You are on page 1of 11

1.

คะแนนเก็บระหวางเรียน 60 คะแนน
 การมีสวนรวมในชั้นเรียน 10 คะแนน
o การเขาเรียนสม่ําเสมอ
o การมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน
o ความตั้งใจเรียน
อ.ชูศักดิ์ ยาทองไชย o การแตงกาย
 งานและแบบฝกหัด 10 คะแนน
 สอบปฏิบัติ 10 คะแนน
 สอบกลางภาค 30 คะแนน
2. คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน

 วัตถุประสงค 1. สถานการณใหมในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. อธิบายลักษณะของสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศได 2. คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. อธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได 3. การผสมผสานระหวางเทคโนโลยีคอมพิวเตอรกับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
3. บอกความหมายของคอมพิวเตอรได 4. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. อธิบายคุณสมบัติของคอมพิวเตอรได 5. เทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร
5. บอกลักษณะเดนของคอมพิวเตอรแตละยุคได 6. เทคโนโลยีการสื่อสารขอมูล
6. จําแนกคอมพิวเตอรแตละประเภทได
7. เปรียบเทียบการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรกับเทคโนโลยีการสื่อสาร
7. อธิบายเทคโนโลยีการสือ่ สารขอมูลได
8. อธิบายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสือ่ สารขอมูลได

1
1. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในตอนนีเ้ ปรียบเสมือนกับคลื่นที่ติดตามกันมาที่เรียกวาคลื่น
สังคมสารสนเทศ (Information Society) ลูกที่สาม คือเนนเทคโนโลยีระดับสูง โดยนํามนุษยเขาสูยุคอิเล็กทรอนิกสและ
คอมพิวเตอร
2. คอมพิวเตอรมขี นาดเล็กลง อุปกรณมือถือมีความสามารถเพิ่มมากขึ้น
สังคมความรู ้ (Knowledge Society) 3. มีการติดตอสื่อสารที่รวดเร็ว สะดวกสบาย ทุกที่ทกุ เวลา
ข ้อมูลข่าวสาร สื่อ ข ้อมูลข่าวสาร การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็เพื่อสรางความตองการใหมๆ ขึ้น ซึ่งประกอบดวย
 ความตองการในการสื่อสารไปสูคนจํานวนมาก
 ความเร็วในการสื่อสารขอมูล
บุคคลมีการสื่อสารแบบมีสว นรวม และการสื่อสารสองทาง มีการโตตอบซึ่งกันและ
 ระบบการสื่อสารที่ทันสมัย
กันโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เกิดชุมชนแบบใหมที่เรียกวา ไซเบอรสเปช (Cyber
Space) ซึ่งเปน ชุมชนที่เชื่อมโยง และติดตอสื่อสารกันผานระบบเครือขาย
สารสนเทศ

 มีการใชขอมูลขาวสารและกําหนดวิถีการรับ-สงขอมูล ขาวสารมากกวาหนาที่ในการ 1. สังคมยุคเกษตรกรรม


ผลิต และบริโภคทางอุตสาหกรรม  เรียบงาย ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ครอบครัวเปนแบบครอบครัวใหญ
 กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ไมวาจะเปนดานวิถกี ารดําเนินชีวิต ลักษณะของสังคม 2. สังคมยุคอุตสาหกรรม
คุณภาพชีวิต และรูปแบบการดําเนินธุรกิจในปจจุบนั  ชีวิตที่รีบเรง ใหความสําคัญกับชีวิตการทํางาน และเครื่องจักร ทุกอยางจํากัดดวยเวลา ยึดถือ
ปจเจกชนมากกวา สวนรวม
3. สังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ตี่นตัวที่จะปรับตัวเพื่อรองรับสิ่งใหมๆ สังคมไดมีการติดตอสื่อสารถึงกัน สะดวกและรวดเร็ว
ขึ้น มีการกระจายบริหารไปสูทองถิ่น ชองวางของสังคมลดนอยลง สังคมเมืองและชนบทจะมี
การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

2
 เทคโนโลยีสารสนเทศชวยสนับสนุนใหเกิดธุรกิจใหม ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology ) เปนชื่อเรียกเทคโนโลยีที่
 มีการแลกเปลีย่ นขอมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic Data Interchange : บูรณาการ ( Integrated Technology ) มาจาก 2 สาขาหลัก คือ เทคโนโลยี
EDI) คอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ( Telecommunication )
 การใชพานิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce)
 การใชคอมพิวเตอรมาใชในแทบทุกกระบวนการของธุรกิจ เชน กระบวนการ
ออกแบบ การผลิต การตลาด การขาย การพยากรณ เปนตน

 ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงตางๆ ที่มีอยูในโลกนี้ใชแทนดวยตัวเลขภาษา


หรือสัญลักษณที่ยังไมไดปรุงแตง หรือประมวลผลใดๆ
 สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลขาวสาร ความรูตาง ๆ ที่มีการบันทึก
อยางเปนระบบ ผานการประมวลผล ตามหลักวิชาการเพื่อนํามาเผยแพรและใชงาน ขอมูล ประมวลผล สารสนเทศ
ตาง ๆ
 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง เทคโนโลยีทางดาน
คอมพิวเตอร และการสื่อสารหรือเครือขายโทรคมนาคมที่เชื่อมตอกัน และนําไปใชใน
การสงและรับขอมูล และมัลติมีเดียเกี่ยวกับความรูหรือเหตุการณที่เกิดขึ้น

3
คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชในการคํานวณ หรือประมวลผล และใช 1. ความเร็ว
ในการจัดเก็บขอมูล 2. ความถูกตองแมนยําและความนาเชื่อถือ
3. เก็บขอมูลจํานวนมาก
4. ยายขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งไดอยางรวดเร็วโดยใชการติดตอสื่อสารผานระบบ
เครือขายคอมพิวเตอร
5. สามารถทํางานแทนคนในสภาพแวดลอมที่เปนอันตราย

 เครื่องมือชนิดแรกที่ถอื ไดวาเปนตนกําเนิดของคอมพิวเตอรก็คือ ลูกคิด ซึ่งสรางขึ้น  คอมพิวเตอรขนาดใหญ ความรอนสูง


โดยชาวจีนโบราณ  ใชวงจรอิเล็กทรอนิกส และหลอดสูญญากาศ
 ใชบตั รเจาะรูเปนสื่อขอมูล
 ความเร็วในการทํางานเปนวินาที
 เขียนโปรแกรม และใชภาษาเครื่องในการทํางาน
 ใชในงานดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรม
 เครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้ เชน มารควัน (MARK I),อินิแอค(ENIAC),ยูนแิ วค(UNIVAC)

4
 ใชทรานซิสเตอรแทนหลอดสูญญากาศ เครื่องจึงมีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง  เปนคอมพิวเตอรที่ใชไอซี (Integrated Circuit) สามารถทํางานเทากับทรานซิสเตอรหลาย
 มีวงแหวนแมเหล็กและหนวยความจําภายใน รอยตัว จึงทําใหมีขนาดเล็กลง
 ใชบัตรเจาะรูและเทปแมเหล็กเปนสื่อขอมูล  ใชบตั รเจาะรู เทปแมเหล็ก จานแมเหล็กเปนสื่อ
 ความเร็วในการทํางานเปนมิลลิวินาที (Millisecond)  ความเร็วในการทํางานเปนไมโครวินาที (Microsecond)
 ใชภาษาสัญลักษณในการเขียนโปรแกรม  เกิดภาษาพีแอลวัน(PL/I) และภาษาโคบอล

 เปนคอมพิวเตอรที่ใชวงจรขนาดใหญที่เรียกวา LSI (Large Scale Integrated)  คอมพิวเตอรในยุคนี้ ชวยในการจัดการ การตัดสินใจ


 ใชเทปแมเหล็ก และจานแมเหล็ก สวนบัตรเจาะรูใชนอยลง  คอมพิวเตอรในยุคนี้เรียกวา ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence :AI)
 ความเร็วในการทํางานเปนนาโนวินาที (Nanosecond)  มีการใชคอมพิวเตอรทํางานทางดานกราฟฟกมากขึ้น
 เริ่มมีภาษาใหม ๆ เชน ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล  เครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง เชน โนตบุค

5
 แบงตามลักษณะของขอมูล  แบงตามวัตถุประสงคการใชงาน
1. Analog Computer ใชหลักการวัดรับขอมูลในลักษณะตอเนื่องจากแหลงกําเนิดขอมูล 1. คอมพิวเตอรแบบทั่วไป (General-Purposed Computer) ใชกับงานไดหลาย
โดยตรงแลวทําการแสดงผลทางหนาปด ประเภท และสามารถทํางานไดกับภาษาคอมพิวเตอรไดหลายภาษา
2. Digital Computer ใชหลักการวัด รับขอมูลในลักษณะเปนตัวเลข 2. คอมพิวเตอรแบบเฉพาะกิจ (Special-Purposed Computer) ใชไดกับงาน
3. Hybrid Computer นําเอาขอดีของอนาลอกคอมพิวเตอร และดิจิตอลคอมพิวเตอรมา เฉพาะอยางประเภทใดประเภทหนึ่งเทานั้น
รวมกัน เพื่อใหสามารถทํางานไดทั้งสองดาน

 แบงตามขนาดและราคาของเครื่อง
1. Supercomputer เปนคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุด ราคาแพงที่สุด สามารถทํางานไดอยาง
รวดเร็ว ใชหลักการที่เรียกวา มัลติโปรเซสซิง (Multiprocessing) นิยมใชในงานดานกราฟฟก หรือ
การคํานวณทางวิทยาศาสตร
2. Mainframe เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญรองลงมา และนิยมใชในองคกรขนาดใหญทั่วๆไป มี Supercomputer Mainframe Computer
ประสิทธิภาพการทํางานรองจากซุปเปอรคอมพิวเตอร
3. Minicomputer มินิคอมพิวเตอรจะใชหลักการทํางานเชนเดียวกับเมนเฟรม แตกตางกันคือ
ความเร็วในการทํางาน จะนิยมใชในธุรกิจขนาดกลาง สามารถเชื่อมโยงกับเทอรมินัลไดหลาย ๆ เครื่อง
4. Microcomputer เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่สามารถเคลื่อนยายไดงาย มี 2 ประเภท
1. คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) หรือ PC เปนแบบตั้งโตะ เหมาะกับการใชโปรแกรม
ขนาดเล็ก ใชงานกับธุรกิจทั่วไป อาจอยูในรูปแบบโนตบุค
2. เครื่องสถานีงาน หรือ เวิรคสเตชั่น (Workstation) มีราคาแพง และดีกวา PC สวนใหญนําไปใชดา น
วิศวกรรมและวิทยาศาสตร Minicomputer Microcomputer

6
1. มีขนาดเล็กลง เปนเทคโนโลยีที่ประกอบดวยอุปกรณประเภทแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic
2. มีความสามารถมากขึน้ Devices) และระบบการติดตอสื่อสารระยะไกล ตัวอยางอุปกรณพื้นฐาน เชน โทรศัพท
3. ราคาถูกลง
วิทยุ ทีวี และ สายเคเบิล

หนวยสงขอมูล หนวยรับขอมูล ผูสง ขาวสาร การเขารหัส ชองสัญญาณ การถอดรหัส ผูรับขาวสาร


ชองทางการสงขอมูล
1. ผูสง ขาวสาร หรือแหลงกําเนิดขาวสาร อาจเปนคน หรือ อุปกรณตาง ๆ
1. หนวยสงขอมูล เปนหนวยที่ตองการแจง ใหส่งิ ตาง ๆ ใหหนวยอื่นๆ รับทราบโดย
หนวยสงขอมูล อาจเปน คน วัตถุ หรืออื่นๆ 2. การเขารหัส เปนการชวยใหผสู งขาวสาร และผูรับขาวสารเขาใจกันได และขอมูลเปนความลับ
3. ชองสัญญาณ ในที่นี้หมายถึงสื่อกลาง หรือตัวกลางที่ขาวสารสามารถที่จะเดินทางไปได เชน
2. ชองทางการสงขอมูล คือ กระบวนการ ชองทาง หรือสื่อใด ๆ ก็ไดที่จะทําใหขอมูล
อากาศ สายโทรศัพท สายใยแกวนําแสง ฯลฯ
สงไปถึงหนวยรับขอมูลไดอยางไมผิดพลาด
4. การถอดรหัส เปนการเปลี่ยนขอมูลใหพรอมที่จะสงใหผรู ับเขาใจได
3. หนวยรับขอมูล เปนหนวยซึ่งรับขอมูลจากหนวยสงขอมูล ที่ถูกสงมาผานชองทางการ
5. ผูรับขาวสาร ปลายทางของขาวสาร ซึ่งจะรับรูขอ มูลหรือสิ่งที่ผสู งขาวสารตองการใหรับรู
สงขอมูล

7
1. เพื่อรับขอมูลและสารสนเทศจากแหลงกําเนิดขอมูล การพัฒนาการที่สําคัญ ๆ มี 3 ประการ
2. เพื่อสงและกระจายขอมูลไดอยางรวดเร็ว 1. ชองทางการสื่อสาร (Communication Channels) จากการใชวิธีพื้นฐานในการสงขอมูล
ผานสายสงโดยตรง หรือไมใชสาย (Wireless) ก็คอ ย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงที่ดขี น้ึ เชน
3. เพื่อลดเวลาการทํางาน เปลี่ยนจากสายทองแดงมาใชสายแบบโคแอคเชียน หรือสายไฟเบอรออฟติก เปนตน
4. เพื่อการประหยัดคาใชจายในการสงขาวสาร 2. ระบบเครือขายการสื่อสาร (Communication Networks) ซึ่งเปนเรื่องของการติดตอสื่อสาร
5. เพื่อชวยขยายการดําเนินการองคการใหดียิ่งขึ้น ดวยโทรศัพท คอมพิวเตอร หรืออุปกรณตา ง ๆ ซึ่งแบงไดเปน 3 แบบ คือ WAN, MAN และ
LAN
6. เพื่อชวยปรับปรุงการบริหารขององคการใหสะดวกยิ่งขึ้น 3. อุปกรณรับ สงขอมูลและบันทึก เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทไรสาย หรือแบบพกพาที่มี
ขนาดเล็ก เครื่องแฟกซ เปนเครื่องที่สามารถสแกนภาพ แลวสงเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกส
ผานสายสื่อสารไปยังแฟกซเครือ่ งรับซึง่ ทําหนาที่แปลงสัญญาณเปนภาพออกสูกระดาษ ซึ่ง
การสงแฟกซ เราสามารถรับ-สงรวมกับเครือ่ งไมโครคอมพิวเตอรกไ็ ด คอมแพคดิสกเปนวิดีโอ
ดิสกที่สามารถบันทึกภาพขนาดเล็กและเสียงสเตอริโอ ที่มคี ุณภาพสูงไดถึง 72 นาที ทีวีแบบ
โตตอบได โทรศัพทแบบมีภาพ เปนตน

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม


- 3,000 ป ก อ นคริ ส ต ศั ก ราช มี ก ารประดิ ษ ฐ ลู ก คิ ด - 35,000 ปกอ นคริสตศักราช เริ่มมีการใชภาษา
- ค.ศ. 1801 ประดิษฐเครื่องทอผาที่สามารถใชคําสั่งในการ - ค.ศ. 1827 มีการพิมพภาพบนแผนโลหะ
(Abacus) ใช ใ นการคํ า นวณทาง คณิ ต ศาสตร ในแถบ - 4,000 ปกอนคริสตศักราช มีหลักฐานการบันทึกภาษา สุ
ควบคุมเครื่องไดดวยบัตรเจาะรู (Punched Card) โดย
ทวีปเอเชีย (Orient) มาเรียน (Sumarian) บนตารางแผนดินเหนียว
ชาวฝรั่งเศสชื่อ โจเซฟ มาเรีย แจ็คการด (Joseph-Marie
- 3,000 ป ก อ นคริ ส ต ศัก ราช มี ภ าษาสั ญ ลั ก ษณ แ บบ
Jacquard) ตอมาไดพัฒนาเปนอุปกรณสําหรับปอนขอมูล
อียิปต เกิดขึ้น
และคําสั่งใหกับคอมพิวเตอร
- 200 ป ก อ นคริ ส ต ศั ก ราช นั ก ศิ ล ปะชาวจี น พั ฒ นา - 1,800 ปกอนคริสตศักราช มีตัวอักษรแบบ
เครื่องสาย (Mechanical Orchestra) โฟนิเชียน (Phoenician Alphabet)
- 600 ปกอนคริสตศกั ราช มีการพิมพหนังสือ ในจีน
- ค.ศ. 1642 ประดิษฐเครื่องคํานวณการบวก และลบเลข - ค.ศ. 1453 มีการพิมพหนังสือเลมแรกในยุโรป
เครื่องแรก เรียกวา Pascaline โดยชาวฝรั่งเศสชื่อ เบลส - ค.ศ. 1562 มีการออกหนังสือพิมพรายเดือนครั้งแรก ใน
ปาสคาล (Blaise Pascal) (ค.ศ. 1623 – 1662) ในขณะที่ อิตาลี - ค.ศ. 1832 ประดิษฐเครื่องคํานวณผลตาง (Difference - ค.ศ. 1835 มีการสงโทรเลข ดวยรหัสมอส
มี อ ายุ ไ ด 19 ป เพื่ อ นํ า มาใช คํา นวณภาษี ใ ห กั บ รั ฐ บาล - ค.ศ. 1594 มีการออกวารสาร (Magazine) ครั้งแรก ใน Engine) โดยชาล แบบเบจ (Charles Babbage) (ค.ศ. (Morse’s Telegraph)
ฝรั่ ง เศส ในขณะนั้ น 30 ป ต อ มามี นัก คณิ ต ศาสตร ช าว เยอรมัน 1793–1871) เพื่ อใชคํา นวณการเดินเรื อ ส วนสํ า คั ญของ
เยอรมันชื่อ บารอน ก็อดฟริด วิลเฮม วอน ไลนิซ (Baron เครื่องนี้ คือสวนการแสดงผล ซึ่งใชวิธีเจาะลงไปบนแผ น
Gottfried Wilhem von Leibniz) สามารถสรางเครื่อง ทองแดง ซึ่ ง ต อ มาได พั ฒนาเป นอุ ป กรณ บั นทึ ก ข อ มู ล ที่
บวก ลบ คู ณ และหารได เปนต นแบบการสรา งเครื่องคิ ด เรียกวา ออปติคอลดิสก (Optical Disks) ที่นํามาใชกับ
เลขชนิดพกพาที่ใชอยูในเวลาตอมา คอมพิวเตอรในระยะตอมา

8
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
ชาล แบบเบจ ไดออกแบบโครงสรางของเครื่องจักรสําหรับ - ค.ศ. 1835 มีการสงโทรเลข ดวยรหัสมอส - ค.ศ. 1890 ประดิษฐเ ครื่อง Hollerith’s Tabulating - ค.ศ. 1894 เอดิสันสรางเครื่องฉายภาพยนตร
การวิเคราะห (Analytical Engine) เปนผลสําเร็จ โดยมี (Morse’s Telegraph) Machine เปนเครื่องอานและเรียงบัตรเจาะรูที่ใชคํานวณ - ค.ศ. 1895 มาโคนีไดพัฒนาวิทยุ และสรางกลองถายภาพ

 สวนรับขอมูลเขา โดยใชเครื่องอานบัตรเจาะรู
สวนประกอบหลัก 4 สวนไดแก คา ทางสถิติโ ดยใช พลังงานไฟฟา ประดิษฐโ ดย นักสถิติ ชื่อ เคลื่อนไหว

 สวนประมวลผล (Computation unit)


เฮอรแมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ป ค.ศ. 1896
- ค.ศ. 1912 ภาพเคลื่อนไหว หรือ ภาพยนต ไดกลายเปน
 สวนหนวยความจํา
ไดกอตั้งบริ ษัท Tabulating Machine Company ป
ธุรกิจขนาดใหญ
 สวนแสดงผล ผานบัตรเจาะรู
ค.ศ. 1911 เขาไดรวมทุนกับอีกหลายบริษัทจัดตั้งเปนบริษัท
Computing Tabulating Recording Company และใน - ค.ศ. 1915 บริษัท AT&T วางสายโทรคมนาคม ถึง ซานฟ
แนวคิดนี้ของเขาก็ไดนาํ มาสรางเครื่องดิจิทัลคอมพิวเตอรที่ ปค.ศ. 1924 ผูจัดการบริษัทคือ Thomas J. Watson ได
นํามาใชงานในปจจุบัน ตอมา ชาล แบบเบจ จึงไดรับการ รานซิสโก
เปลี่ยนชื่อบริษัทเปน International Business Machine
ยกยองวาเปนบิดาแหงคอมพิวเตอร Corporation หรือ IBM ในเวลาตอมา
- ค.ศ. 1843 ชาล แบบเบจ ไดจางหญิงสาวชื่อ เอดา ออ - ค.ศ. 1846 มีการพิมพที่สามารถใชความเร็วสูง - ค.ศ. 1920 - 1950 เขาสูยุคของ EAM (The - ค.ศ. 1928 มีการสาธิตการแสดงภาพและเสียงทาง ทีวี
กุสตา ลอเรนจ (Ada Augusta Lowlance) (ค.ศ. 1816 - ค.ศ.1866 มีการวางสายเคเบิลขามมหาสมุทร Electromechanical Accounting Machine) มีการ ครั้งแรก
– 1852) ใหเขียนโปรแกรมที่ใชกับเครื่องนี้ ตอมา เอดา ออ แอตแลนติก พัฒนาบัตรเจาะรู (Punch-card) และชุดเครื่องอาน
กุสตา ลอเรนจ จึงไดรับการยกยองวาเปน โปรแกรมเมอร บัตรเจาะรูที่มีประสิทธิภาพขึ้นซึ่งประกอบดวย เครื่องเจาะ - ค.ศ. 1939 มีการถายทอดสัญญาณทีวี ในเชิงธุรกิจ
- ค.ศ. 1876 มีการประดิษฐเครื่องโทรศัพท
คนแรกของโลก และไดตั้งชื่อภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรนี้ บัตร ตรวจบัตร จัดทําบัตรใหม รวบรวมบัตร แปล
วา ภาษาเอดา - ค.ศ. 1888 สามารถสงคลื่นวิทยุได
ความหมาย จัดเรียง สอบทาน และทํารายการบัญชี

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม


- ค.ศ. 1942 กําเนิดเครื่องคอมพิวเตอร ชื่อ The ABC ที่ใช - ค.ศ. 1946 ประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชหลอด - ค.ศ. 1946 มีการสาธิตการแสดงภาพและเสียงทาง ทีวีสี
หลอดสุญญากาศ (Vacuum tubes) ออกแบบและสราง สุญญากาศ ชื่อ ENIAC (Electronic Numeric
- ค.ศ. 1946 มีการประดิษฐหลอดทรานซิสเตอร
โดย ดร.จอนท วี. อาทานาซอฟ (Dr. John V. Atanasoff) Integrator and Control) โดย ดร.จอหน มอชชี
(ค.ศ.1904 –1995) เป นศาสตราจารย แ หง มหาวิท ยาลัย (Dr.John Mauchly) และ เจ เพรสเปอร เอคเคิท - ค.ศ. 1950 มีก ารแนะนํ า การใช วิ ท ยุท รานซิ ส เตอร ที่
ไอโอวา รวมกับนักศึกษาชื่อ คลิฟฟอรด อี. เบอรี่ (Clifford (J. Presper Eckert, Jr.) แหงมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สามารถติดตอกันไดโดยตรงโดยไมตองผานโอเปอเรเตอร
E. Berry) เครื่องที่สรางขึ้นยังไมสามารถใชงานไดแตถือวา ซึ่งถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของสหรัฐอเมริกา
อาทานาซอฟเป น ผู ว างราก ฐานของการพั ฒนาเครื่ อ ง เครื่องนี้ตองใชพื้นที่วางมีขนาด 15,000 ตารางฟุต น้ําหนัก
คอมพิวเตอรสมัยใหม 30 ตัน

- ค.ศ. 1952 มีการประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชหลอด - ค.ศ. 1957 ทดลองสง สัญญาณดาวเทีย มครั้ งแรก โดย
- ค.ศ. 1944 มีการประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรชื่อ Mark I สุญญากาศ ชื่อ UNIVAC (The UNIVersal Automatic รัสเซีย
ประดิษฐโดยศาสตรตราจารย ฮาวารด ไอเคน (Howard Computer) โดย ดร.จอหน มอชชี และ เจ เพรสเปอร เอค
Aiken) แหงมหาวิทยาลัยฮาวารด (Harvard University) เคิท ภายใตการดําเนินงานของ บริษัท เรมิงตัน-เรน คอเปอ
ซึ่งถือไดวา Mark I เปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกของ เรชั่น (Remington-Rand Corporation) ถือวาเปน
โลก มีขนาดกวาง 51 ฟุต สูง 8 ฟุต เครื่องที่นํามาใชในเชิงธุรกิจเปนเครื่องแรก

9
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
- ค.ศ. 1964 ประดิ ษฐ เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ตระกู ล IBM - ค.ศ. 1961 มีการใชโทรศัพทแบบกดปุม - ค.ศ. 1982 มีการประดิษฐเ ครื่ องคอมพิวเตอรช นิดหิ้ว - ค.ศ. 1985 มีโทรศัพทระบบเซลลูลารและเกมสนินเทนโด
360 โดย บริษัท IBM ติดตัวไปได (Nintendo )
- ค.ศ. 1970 ประดิ ษฐ ไ มโครโพรเซสเซอร ชิ ป และ - ค.ศ. 1968ใชเครื่องบันทึกวิดีโอและมวนวิดีโอ - ค.ศ. 1984 Apple Macintosh ผลิตเครื่องพิมพเลเซอร - ค.ศ. 1990 มี ก ารรั บ คื น ภาษี ผ า นระบบเครื อ ข า ย
แผนดิสกสําหรับบันทึกขอมูล และเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลแบบตั้งโตะ คอมพิวเตอร IRS
- ค.ศ. 1971 มี ก ารประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ งคิ ด เลขแบบพกพา - ค.ศ. 1975 มี ก ารประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ ง ที วี จอแบน (Flat - ค.ศ. 1993 ประดิ ษ ฐ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร มั ล ติ มี เ ดี ย - ค.ศ. 1991 มีการประดิษฐเกมบรรจุในซีดีรอม ของ
เปนครั้งแรก Screen TV ) สวนบุคคลแบบตั้งโตะ Sega

- ค.ศ. 1977 มีการประดิษฐเ ครื่อง APPLE II เปนเครื่อง - ค.ศ. 1976 บริษัทอาตาริ (Artari) ผลิตเกม คอมพิวเตอร - ค.ศ. 1994 Apple และ IBM รวมกันประดิษฐ เครื่อง - ค.ศ. 1994 องคกร FCC เลือกการสงขอมูลแบบ HDTV
คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือไมโครคอมพิวเตอร ที่ประกอบ ทีใ่ ชกับจอทีวีไดรับความนิยมอยางแพรหลาย คอ ม พิ ว เ ตอ ร ส ว น บุ ค คล ที่ ส า ม า ร ถ ปร ะ ม ว ล ผ ล เปนมาตรฐาน
แบบสําเร็จออกจําหนาย ภาพเคลื่อนไหวได และเทคนิคการสงขอมูลแบบไรสาย ไป - ค.ศ. 1995 มีการประดิษฐ การสงขอมูลภาพ รวมกับการ
- ค.ศ. 1977 มีการประดิษฐเคเบิลทีวี แบบสามารถโตตอบ ยังเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กได ใชโทรศัพท ( Full motion video Telephone ), ทีวี
ไดครั้งแรก
แบบสามารถโตตอบได สามารถเล นเกมส ได และเชื่อ ม
- ค.ศ. 1981 บริษัท IBM แนะนําเครื่องคอมพิวเตอร สวน - ค.ศ. 1979 สาธิตการถายทอดทีวีแบบ 3 มิติ ตอไปดูรายการตาง ๆ หรือการบริการ Shopping ตาง ๆ
บุคคล มีการประดิษฐคอมเพคดิสก - ค.ศ. 1996 มีการเปลี่ยนการบันทึกขอมูลแบบวิดีโอ จาก
สมาคมยุโรปใชการประชุมผานดาวเทียม บันทึกบนเทป เปนลงบนแผนซีดี

 สังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสังคมที่มีการพัฒนาไปอยางรวดเร็วมีผลใหการดําเนิน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
- ค.ศ. 1996 มีการประดิษฐเครื่องโฮมวิดีโอคอมพิวเตอร - ค.ศ. 2000 มีการใชโทรศัพทแบบดิจิทัลอยางทั่วถึง และ
ชีวิตของคนเราเปลี่ยนไป
 เทคโนโลยีสารสนเทศมาจาก 2 สาขาหลัก คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสื่อสาร
สามารถสงขอมูลแบบ HDTV ใหบริการอยางเพียงพอ
- ค.ศ. 2000 การติ ด ต อ สื่ อ สาร ทางธุ ร กิ จ จะมี ใ ช ก าร - ค.ศ. 2009 คาดวา สิ้นสุด การแพร สัญญาณ ทีวีแบบเกา
โทรคมนาคม
 เทคโนโลยีคอมพิวเตอรจะนํามาชวยในการจัดเก็บและประมวลผลขอมูลซี่งจะมีพัฒนาการ
ประชุมทางไกล เปนสวนใหญ และ จะมีสว นของการแปลภาษา อยูในเครื่องโทรศัพทดวย
- ค.ศ. 2009 ในสหรั ฐ คาดว า จะมี ค นครึ่ ง หนึ่ ง ของผู ที่ - ค.ศ. 2015 คาดว า ญี่ ปุ น เป น ชาติ แ รกที่ มี ก ารวางสาย
มาตั้งแตยุคโบราณและพัฒนาตอเนือ่ งมาจนถึงปจจุบนั คือยุคทีห่ า
 พัฒนาการของคอมพิวเตอรจะเห็นไดจากมีขนาดเล็กลง มีความสามารถมากขึน้ และมีราคา
ทํ า งานจะนั่ ง ทํ า งานที่ บ า นโดยผ า นระ บบเครื อ ข า ย เคเบิลเปนไฟเบอรออปติค ใชงานอยางเต็มรูปแบบ
คอมพิวเตอร
- ค.ศ. 2012 ในสหรัฐคาดวา จะมีการเลือกตั้ง - ค.ศ. 2030 คาดวาสหรัฐอเมริกามีการวางสายเคเบิลเปน ถูกลง
ประธานาธิบดีโดยผานระบบออนไลน จากบานของผูมีสิทธิ์ ไฟเบอรออปติค ใชงานอยางเต็มรูปแบบ
 เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมจะชวยในการสงผลลัพธของการใชงานคอมพิวเตอรไปยัง
เลือกตั้ง
ผูใชคนอื่นที่อยูหางไกลไดอยางสะดวกและรวดเร็ว
 ทั้งเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมมีการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง
เพื่ออํานวยความสะดวกใหกบั มนุษย การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีทั้งผลดีและ
ผลเสียขึ้นอยูกับผูใ ชจะนําไปจัดการ

10
1. ขอมูล (Data) แตกตางจากสารสนเทศ ( Information) อยางไร จงอธิบาย
2. จงอธิบายความหมายของคําศัพทตอ ไปนี้
• เทคโนโลยีสารสนเทศ
• LAN
• ชองสัญญาณ
• Cyberspace
• Mainframe
• Microcomputer
3. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทางดานใดบาง
4. จงยกตัวอยางของระบบการสือ่ สารในชีวติ ประจําวันพรอมทั้งอธิบายองคประกอบของระบบที่
ยกตัวอยางมาพอสังเขป
5. จงอธิบายวาเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบตอตัวเราและการดําเนินชีวิตของเราในดานใดบาง
อยางไร
6. คุณคิดวาแนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตจะเปนไปในทิศทางใด
7. จงบอกผลดี-ผลเสียของสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ

11

You might also like