You are on page 1of 6

โครงงานคุณธรรมระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2

1. ชื่อโครงงาน
สื่ อประดิษฐ์จิตสาธารณะ
2. ความสำคัญของปัญหา
การที่มนุษย์ในสังคมจะแสดงออกซึ่ งการมีจิตสาธารณะนั้นเป็ นเรื่ องที่ยาก หากไม่ได้รับการเลี้ยงดู
มาแบบส่ งเสริ มหรื อเอื้อต่อการเกิดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ สังคมก็จะเป็ นไปแบบเห็นแก่ตวั คือ ตัว
ใครตัวมัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแต่ประโยชน์แห่งตนเท่านั้น ชุมชนอ่อนแอ ขาดการพัฒนา เพราะต่าง
คนต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็ยงั คงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยิง่ นานไปก็มีแต่เสื่ อมทรุ ดลง
อาชญากรรมในชุมชนอยูใ่ นระดับสูง ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผูน้ ำที่น ำไปสู่ การแก้ปัญหา เพราะคนใน
ชุมชนมองปัญหาของตัวเองเป็ นเรื่ องใหญ่ ขาดคนอาสานำการพัฒนา เพราะกลัวเสี ยทรัพย์ กลัวเสี ยเวลา
หรื อกลัวเป็ นที่ครหาจากบุคคลอื่น ดังนั้น การศึกษาแนวทางและความสำคัญของการมีจิตสาธารณะเพื่อให้
เกิดในจิตสำนึกของเด็กและเยาวชนนั้นเป็ นเรื่ องสำคัญที่เราควรกระทำ เพื่อสังคมที่น่าอยูต่ ่อไป ทั้งนี้เพราะ
เด็กช่วงแรกเกิดจนถึงก่อน 10 ขวบ เป็ นช่วงที่เด็กมีความไวต่อการรับการปลูกฝัง และส่ งเสริ มจริ ยธรรม
เป็ นอย่างยิง่ เพราะเด็กยังเป็ น “ไม้อ่อนที่ดดั ง่าย” ฉะนั้นการปฏิบตั ิต่อเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการด้าน
สังคมและด้านจิตใจของเด็กจะเป็ นการป้ องกันปั ญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้เป็ นพลเมืองที่ดีของสังคม ก่อ
ให้เกิดความเข้มแข็งของสังคม จะส่ งผลให้ การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรมในสังคมนั้นดีข้ ึน
ซึ่ งการมีจิตสาธารณะนี้ หากเราเริ่ มปลูกฝังกันตั้งแต่เด็ก ก็จะทำให้เด็กสามารถเติบโตขึ้นมาเป็ นคน
ดีของสังคมได้ดี โดยพ่อแม่ผปู้ กครองสามารถฝึ กให้เด็กเริ่ มเรี ยนรู ้จากการมีระเบียบวินยั รับผิดชอบต่อ
ตนเอง เรี ยกว่าเริ่ มกันตั้งแต่สิ่งเล็กน้อยใกล้ๆ ตัว ทำให้เด็กค่อยๆ รู ้จกั การเรี ยนรู ้จากสิ่ งที่เรี ยกว่ากฎของ
ธรรมชาติการอยูร่ ่ วมกันที่ผา่ นการสอนและฝึ กฝนมาจากตนเองและสิ่ งแวดล้อมรอบข้าง ที่สำคัญพ่อแม่ผู ้
ปกครองควรทำตัวเป็ นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กด้วย ก็จะทำให้เด็กเหล่านี้โตขึ้นมากลายเป็ นผูม้ ีจิตสาธารณะ
ของสังคมนัน่ เอง
3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกการมีจิตสาธารณะให้กบั นักเรี ยน ให้นกั เรี ยนมีจิตสาธารณะ
3.2 นักเรี ยนสามารถเป็ นแบบอย่างสามารถชักชวนแนะนำให้ผอู ้ ื่นให้มีจิตสาธารณะได้
4. กลุ่มเป้ าหมาย
นักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 กลุ่มกระต่ายน้อย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
นักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 กลุ่มกระต่ายน้อยทุกคน(จำนวน 12 คน) มีจิตสาธารณะ
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
นักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 กลุ่มกระต่ายน้อยทุกคน เกิดพฤติกรรมเชิงบวก มีจิตสำนึกมีจิต
สาธารณะ
5. แผนการดำเนินงาน
วางแผนการดำเนินกิจกรรม (Plan)
1. ประชุมระดมสมองวิเคราะห์สภาพปั จจุบนั ปั ญหาและความต้องการ(เหมาะสมตามวัย)
2. ร่ วมวางแผนการดำเนินการกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
ดำเนินการ (Do)
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ส่งเสริ มการมีจิตสาธารณะในทุกวันที่จดั กิจกรรมสื่ อประดิษฐ์จิตสาธารณะ
การตรวจสอบ (Check)
1. นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินกิจกรรม
2. ประเมินผลการดำเนินกิจกรรม โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมและแบบรายงานผลการประเมินกิจกรรม
การปรับปรุ ง (Act)
1. นำข้อมูลที่ได้จากการนิเทศ กำกับ ติดตาม ข้อมูลจากการประเมินผล รายงานผล มาปรับปรุ ง
พัฒนากิจกรรมในครั้งต่อไป
2. จัดทำรายงานและเผยแพร่
6. งบประมาณ
ค่าวัสดุ(กระดาษ A4 สี เทียน สี ไม้ ดินสอ ) 500 บาท
7. หลักธรรมที่น ำไปใช้
จิตสาธารณะ (Public mind, Public consciousness) คือ ความรู ้สึกของบุคคลที่มองเห็นถึงปั ญหา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม แล้วรู้สึกอยากเข้าไปมีส่วนในการช่วยเหลือสังคมในเรื่ องต่างๆ ที่เป็ นปั ญหา หรื อ
เกิดความเดือดร้อน โดยรู้ถึงสิ ทธิและหน้าที่ในความรับผิดชอบ พร้อมลงมือปฏิบตั ิร่ วมช่วยเหลือและแก้ไข
ปั ญหาต่างๆ ให้แก่สงั คมของเราร่ วมกับผูอ้ ื่น หรื อเรี ยกง่ายๆ ว่าเป็ นน้ำใจของคนที่มีความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ซ่ ึ ง
กันและกันในสังคมด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลใดๆ ตอบแทนนัน่ เอง
- พระบรมราโชวาทตอนหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานแก่
นิสิตที่สำเร็ จการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2499 ความว่า “การที่จะ
ประกอบกิจการใดๆ ให้เจริ ญเป็ นผลดีน้ นั ย่อมต้องอาศัย ความอุตสาหะพากเพียร และความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต
เป็ นรากฐาน สำคัญประกอบกับจะต้องเป็ นผูม้ ีจิตเมตตากรุ ณา ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น และพร้อมที่จะบำเพ็ญ
ประโยชน์ให้เกิดแก่ส่วนรวมตามโอกาสอีกด้วย”
8. ความเชื่อมโยงสู่ คุณธรรมอัตลักษณ์(อัตลักษณ์ ร.ร. 1.ความสุ ภาพ 2.ความมีระเบียบวินยั 3.ความพอเพียง)
การจัดทำโครงงานคุณธรรมเรื่ องสื่ อประดิษฐ์จิตสาธารณะ มีวตั ถุประสงค์เพื่อส่ งเสริ มการมีจิต
สาธารณะในกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยสอดแทรกคุณธรรมจริ ยธรรมการมีจิตสาธารณะ อีกทั้งเป็ นการ
ปลูกฝังจิตสำนึกการมีจิตสาธารณะให้กบั นักเรี ยน รวมถึงชักชวน และแนะนำให้ผอู ้ ื่นให้มีจิตสาธารณะ
ทั้งนี้สอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ความพอเพียง ดังนี้

ครู
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1.ออกแบบการจัดกิจกรรม ตรงตาม 1.ออกแบบการเรี ยนรู้ส่งเสริ มกระบวนการคิด 1. ศึกษาแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ล่วงหน้า
ตัวชี้วดั 2.ใช้เทคนิคการจัดการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย 2. จัดเตรี ยมการวัดผลประเมินผล และแบบ
2. เลือกสื่ อ แหล่งเรี ยนรู้เหมาะสม สังเกตพฤติกรมนักเรี ยน
3. วัดผลประเมินผลตรงตามเนื้ อหา
เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
1. รู้จกั เทคนิคการสอนที่ส่งเสริ มกระบวนการคิด และนักเรี ยน 1. มีความขยัน เสี ยสละ และมุ่งมัน่ ในการจัดหาสื่ อมาพัฒนา
สามารถเรี ยนรู้ได้อย่างมีความสุข(เหมาะสมกับวัย) นักเรี ยนให้บรรลุตามจุดประสงค์
2. มีความรู้เกี่ยวกับการเรี ยนรู้ ในเรื่ องการมีจิตสาธารณะ 2. มีความอดทนเพื่อพัฒนานักเรี ยนโดยใช้เทคนิคการสอนที่หลาก
3. มีความรู้ความเข้าใจ และเทคนิควิธีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มการ หลาย
มีจิตสาธารณะ

นักเรียน
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. การใช้เวลาในการทำกิจกรรม/ภาระงาน 1. ฝึ กกระบวนการทำงานเป็ นกลุ่ม 1. วางแผนการศึกษาใบงาน/ใบกิจกรรม
ได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา 2. ฝึ กกระบวนการ คิดวิเคราะห์เชื่อมโยงอย่าง 2. นำความรู้เรื่ องการมีจิตสาธารณะ เพื่อนำ
2. เลือกสมาชิกกลุ่มได้เหมาะสมกับเนื้ อหา มีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ และมีเหตุผล ไปสู่การตัดสิ นใจประยุกต์ใช้ในการดำเนิน
ที่เรี ยนและศักยภาพของตน ชีวิตประจำวันได้
3.ตระหนักถึงการมีจิตสาธารณะ รวมถึง
ชักชวน แนะนำให้ผอู้ ื่นเห็นคุณค่าของการมี
จิตสาธารณะ

เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
1. มีความรู้เรื่ องการมีจิตสาธารณะเพื่อนำไปใช้ในการดำเนิน 1. มีจิตสำนึกรักความเป็ นไทย และตระหนักถึงความเป็ นไทย
ชีวิต และสามารถสร้างจัดทำชิ้นงาน ผลงานและใบงานได้ 2. มีความรับผิดชอบ และปฏิบตั ิตามข้อตกลงของกลุ่ม
ตามวัตถุประสงค์ 3. มีสติ มีสมาธิช่วยเหลือกันในการทำงานร่ วมกัน

ส่ งผลต่อการพัฒนา 4 มิติให้ ยงั่ ยืนยอมรับต่ อการเปลีย่ นแปลงในยุคโลกาภิวฒ


ั น์
วัตถุ สั งคม สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ (K) นำความรู้เรื่ องการมีจิตสาธารณะไปใช้ใน มีความรู้และเข้าใจ มีความรู้และเข้าใจ มีความรู้และเข้าใจ
การดำเนินชีวิต ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม กระบวนการทำงาน เกี่ยวกับ สิ่ งแวดล้อม การช่วยเหลือ แบ่งบัน
กับวัย กลุ่ม และสิ่ งต่างๆรอบตัว
ทักษะ (P) สามารถสร้างชิ้นงาน ผลงาน ใบงาน สื่ อ ทำงานได้สำเร็จตาม ใช้แหล่งเรี ยนรู้โดย ช่วยเหลือ แบ่งบัน
ประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ได้ เป้ าหมาย ด้วย ไม่ท ำลายสิ่ ง ซึ่งกัน และกัน
กระบวนการกลุ่ม แวดล้อม
ค่ านิยม (A) เห็นประโยชน์ของการมีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่า และภาค เห็นคุณค่าของการ ปลูกฝังนิสยั การช่วย
ภูมิใจในการทำงาน ใช้แหล่งเรี ยนรู้โดย เหลือแบ่งปัน แลก
ร่ วมกันได้สำเร็ จ และ ไม่ท ำลายสิ่ ง เปลี่ยนความคิดเห็น
ชักชวน แนะนำให้ผู้ แวดล้อม และกระบวนการ
อื่นเห็นคุณค่าของการ ทำงานกลุ่ม มี
มีจิตสาธารณะ จิตสำนึกการมีจิต
สาธารณะ

9. วิธีการวัดและประเมินผล
ตัวชี้วดั นักเรี ยนกลุ่มกระต่ายน้อย ระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2 เกิดพฤติกรรมเชิงบวก ดังนี้
-นักเรี ยนมีจิตสำนึกในการมีจิตสาธารณะ
-นักเรี ยนสามารถเป็ นแบบอย่างสามารถชักชวนแนะนำให้ผอู ้ ื่นให้มีจิตสาธารณะได้
1) วิธีการวัดผล ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรมเชิงบวก และผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
2) เครื่ องมือการวัดผล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมเชิงบวก และการตรวจผลงานนักเรี ยน
10. ผูร้ ับผิดชอบโครงงาน นักเรี ยนกลุ่มกระต่ายน้อย ระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2
11. ที่ปรึ กษาโครงงาน นางชนิดา มณี ทบั

ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมโครงงานคุณธรรมสื่ อประดิษฐ์ จิตสาธารณะ
ภาพกิจกรรมโครงงานคุณธรรมสื่ อประดิษฐ์ จิตสาธารณะ

You might also like