You are on page 1of 5

บทที่ ๅ แนวคิดการเรียนรู้

การเรีียนรู้ คือ พฤติกรรมสำคัญสามารถพัฒนาตนเอง


และสื่อสาารสนเทศ และต่อยอดการดำเนินนงานต่างๆได้อย่างต่อเนื่อง

ปัจจัยส่งผลต่อการ
การเรียนรู้ หมายถึง เปลี่ยนแปลงการเรียนรู้
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
พฤติกรรมที่เป็นผลมาจากกระบวนการ ข้อมูลสารสนเทศ ทางวิทยาศาสตร์
ทางปัญญา, ได้รับอิทธิพลจากปัจจัย เทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ
พัฒนาการด้านศาสตร์และภูมิปัญญา
หลายๆด้าน ได้แก่ สมอง,ความสามาถ
ควมเปลี่ยนแปลงด้านควต้องการของ
ส่วนบุคคล,แรงจูงใจ,สุขภาพและสภาพ มนุษย์
แวดล้อม การปรับระบบโครงสร้างทางการศึกษา
ความก้าววหน้าทางเทคโนโลยีและการ
สื่อสารและสารสนเทศ
ความสำคัญของการเรียนรู้
คุณสมบัติพื้นฐานของผู้
ที่มีการเรียนรู้
ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ ความคิด
และสติปัญญา รักการเรียรู้ กระตือรือร้น
ส่งผลในการพัฒนาคนและสังคม มีความรู้ ความสามารถและทักษะด้านสื่อ
ส่งผลให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิต มุ่งเน้นค้นคว้า
ส่งผลให้เกิดสังคมความรู้ มีความสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ช่างคิด วิเคราะห์และพิจารณาเหตุผล

การนำสารสนเทศไปใช้ให้
คุณค่ามากที่สุด ขึ้นกับ
รูปแบบการเรียนรู้ ความถูกต้อง: สารสนเทศต้องตรงกับความ
เป็นจริง
เรียนรู้จากระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ความทันสมัย: สามาถนำไปใช้ในเวลาที่
การดู, การดกลิ่น, การฟัง, กาสัมผัสและ ต้องการ
การลิ้มรส ความครบถ้วน: เนื้อหาที่ครบท้วนสมบูรณ์จะ
การวิเคราะห์และใช้เหตุผลในการพิจารณา ช่วยลดความคลาดเคลื่อน
เร่องที่รับรู้ ความต่อเนื่อง: การนำเสนอข้อมูลที่เน้นความ
การค้นข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความกระจ่าง รวดเร็วเพื่อให้ตอบสนองควาต้องการได้มากี่
การบันทึกข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้ประ สุด
โยชน์นภายหลัง ความตรงประเด็น: จะช่วยประหยัดเวลาไม่
เกิดความสับสนในการตัดสินใจ
บทที่ 2 แหล่งสื่อสาร
เป็นแหล่งที่รวบรวมและเผยแพร่สื่อสารสนเทศให้ผู้ใช้
สนเทศ สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้

ห้องสมุดมหาลัย
บทบาทของแหล่งสารสนเทศ
ห้องสมุดในปัจจุบันเป็นห้องสมุดผสมผสาน ระหว่าง
เป็นแหล่งศึกษาได้อัธยาศัย ห้องสุดแบบเดิม ที่มีตัวอาคาร และเวลาเปิดปิดชัดเจน
แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต กับ ห้องสมุดรูปแบบใหม่ ซึ่งมีด้วยกันดังนี้
แหล่งปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน การศึกษา 1. ห้องสมุดเสมือน : ให้บริการผ่านทางเว็บไซต์
ค้นคว้า แสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง 2. ห้องสมุดดิจิทัล : นำสื่อสิ่งพิมพ์มาทำเป็นดิจิทัล
แหล่งสร้างเสริมความรู้ ความคิด 3. ห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์ : จัดสื่อสื่ออิเล็คทรอนิ
กส์มาบริการ
ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ
ข้อดีของห้องสมุดผสมผสาน
สร้างเสริมความรู้ความคิด ประสบการณ์
อำนวยความสะดวกในการเข้าถึง
เข้าได้หลายคน
ประเภทของแหล่งสื่อสารสนเทศ ประหยัดพื้นที่จัดเก็บ
ลดปัญหข้อจำกัดด้านเวลา
เปิด 24 ชม.
บุคคล : อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล ต้องใช้ มีอิสระและระเบียบในการใช้งาน
ทักษะในการสอบถาม พูดคุยโดยตรงกับผู้รู้ ลดความเหลื่อมลำ้ในการเข้าถึง
ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้เชี่ยวชาญ
สถาบัณ : มีหน้าที่รวบรวมและให้บริการ อินเทอร์เน็ต
สารสนเทศตามวัตถุประสงค์ มี 2 กลุ่ม
สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต สามารถเผยแพร่ได้ง่าย สามารถเข้าถึงได้
คือ แหล่งผลิตและผยแพร่ กับ แหล่งจัด
เสรี ผู้ใช้ในปัจจุบันจึงต้องงมีความสามารถนการกลั่นกรองความน่าเชื่อ
เก็บ ถือ อินเทอร์เน็มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกลับความต้องการของผู้ใช้
สื่อมวลชน : เน้นเผยแพร่ข่าวสาร เน้น สรุปได้ดังนี้
ความทันสมัย สามาถเข้าถึงผู้ใช้ได้รวดเร็ว แหล่งรวบรวมสื่อสารสนเทศจำนวนมาก
อินเทอร์เน็ต : แหล่งรวบรวม สื่อสาร และ มีสื่อมัลติมีเดีย
เข้าถึงอิสระ
ให้บริการบนอินนเทอร์เน็ต มีเครื่อข่ายทั่ว
เนื้อหาีควมทันสมัย
โลก สามารถเข้าถึงเร็ว ครอบคลุมหลาย มีเครื่องมือช่วยค้น
สาขาวิชา ประเภทของแหล่งอินเทอร์เน็ต
1. มีวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ : เว็บไซต์หน่วยงาน เว็บไซต์
สมาคมวิชาชีพ เว็บไซต์ห้องสมุด เว็บไซต์โปรแกรมค้นหา
เว็บไซต์สังคมออนไลน์
2. ความน่าเชื่อถือ ของแหล่งสารสนเทศ 2. มีวัตถุประสงค์ในการค้นคว้าสำหรับบผู้ใช้ : เว็บไซต์ค้นหาสื่อสาร
คุณวุฒิ ความรู้ ประสบการณ์ ของผู้รับผิดชอบแหล่งสื่อสารสารสนเทศ เฉพาะประเภท เว็บไซต์ค้นหาสื่อสารเฉพาะวิชา เว็บไซต์สื่อสาร
เลือกแหล่งปฐมภูมิ สารสนเทศไม่จำกัดประเภทและสาขาวิชา
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือผ่านโดเมน วิธีการเลือกใช้แหล่ง มีหลักเกณฑ์ดังนี้
ไม่มีการโฆษณา หรือแสดงความคิดเห็นเชิงอคต 1. สอดคล้องความต้องการ
มีควาสะดวก
มีความทันสมัย
มีความคุ้มค่าในการลงทุนค่าใช้จ่าย
บทที่ 3 เทคนิคการ ขั้นตอนการ
สืบค้น
สืบค้น การค้นหาฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ (OPAC):เครื่องมือช่วยค้น
รายการสื่อสารสนเทศที่ให้บริการในห้องสมุด โดยโปรแกรมทำการเชื่อมโยง
กับระบบ
รูปแบบการสืบค้น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
มีขั้นตอน 3 ขั้นตอน
1. การเลือกเขตข้อมูลการค้น
1. พื้นฐาน : ไม่ได้มีความชนวญในการสือบค้นมาก 2. การใส่คำค้น
แต่ควรมีเป้าหมายยชัดเจน 3. การยืนยันการค้น
2. ขั้นสูง : ต้องคิดรูปแบบคำสั่งในการสืบค้น การค้นหาฐานข้อมูลออนไลน์ : เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมจัดเก็บข้อมูล
ค้นแบบเชื่อมคำค้น บรรณานุกรม ดรรชนีวารสาร สาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็มของสื่อสาร
สนเทศหลากหลายรูปแบบ หลากหลายสาขาและมีความสมัย มีขั้นตอน
ค้นแบบจำกัดขอบเขต
ดังนี้
1. สำรวจความต้องการในการสืบค้น
2. พิจารณาเลือกฐานข้อมูล
3. กำหนดการสืบค้น
ประเภทคำค้น 4. เลือกใช้เทคนิคในการสืบค้น
5. การแสดงผลการค้น
1. ชื่อผู้แต่ง ค้นโดยใช้โปรแกรมค้นหาบนอินเทอร์เน็ต มีขั้นตอนดังนี้
ชาวไทย : ตัดคำนำหน้าชื่อออก 1. พิจารณาเลือกฐาน
ต่างชาติ : ใช้ สกุล ชื่อกลาง ชื่อต้น 2. กำหนดการสืบค้น
หน่วยงาน องค์กร : ค้นตามชื่อองค์กรนั้นเลย ถ้ามีทั้งหน่วยงาน 3. เลือกใช้เทคนิค
ใหญ่และย่อย ให้พิมพืมพ์หน่วยงานใหญ่ก่อน 4. แสดงผลการค้น
2. ชื่อเรื่อง : ค้นที่ตัวอักษรแรกและตัวต่อไปตามลำดับ เกณฑ์การประเมิณสื่อวารสนเทศ
3. หัวเรื่อง : กลุ่มคำ วลี หรือชื่อเฉพาะ มีความตรงประเด็น
4. คำสำคัญ : กลุ่มคำที่ปรากฎในเนื้อหาต่างๆ ความทันสมัย
ความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้อง
ฐานข้อมูลและโปรแกรม ความครอบคลุม
คำสั่งสำคัญในการอ่านผลการค้นฐานข้อมูลออนไลน์
สืบค้น
การค้นเจาะจงประเภทบทความ
1. ฐานข้อมูลช่วยค้นหาการสืบค้น : มีในห้องสมุด และ อินเทอร์เน็ต - articles บทความวิจัย
2. โปรแกรมช่วยสืบค้น : ค้นหาตามคำสำคัญ ค้นหาตามหัวเรื่อง - review article บทความปริทัศน์
- editorial บทบรรณาธิการ
เมนูคำสั่ง
หลักการและเทคนิคการ - download PDFs
สืบค้น -export จัดเก็บรายการอ้างอิงเพื่อใช้ภายหลัง
- relevance จัดเรียงผลการค้นความตรงประเด็น
1. กำหนดแหล่งสื่อสารสนเทศครบถ้วน - all access types เลือกเข้าถึงทุกรายการ
2. กำหนดคำค้น
3. กำหนดคำค้นที่มีความหมายเหมือนกัน
4. ใช้เทคนิคอื่นๆ
เทคนิคบูเลียนโลจิก
กรณีมีคำค้นมากกว่า 1 ต้องใช้คำเชื่อม
AND จำกัดขอบเขตให้แคบลง
OR ขยายขอบเขตให้กว้างขึ้น
NOT จำกัดขอบเขตให้แคบลง
เทคนิคจำกัดขอบเขต
- ระบุปีพิมพ์
- ระบุสถานที่จัดเก็บ
- ระบุประเภท
- ระบุภาษา
5. ใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์ค้น : * (ตัดปลายคำ) # (แทน
คำ) “............” (คำค้นติดกัน ไม่แยกกัน) (............) = ขอบเขต
ค้นหาเป็นส่วนๆ
บทที่ 4 การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประมวล
ผลสารสนเทศเพื่อนำไปใช้

ข้อดีของการอ่านคิดเชิง
วิเคราะห์
การวิเคราะห์
1) การอ่านคิดเชิงวิเคราะห์จะทําให้เกิด
กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่ ความชัดเจนของเรื่องที่อ่าน สามารถ
สำคัญ และสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ แยกแยะประเด็นที่เหมือนและต่างที่นํา
เสนอในบทความได้
ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ หรือออกเป็นส่วนๆ
2) การอ่านคิดเชิงวิเคราะห์ส่งเสริมให้เกิด
โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันอยู่ ความเข้าใจในประเด็นที่มีการนําเสนอ
ด้วยกัน แบบซ้ำซ้อนได้

รูปแบบการวิเคราะห์และ
การสังเคราะห์
การสังเคราะห์
1.การวิเคราะห์และสังเคราะห์ในรูปแบบ
การจัดกลุ่มเนื้อหา
การประมวลสารสนเทศในแต่ละแนวคิดที่ 2 การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
ผ่านการวิเคราะห์แล้วนํามาเสนอใหม่ โดย จากสื่อสารสนเทศหลายชิ้น
นําประเด็นที่มีเนื้อหาเรื่องเดียวกันหรือ 3 การวิเคราะห์และสังเคราะห์โดยเรียบ
ความสัมพันธ์กันมาเชื่อมโยงกัน ตามลํา เรียงขึ้นใหม่
ดับจากเรื่องกว้างไปยังเรื่องเฉพาะเจาะจง

ความสำคัญของการวิเคราะห์
และการสังเคราะห์
วัตถุประสงค์ของ
การวิเคราะห์ 1. เป็นการจัดหมวดหมู่เรื่องที่กระจัดกระจายให้
เป็นระบบระเบียบ อ่านเข้าใจง่าย
์จะช่วยให้เนื้อหาสาระที่ได้มีความครบถ้วน 2. เป็นการสร้างสิ่งใหม่ หรือเรื่องใหม่ ที่นําไปใช้
สมบูรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ข้อ คือ ประโยชน์ได้
1) การอ่านวิเคราะห์จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ 3. เป็นประโยชน์ในการผลิตรายงาน/โครงงาน
หาความเหมือนและความสอดคล้อง ของเรื่องที่
ต้องการได้
2) การอ่านวิเคราะห์จะช่วยให้ผู้ใช้หา
ประเด็นที่แตกต่างของสารสนเทศได้
บทที่ 5 กฎหมายและจริยธรรมการใช้สารสนเทศ
หลักการใช้สารสนเทศ ความสำคัญของการ
อย่างมีจริยธรรม อ้างอิง
ห้ามทำซำ้ ดัดแปลง เพื่อให้เกิดความน่าเชื้อถือ
เพื่อให้เกียรติเจ้าของ
การอ้างอิงผลงานบุคคลอื่น
เพื่อให้ทราบแหล่งข้อมูล
แสดงถึงจริยธรรมของผู้ผลิต
Copyright
รูปแบบการคัดลอกผล
งาร
ลิขสิทธ์ของผู้สร้าง
คัดลอกและวาง
กฎหมายคุ้มครอง คือ
คัดลอกแบบคำต่อคำ ควรใช้เครื่องหมาย
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 เพิ่มเติม
“………” กำกับแล้วอ้างอิง
ฉบับที่ 2
ดัดแปลงคำ
เปลี่ยนสำนวนการเขียน
สัญญาอณุญาตครีเอทีฟคอม
มอมส์
ถอดความผิด
แบบแผนการเขียนรายการ
สัญลักษณ์ CC
อ้างอิง
เจ้าของอณุญาตให้นำไปใช้ได้ แต่ต้อง
ผ่านเงื่อนไขที่เจ้าของกำหนด โดยไม่
1. ให้ติดตามรูปแบบการเขียนอ้างอิงสื่อสาร
ต้องขอ
สนเทศต่างๆในรูปแบบ APA
การใช้งานลิขสิทธิ์ 2. ชื่อหนังสือ วารสาร ให้พิมพ์ด้วยตัวเอียง
อย่างเป็นธรรม 3. สถานที่พิมพ์ ต้องเป็นชื่อเมือง บื่อรัฐ
4. การอ้างอิงบทความในฐานข้อมูลเว็บไซต์ ต้อง
ถ่ายสำเนไวารสารไม่เกิน 1 บทความ ใส่วันที่สืบค้น
ถ่ายสำเนาหนังสือไม่เกิา ร้อยละ 10 5. การอ้างอิงบทความในหนังสือ ต้องใส่ชื่อ
บรรณาธิการ

รูปแบบการอ้างอิง
ในงานวิชาการ

1. ส่วนเนื้อเรื่อง
แบบตัวเลข
แบบนาม-ปี
2. การเขียนรายการอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
บรรณานุกรม

You might also like