You are on page 1of 5

โครงการ

พัฒนาทักษะการคิดเพือ
่ เตรียมความพร้อมผูเ้ รียนสาหรับศตวรรษที่
21
(Thinking Skills for the 21st Century)
1. ชือ
่ โครงการ
พัฒนาทักษะการคิดเพือ่ เตรียมความพร้อมผูเ้ รียนสาหรับศตวรรษที่ 21
(Thinking Skills for the 21st Century)
2. หน่ วยงานทีร่ บ
ั ผิดชอบ
โรงเรียนทีปงั กรวิทยาพัฒน์(วัดประดู)่ ในพระราชูปถัมภ์ฯ
3. หลักการและเหตุผล
ท่า มกลางโลกที่มี ก ารเปลี่ย นแปลงในการก้า วเข้ า สู่ศ ตวรรษที่ 21
เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ต่ า ง ๆ เ ข้ า ม า มี บ ท บ า ท ม า ก ขึ้ น
ทาให้มนุษย์ตอ ้ งเรียนรูเ้ พือ
่ ทีจ่ ะก้าวให้ทน ั กับการเปลีย่ นแปลงและพร้อมเ
ผ ชิ ญ กั บ ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ า ง มี ส ติ
เด็กยุคใหม่จงึ จาเป็ นต้องได้รบ ั การปลูกฝังและฝึ กฝนให้รูจ้ กั การคิดอย่างเ
ป็ นระบบ แยกแยะสิ่ ง ที่ ค วรและไม่ ค วร รู ้จ ก ั วิ เ คราะห์ ปั ญ หาต่ า ง ๆ
ร ว ม ถึ ง ตัด สิ น ใ จ ไ ด้ อ ย่ า ง มี เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล แ ต่ ใ น ปั จ จุ บัน ก ลับ พ บ ว่ า
เด็ ก ส่ว นใหญ่ย งั ขาดทัก ษะการคิด ที่ดี ไหลไปตามกระแสสื่อ ออนไลน์
ร ว ม ถึ ง สิ่ ง ล่ อ ต า ล่ อ ใ จ ต่ า ง ๆ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า สั ง ค ม ต า ม ม า
ก า ร ป ลู ก ฝั ง ใ ห้ เ ด็ ก มี ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
และคิดอย่างมีวิจารณญาณ จึงเป็ นสิ่งทีค ่ วรได้รบ ั การพัฒนาตัง้ แต่วยั เด็ก
ใ ห้ ไ ด้ มี ก า ร ฝึ ก ฝ น อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ
เพื่อ ให้ก่อ เกิด เป็ นพฤติก รรมที่จ ะน าไปใช้ ไ ด้จ ริง จึง น ามาสู่ โ ครงการ
พัฒนาทักษะการคิดเพื่อเตรียมความพร้อมผูเ้ รียนสาหรับศตวรรษที่ 21
( Thinking Skills for the 2 1 st Century)
ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรทีจ่ ะช่วยให้เด็กเรียนรูแ ้ ละฝึ กฝนทักษะ
ก า ร คิ ด ที่ จ า เ ป็ น
อันจะทาให้เด็กทีม ่ ีทกั ษะการคิดทีก ่ า้ วทันโลกในยุคศตวรรษที่ 21
ส า ห รั บ โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ จ ะ น า ม า ใ ช้ คื อ บ อ ร์ ด เ ก ม
เนื่ อ งจากมี ง านวิจ ยั รองรับ แล้ว ว่า สามารถช่ว ยพัฒ นาทัก ษะการคิด ได้
บอร์ดเกมยุคใหม่ได้มีการพัฒนาเรือ ่ ยมาเพือ ่ พัฒนาทักษะการคิดเชิงตรร
กะ ไม่ ว่ า จะเป็ น การ เก็ บ ข้ อ มู ล การแยกแยะข้ อ มู ล การอนุ มาน
ก า ร ล า ดั บ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
บ อ ร์ ด เ ก ม ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ ต า ม ช่ ว ง วั ย ตั้ ง แ ต่ เ ด็ ก เ ล็ ก
จ น ถึ ง ร ะ ดั บ บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป
บอร์ดเกมยังมีการออกแบบได้น่าสนใจดึงดูดความสนใจเด็ก ทาให้เด็กๆ
สามารถเล่นสนุกไปพร้อมกับฝึ กทักษะการคิดในสถานการณ์ จาลองของบ
อร์ดเกมได้

4. วัตถุประสงค์
1. เพือ ่ ให้ผเู้ รียนมีทกั ษะพื้นฐานทีจ่ าเป็ นต่อการต่อยอดในการพัฒนาทั
กษะการคิด
2. เพือ ่ ให้ผเู้ รียนเกิดความเชีย่ วชาญในการประยุกต์ใช้ทกั ษะพื้นฐาน
3. เพือ ่ ให้ผเู้ รียนผูเ้ รียนเกิดกระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ
ซึง่ จะนาไปสูก ่ ารพิจารณาและตัดสินใจทีเ่ หมาะสมได้
4. เพือ ่ ให้ผเู้ รียนสามารถแสดงความคิดเห็นด้วยเหตุและผลได้
5. เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถน าทัก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด แก้ ปั ญ หา
แ ล ะ คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์
ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปญ ั หาได้อย่างเป็ นรูปธรรม
5. เป้ าหมายหลัก
ผูเ้ รียนทีก ่ าลังศึกษาในระดับปฐมวัยและระดับชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 1-
6
6. ผูร้ บ
ั ผิดชอบโครงการ
นางคาพร พรมทอง
7. วิธีดาเนินการ
จั ด อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร
พัฒ นาทัก ษะการคิด เพื่อ เตรียมความพร้อ มผู้เรีย นสาหรับ ศตวรรษที่ 21
( Thinking Skills for the 2 1 st Century) ใ ห้ กั บ ค รู
และให้ค รู ท ดลองเรี ย นรู ้แ บบเด็ ก เพื่อ ให้เ ห็ น กระบวนการสอนที่ช ด
ั เจน
เ ห็ น ถึ ง ปั ญ ห า
เพือ
่ นาเสนอแนวทางปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะกับเด็กและสอดคล้องกับบ
ริ บ ท ข อ ง โ ร ง เ รี ย น
และเพือ่ ให้คณ
ุ ครูทเี่ ข้าร่วมโครงการเห็นเป้ าหมายเดียวกัน
เมื่ อ ครู ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการมี ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกับ กิ จ กรรมแล้ ว
จะดาเนินโครงการพัฒนาทักษะการคิดเพือ ่ เตรียมความพร้อมผูเ้ รียนสาหรั
บ ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 ( Thinking Skills for the 2 1 st Century)
โดยแบ่งเป็ นขัน ้ ตอน ดังนี้
7.1 ประเมิน พัฒ นาการผู้เ รี ย น (Pre-Test) ช่ ว งเริ่ม ต้น ปี การศึก ษา
เป็ นรายบุคคล
7.2 จัด ให้ มี ช่ ัวโมงในการเล่ น บอร์ ด เกมเป็ นประจ าทุ ก สัป ดาห์
โ ด ย จ ะ แ บ่ ง ร ะ ดั บ ต า ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง นั ก เ รี ย น
สามารถเพิ่ ม เติ ม และปรับ เปลี่ ย นรู ป แบบให้ เ หมาะสมกับ ผู้ เ รี ย น
และบริบทของโรงเรียน
7.3 ส รุ ป ผ ล โ ค ร ง ก า ร ทุ ก ช่ ว ง ป ล า ย ปี ก า ร ศึ ก ษ า
โดยมีการจัดแข่งเป็ นการภายในโรงเรียน (หรือกลุ
โรงเรียน) เพือ ่ ยกระดับและพัฒนา ส่งเสริมให้เด็กๆ ได้มีประสบการณ์
7.4 จั ด ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Post-Test)
แ ล ะ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น น า เ ส น อ ผ ล ก า ร เ รี ย น รู ้ ข อ ง ต น เ อ ง
แบบรายบุคคลหรือรายกลุม ่

แผนการดาเนินงาน 5 ปี การศึกษา (30 สัปดาห์ / ปี การศึกษา)


ปี การศึกษาที่ 1 ปี การศึกษาที่ 2
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
เพือ่ สร้างและปรับพื้นฐานทักษะทีจ่ าเป็ นต่อการพัฒน เพือ
่ ฝึ กฝนทักษะพื้นฐานทีจ่ าเป็ นต่อการพัฒนาทักษะการคิด
าทักษะการคิด ได้แก่ วและชานาญมากขึน ้
- สมาธิจดจ่อ
- ความจาใช้งาน
- การทาตามคาสั่ง
- การเปรียบเทียบ
- การจัดลาดับ
- การแบ่งประเภท
กิจกรรม กิจกรรม
ฝึ กเล่นบอร์ดเกมระดับง่าย อย่างน้อย 1-2 - ฝึ กเล่นบอร์ดเกมระดับง่าย-ระดับกลาง อย่างน้อย 1-2 ชม
ชั่วโมง/สัปดาห์ - ถ่ายทอดวิธีการเล่นเกมให้กบั ผูอ
้ น
ื่ ได้
โดยบอร์ดเกมจะจัดแบ่งในแต่ละหมวดเพือ ่ ฝึ กฝนแต่
ละทักษะ

8. ระยะเวลา
5 ปี การศึกษา

9. สถานที่
ภายในโรงเรียน
10. งบประมาณ
100,000 บาท/ปี การศึกษา
11. ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได้รบ ั
1. ผูเ้ รียนได้รบ ั การฝึ กฝนและพัฒนาทักษะพื้นฐานทีจ่ าเป็ นในการต่อ
ยอดไปสูก ่ ารพัฒนาทักษะการคิดได้
2. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทกั ษะพื้นฐานได้อย่างคล่องแคล่วและ
ชานาญ
3. ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
สามารถตัง้ ประเด็นปัญ หา กาหนดปัญหา ศึกษาค้นคว้าหาข้อ มู ล
ป ร ะ ม ว ล ข้ อ มู ล จ า ก ห ลั ก ฐ า น ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง
แ ย ก แ ย ะ แ ล ะ จั ด ห ม ว ด ห มู่ ข อ ง ข้ อ มู ล
และนาไปสูก ่ ารพิจารณาและตัดสินใจทีเ่ หมาะสมได้
4. ผูเ้ รียนกล้าแสดงความคิดเห็นด้วยเหตุและผลได้
5. ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ น า ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า
แ ล ะ คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์
ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปญ ั หาได้อย่างเป็ นรูปธรรม
12. วิธีการประเมินผลและดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ
1. การประเมินพัฒนาการรายปี ก่อนและหลังการร่วมโครงการของผูเ้ รีย

2. การประเมินความถีใ่ นการเข้าร่วมกิจกรรมของผูเ้ รียน
3. การประเมินคุณลักษณะของผูเ้ รียนผ่านการสังเกตพฤติกรรม
4. การประเมินการนาเสนอผลงานกลุม ่ (ปี ที่ 3-5)

ผูเ้ สนอโครงการ ผูเ้ ห็นชอบโตรงการ

(นางคาพร พรมทอง) (นางสาวปุณฑริกา


นิลพัฒน์)
ครูโรงเรียนทีปงั กรวิทยาพัฒน์
ผูอ
้ านวยการโรงเรียนวัดคลองโคนรักษาการในตาแหน่ ง
(วัดประดู)่ ในพระราชูปถัมภ์ฯ
ผูอ้ านวยการโรงเรียนทีปงั กรวิทยาพัฒน์ (วัดประดู)่ ในพระราชูปถัมภ์ฯ

You might also like