลี้ยง
บทที่ 1
บทนา ความเป็นมา ความสาคัญ และความจาเป็น
ย.1 การลาออกส่งผลอย่างไร ...........ความสาคัญของระบบพี่เลี้ยง เป็นเครื่องมือ
อย่างหนึ่งในการพัฒนาพนักงานจะช่วยส่งเสริม แนะนาสนับสนุนให้คาปรึกษา และ
สามารถพัฒนาพนักงานให้มีศักยภาพมากขึ้น (พนักงานใหม่เข้ามาต้องมีการสอนงาน)
ย.2 หน่วยงาน....มีการลาออกต้องสรรหาพนักงานใหม่ รับเข้ามาทดแทน ทาให้
การดาเนินงานขาดความต่อเนื่องและสิ้นเปลืองงบประมาณและเวลา นอกจากนี้การ
พัฒนาพนักงานให้มีศักยภาพให้สามารถปรับตัว ปฏิบัติงานได้ ต้องมีพี่เลี้ยงในการสอนงาน
อย่างเป็นระบบ ในการปฏิบัติงานที่ผ่านมา การสอนงานพนักงานใหม่ยังไม่มีเอกสารคู่มือ
การพัฒนาระบบพี่เลี้ยง/เก่าแล้ว(ทาใหม่)
ย.3 จากความเป็นมา ความสาคัญ และความจาเป็น ดังกล่าว....
บทที่ 1 (ต่อ)
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเป็นเอกสารฝึกอบรมพี่เลี้ยงของหน่วยงาน
2. เพื่อเป็นอ้างอิงให้บุคลากรใช้ศึกษา ค้นคว้า บทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง
ประโยชน์ที่ได้รับ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ขอบเขตของคู่มือ : คู่มือการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงใช้สาหรับบุคคลากรที่ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลพนักงานที่
เข้าปฏิบัติงานใหม่ของหน่วยงาน............ครอบคลุมบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง
ถึงการติดตามผลการปฏิบัติงานของพนักงานใหม่
นิยามศัพท์/ข้อตกลง (ต้องเขียนให้สอดคล้องกับเนื้อหาในบทที่ 2-5) บทที่ 1 เขียนคาเต็ม)
มหาวิทยาลัย หมายความว่า ..........
อธิการบดี
หน่วยงาน
พี่เลี้ยง
โครงสร้างองค์กร(Organization Structure) หมายถึง ระบบการ
ติดต่อสื่อสาร และอานาจบังคับบัญชาที่เชื่อมต่อคน และกลุ่มคนเข้าด้วยกัน
เพื่อทางานร่วมกันจนบรรลุเป้าหมายขององค์กร
บทที่ 2 คู่มือ โครงสร้างองค์กรและบทบาทหน้าที่
2.1 (เกริ่นนา) มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อ....มี.....วิทยาเขต
วิทยาเขตก่อตั้งเมื่อ.....สนับสนุนภารกิจของมหาวิทยาลัยด้านใด/วิสัยทัศน์/พันธกิจมีโครงสร้างองค์กรดังนี้
แผนภูมิโครงสร้างองค์กร

(การบริหาร สน./คณะ)งานสนับสนุนมีภารกิจของมหาวิทยาลัยด้านใด/วิสัยทัศน์/พันธกิจมีโครงสร้างบริหารงาน
ดังนี้ โครงสร้างบริหารจัดการ
งาน(ที่ท่านสังกัด)..มีภารกิจสนับสนุน...มีภาระงาน......งานมีบุคลากรที่การปฏิบัติงานในหน่วยงานดังนี้
โครงสร้างการปฏิบัติงาน
2.2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดขอบของผู้ดารงตาแหน่ง.......... ดังนี้ .................ภาระงานที่ได้รับมอบหมายได้แก่.. (กี่ภาระงาน)
1A ทาอะไร อย่างไร แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้มองภาพที่สะท้อนถึง คุณภาพงาน ความยุ่งยากของงานสะท้อนถึงความเป็น
ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ ความชานาญงาน และมีประสบการณ์ (มีความรับผิดชอบงานตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนงานจนถึงสิ้นสุดกระบวนงาน
มีการพัฒนางานใหม่ๆอย่างไรเป็นต้น)
2.B ..........
ดูตัวอย่าง
การเขียนเกริ่นนา ก่อนแสดงโครงสร้างบริหารของคณะมนุษยศาสตร์ มข.
https://hs.kku.ac.th/page/about-us-administration
ศูนย์สัตว์ทดลอง มหิดล.http://www.nlac.mahidol.ac.th/acth/index.php/about-
us/structure/structureadmin
บทที่ 3 (ตย.)
สมรรถนะในการทางาน(Competency) ของพี่เลี้ยงมีอะไรบ้าง
การสอนงาน/ทักษะ
(สอนให้คนไม่รู้เรื่องงานเราเข้าใจทาได้ มีจิตวิทยาในการสอน/ตัวแบบที่ด)ี
องค์ความรู้ในการสอนงานที่ดี
ทัศนคติ ที่ดีต่อการเป็นพี่เลี้ยง
การสร้างสัมพันธภาพ/ การรู้จักสังเกต
มีกฎระเบียบ มติ/ใช้ ทบ.อะไร
(ความแตกต่างกัน)
ด้านทักษะการทางานเป็นทีม เอกสารงานวิจัย
การสร้างแรงจูงใจ โครงการพัฒนางานที่ผ่านมา
การเสริมพลังอานาจ
การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน

พี่เลี้ยงในองค์กร - e-Learning Nursing Mahidol


http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/km/images/cops/cops-happyworkplace/_1.pdf
บทที่ 4 เทคนิคการปฏิบัติงาน
แผนการปฏิบัติงานของคู่มือ : กิจกรรมอะไรบ้างที่ทาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเป้าหมาย :
วิธีดาเนินการ
ลาดับ กิจกรรม ให้สาเร็จตาม ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย
1
2

แสดงผังการไหลของงาน /อธิบาย นาไปพัฒนาแสดงใน


บทนี้/บทที่ 3 ได้
ข้อควรระวัง /กรณีศึกษา(ตัวอย่าง)
การติดตามประเมินผลของงาน/ความพึงพอใจ/ข้อร้องเรียน
จริยธรรม/จรรณยาบรรณผู้ปฏิบัติงาน (จรรยาบรรณของมหาวิทยาลัย/ตาแหน่ง)
บทที่ 5
ปัญหาและข้อเสนอแนะ

(เกริ่นนา) ในการปฏิบัติงาน(คู่มือ)..............พบปัญหาอุปสรรคและ การแก้ไขเพื่อให้


ผู้ปฏิบัติงานได้ศึกษาและนาไปปฏิบัติได้ถูกต้อง

5.1 ปัญหาและการแก้ไขปัญหา

(1) ปัญหา (2) การแก้ไขปัญหา (3)ข้อเสนอแนะ


(รายปัญหา) มี 3 ช่อง

5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
คู่มือการเขียนโครงการวิจัย : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
https://techno.kpru.ac.th/en/images/reseach/Research_manu
al.pdf
โครงร่างงานวิจัย (Proposal)/วิเคราะห์
ส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่
1. ชื่อโครงการ
2. หลักการและเหตุผล
3. วัตถุประสงค์
4. การทบทวนวรรณกรรม
5. วิธีการวิจัย
6. ตารางการดาเนินงาน
7. บรรณานุกรม
8. งบประมาณ
9. บรรณานุกรม
บทที่ 2
Review Literature
การแสดงให้ผู้ตรวจสอบ/วิจัย/คู่มือ/การวิเคราะห์
มีความรู้ ครบถ้วนแล้วในทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
รู้ว่าใครทาอะไรไว้บ้าง และเพื่อสรุปความรู้ที่ปรากฏ เราต้องทาอะไรต่อไป

แหล่งค้นคว้า
1) ตารา บทความจากวารสาร บทความจากวารสารที่นิยม คือ Web of Science และ
Scopus
2) อินเตอร์เน็ต เช่น Google, Thai lis, Thai index ฯลฯ
3) ห้องสมุด
4) ฐานข้อมูลของศูนย์อ้างอิงดัชนีวารสารไทย
เทคนิคการสืบค้น และการใช้เครื่องมือ สาหรับ การสืบค้นและการตีพิมพ์เผยแพร่
https://home.kku.ac.th/phlib/doc/LibSkills/Tip&ToolSearchingPHLIBKKU.pdf

สมาน ลอยฟ้าการค้นคนการอ้างอิงผลงานทางวิชาการ Cited Reference Searching


file:///C:/Users/Hospital/Downloads/6114-Article%20Text-11762-1-10-20130220.pdf
การเขียนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การค้นหาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้อ่าน/ผู้ปฏิบัติได้ความรู้เพิ่มขึ้น
ไม่ควรเขียน บทคัดย่อ มาเรียงต่อกัน
นาย ก. (2559)ศึกษา...........................................(บทคัดย่อ)
B (2560) ศึกษา .............................................. (บทคัดย่อ)
C (2561) ศึกษา.................................................( บทคัดย่อ)
ดังนั้น .........มีความสาคัญมาก จึงควรได้รับการศึกษา/จัดทาคู่มือ/ศึกษา.......
การปฏิบัติงานเรื่อง.......มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเรื่อง....................ซึ่งมีจุดความสาคัญคือ................... ซึ่งแตกต่างจาก
การศึกษาของ นาย ก.(2559) ทีไ่ ด้ศึกษาคือ.........................ใช้ทฤษฎีหลัก ๆ คือ ................... มีเครื่องมือในการศึกษาคือ
.........................ตัวอย่างของการศึกษา เช่น B (2560) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับ....................
C (2561) ได้พัฒนา/ประยุกต์ใช้ในการศึกษาเรื่อง...........................
โดยสรุป/ดังนั้น ................การประยุกต์ใช้ในปัญหาเรื่อง...............และอาจจะยังไม่สามารถให้คาตอบที่ดีได้ในเรื่อง............
ซึ่งควรต้องได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้นต่อไป
ข้อบกพร่องที่พบในการทา Review Literature คือ
1) เขียนโดยไม่รู้เน้นความสาคัญ/เป้าหมาย/เนื้อหาที่สาคัญ/
2) เอาเนื้อหามาเรียงต่อกันโดยไม่มีวิเคราะห์/สังเคราะห์/ความสัมพันธ์
3) ไม่สรุปเนื้อหาที่ค้นพบ

การอ่านวารสารhttps://th.wikihow.com/%E0%B8

กรอบในการศึกษา

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

https://www.sandals.com/all-
inclusive/over-the-water/bungalows/
หัวเรื่อง คู่มือการปฏิบัติงาน
1. การบริหารจัดการอานวยการบริหารงานทั่วไป
2. การบริหารโครงการงานวิจัย
3. การขอกาหนดตาแหน่งสูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุน
4. การขอตาแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ
5. การเบิกจ่ายไปราชการของบุคลากร
6. การลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงานของบุคลากร
7. การบริหารจัดการประชุมสภามหาวิทยาลัย
8. การบริหารจัดการประชุมกรรมการประจาคณะ
9. การบริหารจัดการประชุมกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
10. เทคนิคการสอบสวนวินัย
11. การของบประมาณแผ่นดิน และงบประมาณเงินรายได้
12. การรายงานฐานะการเงินมหาวิทยาลัยรายไตรมาส
หัวเรื่อง คู่มือการปฏิบัติงาน (ต่อ)
13. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ
14. การขอเสนอขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์
15. การบริหารงานอาคารและสถานที่
16. การประกันคุณภาพการศึกษา
17. การบริหารจัดการสารบรรณ
18. การบริหารจัดงบประมาณรายจ่าย
19. การรับเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย
20. การแนะแนวการศึกษาและอาชีพ
21. การพัฒนาระบบการบริการงาน.....ที่มีประสิทธิภาพ
Q/A

You might also like