You are on page 1of 19

การดำเนินการขององค์กรและหน่วยงานเพื่อการ

บริหารงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หรือองค์กรแนวใหม่
+ ศึกษาองค์กร ABET , NBQSA

นำเสนอ
ผศ.ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี
สมาชิก

นางสาวจิราพร จันคง นายวชิระ ขาวกระจ่าง


66010581013 66010581054
การประกันคุณภาพการศึกษา

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 81 ไดกําหนดใหรัฐตอง


จัดการศึกษาอบรมและสนับสนุนใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิด “ความรูคูคุณธรรม” และ
จัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ซึ่งนําไปสูพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 กอใหเกิดการปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญที่มุงเนนคุณภาพการศึกษา
คือ ไดกําหนดใหมี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาทุกระดับ (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 : มาตรา 47)
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2543) ใหความหมายการประกัน


คุณภาพภายใน เปนกระบวนการบริหารจัดการเพ่ื่อใหบรรลุเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพ
ใหเปนไปตามมาตรฐานที่ตองการ เปนกระบวนการที่บุคลากรทุกฝายในสถานศึกษา รวมกัน
วางแผน กําหนดเปาหมายและวิธีการ ลงมือทําตามแผนในทุกขั้นตอน มีการบันทึกและ ติดตาม
ตรวจสอบผลงาน หาจุดเดน จุดที่ตองปรับปรุงแลวรวมกันปรับปรุงแผนงานนั้นๆ โดย
มุงหวังใหมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เนนคุณภาพผูเรียนเปนสําคัญ
การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน

1. จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนา


ปรับปรุง คุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายที่สำคัญอยู่ที่ การพัฒนาให้เกิด
ขึ้นกับผู้เรียน
2. การที่จะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามข้อ 1 ต้องทำให้ การประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ต้องวางแผนพัฒนา
และแผนปฏิบัติการที่มีเป้าหมาย ชัดเจน ทำตามแผน ตรวจสอบประเมินผลและพัฒนาปรับปรุง
3. การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน

การเตรียมการ 1.วางแผนการปฏิบัติงาน (P) การรายงาน


1.1 จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
1.2 กำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองหรือ
1.เตรียมความพร้อมของบุคลากร
1.3 จัดทำแผน รายงานประจำปี
-สร้างความตระหนัก
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา -รวบรวมผลการดำเนินงานและผล
-พัฒนาความรู้และทักษะเกี่ยวกับ แผนปฏิบัติการประจำปี
การประเมิน
การประกันคุณภาพภายใน
2. การดำเนินการตามแผน (D) -วิเคราะห์ตามมาตรฐานเขียน
2.แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ
1.จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผน รายงาน
2.ส่งเสริมให้มีการดำเนินงานตามแผน

3. ตรวจสอบประเมินผล (C) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา


-จัดทำเครื่องมือในการเก็บข้อมูล เช่น แบบทดสอบ -จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการ
การสังเกตพฤติกรรม
ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
-ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
-จัดเก็บข้อมูล/วิเคราะห์/แปลความหมาย
-ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพการประเมิน

4. การนำผลการประเมินมาปรับปรุง (A)
-วางแผนในระยะต่อไป
-การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ
การเตรียมการก่อนดำเนินการประกันคุณภาพภายใน
1. การเตรียมความพร้อมของบุคคลากร
สร้างความตระหนัก ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องปลุกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุก
ฝ่ายมองเห็นคุณค่า และมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน จึงจำเป็นที่
จะต้องปรับความคิดของบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับเดียวกันก่อน
การพัฒนาความรู้และทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน
2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ
ถึงแม้ว่าการประกันคุณภาพภายในจะเป็นภารกิจของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา แต่ในการ ดำเนินงาน
จำเป็นจะต้องมีผู้รับผิดชอบในการประสาน กำกับ ดูแล ช่วยเหลือ โดยผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบที่สำคัญที่สุด
คือ ผู้บริหารสถานศึกษา
การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน
1. การวางแผน (Plan) จะต้องมีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งเป็น ข้อตกลง
ร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้อง และในการจัดทำแผนต่าง ๆ นั้น ควรวางแผนการประเมินผลไป
พร้อมกันด้วย เพื่อใช้กำกับตรวจสอบการ ปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนเพียงใด
2. การปฏิบัติตามแผน (Do) เมื่อสถานศึกษาได้วางแผนการปฏิบัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว บุคลากรก็ร่วมกัน
ดำเนินการตามแผนที่จัดทำไว้ และเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการดำเนินตามแผน ให้การนิเทศ ในระหว่างการ
ปฏิบัติงาน ผู้บริหารต้องกำกับและติดตามว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือแผนที่กำหนดไว้ หรือมี ปัญหาหรือไม่
3. การตรวจสอบประเมินผล (Check) เป็นกลไกสำคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา เพราะจะทำให้ได้ข้อมูล
ย้อนกลับ ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินที่ผ่านที่กำหนดไว้เพียงใดต้องปรับปรุงแก้ไขในเรื่องใด
4. การนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Act)
4.1 การปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากร
4.2 การวางแผนในระยะต่อไป
รูปแบบการประเมินแนวใหม่
รูปแบบการประเมินแนวใหม่ 4 ลักษณะ คือ
1. การประเมินแบบองค์รวม (holistic grading)
2. การตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment)
3. การประเมินโดยวิธีพิชญพิจารณ์ หรือการทบทวนโดยบุคคลระดับเดียวกัน(Peer review)
4. การประเมินบนพื้นฐานของหลักฐาน (evidence-based assessment)
การรายงาน
สถานศึกษาประเมินตนเองและจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report :
SAR) หรือรายงานประจำปีให้สอดคล้องกับบริบท สภาพ และความต้องการของสถานศึกษา ไม่เน้นจัด
ทำเอกสารจำนวนมาก แต่ให้สะท้อนผลคุณภาพของการดำเนินงานของสถานศึกษา มุ่งเน้นตอบคำถาม
ดังนี้
1. คุณภาพของสถานศึกษาอยู่ในระดับใด
2. หลักฐาน เอกสาร ข้อมูลเชิงประจักษ์สนับสนุนผลการดำเนินงาน
3. แนวทาง/แผนการพัฒนาคุณภาพให้ดีกว่าเดิม
ABET
Accreditation Board for Engineering and Technology หรือองค์กรวิชาชีพ
ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ ที่ทำการประเมินและให้การ
รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาวิศกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีของสหรัฐอเมริกาและ
ประเทศต่างๆ
ABET หรือ Accreditation Board for Engineering and Technology
เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ณ เมือง Baltimore มลรัฐ Maryland
สหรัฐอเมริกา ประกอบด้วยสมาคมวิชาชีพกว่า 30 องค์กร เช่น สมาคมวิศวกรรมโยธา สมาคม
วิศวกรรมเครื่องกล สมาคมวิศวกรรมไฟฟ้า โดยได้รับการมอบหมายจาก Council for Higher
Education Accreditation(CHEA) ของสหรัฐอเมริกา ให้ทำการประเมินและรับรองมาตรฐาน
คุณภาพการศึกษาในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์ (Applied Science,Computing, Engineering,Engineering Technology)
ความสำคัญของการขอรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
การศึกษาจาก ABET
ในสหรัฐอเมริกา การขอรับการรับรองตามมาตรฐานของ ABET จะมีผลต่อการทำงานของ
นักศึกษาในอนาคต
- นักศึกษาที่จบจากสาขาวิชาที่ได้รับการรับรองโดย ABET สามารถขอใบรับรองวิชาชีพได้เร็วกว่า
นักศึกษาที่จบจากสาขาวิชาที่ไม่ได้รับการรับรอง โดยสามารถขอใบรับรองวิชาชีพได้ภายใน 4 ปี
- นักศึกษาของสาขาวิชาที่ไม่ได้รับการรับรองจะไม่สามารถขอรับทุนรัฐบาลกลางได้ ซึ่งทำให้บัณฑิต
จะมีความภูมิใจและเห็นคุณค่าของปริญญาที่ได้รับ
สำหรับประเทศไทย การให้ความสำคัญกับการรับรองตามมาตรฐานของ ABET ยังไม่แพร่หลายใน
สถาบันอุดมศึกษาไทยมากนัก ซึ่งสถานศึกษาที่ได้รับการรับรองเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ในมิติต่างๆ ดังนี้
- สถาบันอุดมศึกษามีหลักสูตรที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานที่ทันสมัย มีความเป็นสากล
จัดการเรียนการสอนและการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ
- ผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีความมั่นใจในคุณภาพหลักสูตร ว่าเป็นไปตามคุณภาพ
มาตรฐานที่กำหนด
- สถานประกอบการมีความมั่นใจในคุณภาพบัณฑิต ว่ามีความสามารถในการปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานอาชีพ และมีความรู้ทางวิชาการเพื่อใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรให้เทียบเคียง
มาตรฐานสากล
NBQSA
รางวัลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติ
NBQSA
รางวัลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติ - NBQSA เป็นการแข่งขันเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติเพียงแห่งเดียวในศรีลังกาที่จัดขึ้นตั้งแต่ปี 1998 เพื่อแสดง
และยกย่องนวัตกรรมของบุคคลและองค์กรสำหรับการมีส่วนร่วมที่โดดเด่นของพวกเขาในการ
พัฒนาอุตสาหกรรมสารสนเทศและการสื่อสารในศรีลังกา เป็นแพลตฟอร์มที่มีโอกาสพิเศษใน
การนำเสนอและวัดผลความสามารถด้าน ICT ในท้องถิ่นให้กับอุตสาหกรรมธุรกิจและทั่วโลก
กิจกรรมนี้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี
วัตถุประสงค์หลักของ NBQSA
o ยกย่องความสำเร็จที่โดดเด่นของบุคคลและองค์กรในประเทศศรีลังกาที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
o สร้างหน้าต่างสู่การยอมรับในระดับสากลสำหรับผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่
พัฒนาในท้องถิ่น
o ยกระดับมาตรฐานและคุณภาพสินค้าและบริการด้านไอซีทีในท้องถิ่นให้มีความโดดเด่นและแข่งขัน
ได้ทั้งในและต่างประเทศ
o แพลตฟอร์มสำหรับนักลงทุน ลูกค้า และผู้ให้บริการ
Thank you

You might also like