You are on page 1of 15

วัตถุประสงค 1.

ขอมูลและสารสนเทศ
1. อธิบายถึงความหมายของขอมูลและสารสนเทศได 2. การจัดองคกรแฟม (File Organization)
2. บอกประเภทของแฟมขอมูลได 3. การจัดการฐานขอมูล (Database management)
3. อธิบายถึงการเขาถึงขอมูลตามประเภทของการจัดระเบียนแฟมแบบตาง ๆ พรอม 4. ประเภทของระบบสารสนเทศ
ยกตัวอยางลักษณะงานได 5. สวนประกอบของระบบสารสนเทศ
4. อธิบายถึงประโยชนการจัดการฐานขอมูลได
5. เปรียบเทียบประเภทฐานขอมูลแบบตาง ๆ ได
6. อธิบายถึงสารสนเทศที่นํามาใชในองคกรระดับตาง ๆ ได
7. เปรียบเทียบระบบสารสนเทศในแตละประเภทได

ขอเท็จจริงในเบื้องตนที่ยังไมไดประมวลผล เชน ชื่อของพนักงานและจํานวน 1. ขอมูลประเภทตัวอักษร


ชั่วโมงในการทํางานในสัปดาห, รหัสสินคาในคลังสินคา หรือในใบสั่งซื้อ เปนตน เมื่อ 2. ขอมูลประเภทภาพ
ขอเท็จจริงเหลานั้นถูกจัดการหรือสรางความสัมพันธเพื่อใหสื่อความหมายตามที่ตองการก็ 3. ขอมูลประเภทเสียง
จะกลายเปนสารสนเทศ
4. ขอมูลประเภทภาพเคลื่อนไหว
5. ขอมูลประเภทตัวเลข

1
เครื่องไมโครคอมพิวเตอรจะใชการกําหนดรหัสที่เรียกวา ASCII Code โดยใช  ภาพจะประกอบดวยจุดเล็ก ๆ จํานวนมากที่นํามาประกอบกัน เรียกวา พิกเซล (Pixel)
กลุมของบิตขนาด 8 บิตตอตัวอักษร ในระบบเลขฐานสอง กําหนดเปนสัญลักษณได  GIF (CompuServe Graphics Interchange Format) พัฒนาโดย CompuServe
ทั้งหมด 256 ตัว ( 0 - 255 ) เก็บรายละเอียดของสีแบบ 8 บิต กําหนดความละเอียดของสีไดไมเกิน 256 สี มีความ
ละเอียดของการแสดงผลขนาดสูงสุด 64,000 x 64,000 จุด(Pixels)
0- 31 = รหัสที่ใชควบคุมการทํางานของอุปกรณตางๆ  JPEG หรือ JPG (Joint Photographic Experts Group) ไฟลท่มี นี ามสกุล เปน .JPG
32 = ชองวาง ( Space bar ) เก็บรายละเอียดของสีแบบ 24 บิต กําหนดความละเอียดของสีไดสูงสุดไดถงึ 16.7 ลานสี
33-127 = ตัวอักษรที่ปรากฏบนแปนพิมพภาษาอังกฤษทั้งหมด เชน 65 = A  TIFF หรือ TIF (Tagged Image File Format) ไฟลมีนามสกุลเปน .TIF เก็บรายละเอียด
ของสีแบบ 48 บิต
 XBM (X Bitmap) ใชแสดงผลบน X window ในระบบปฏิบตั กิ าร UNIX
128-255 = สัญลักษณ พิเศษอื่น ๆ
 BMP (Bitmap) ไฟลมีนามสกุลเปน .BMP มีขนาดใหญและไมไดรับการบีบอัดขอมูล
 PNG (Portable Network Graphic) เปนไฟลที่พัฒนาขึ้นมาใชแทนไฟลกราฟกแบบอืน่ ๆ
เพื่อใหสามารถใชไดกบั ทุก ๆ ระบบปฏิบัตกิ ารที่ใชอยู

 เปนการแปลงขอมูลเสียงที่ในรูปของสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจติ อล เทคนิค การแปลงขอมูลภาพในรูปสัญญาณดิจติ อล โดยการนําภาพนิ่งมาทําเปนเฟรมที่


ที่ใชในการแปลงสัญญาณ เรียกวา PCM ( Pulse Code Modulation) มีความตอเนื่องของภาพจํานวนมาก ๆ

2
ขอมูลที่สามารถประมวลผลทางคณิตศาสตรได 1. หนวยขอมูลระดับกายภาพ (Physical Component) เปนหนวยของขอมูลที่ถูกรับรู
โดยตรงโดยฮารดแวร ไดแก
1. บิต (Bit) เปนหนวยขอมูลที่เล็กที่สุดทางคอมพิวเตอรมีเพียง 2 สถานะ
2. ไบต (Byte) เปนหนวยรวมของบิต โดย 8 บิต ใชแทนอักขระ 1 ตัว
2. หนวยขอมูลระดับตรรกะ (Logical Component) เปนหนวยของขอมูลที่ถูกรับรูและ
เขาใจไดโดยมนุษย ประกอบดวย
1. เขตขอมูล (Field) เปนหนวยรวมของไบต ถือเปนหนวยขอมูลที่เล็กที่สดุ ทีส่ ื่อความหมายได
2. ระเบียน (Record) เปนหนวยรวมของเขตขอมูลที่สัมพันธกัน
3. แฟม (File) เปนหนวยรวมของระเบียนที่สัมพันธกัน
4. ฐานขอมูล (Database) เปนหนวยรวมของแฟมตาง ๆ ที่สัมพันธกัน
ปจจุบันมีหนวยขอมูลที่ใหญกวาฐานขอมูลไดแก คลังขอมูล (Data warehousing)

1. การเขาถึงแบบลําดับ (Sequential access) จะถูกดําเนินการเมื่อระเบียนถูกเขาถึง


ตามลําดับของขอมูลที่จัดเก็บบนสื่อ เปนวิธีหลักที่ถูกใชในการประมวลผลเชิงกลุม
(Batch Processing) มีการปรับปรุงขอมูลเปนวาระที่แนนอน เชน ทุกคืนหรือทุก
สัปดาห เปนตน สื่อที่นิยมใชจัดเก็บไดแก เทปแมเหล็ก
2. การเขาถึงโดยตรง (Direct Access) บางทีเรียกวาการเขาถึงแบบสุม (Random
Access) ระเบียนจะถูกเขาถึงโดยตรงไมจําเปนตองเริ่มเรียงลําดับจากตนแฟม โดย
อาศัยคียหลัก (Primary Key) เปนตัวระบุตําแหนงของระเบียนที่ตองการเขาถึง ใช
สําหรับการประมวลผลแบบตอตรง (On-line Processing) ใชไดกับสื่อบันทึกชนิดที่
สามารถเขาถึงโดยตรงได เชน จานแมเหล็ก รวมทั้งสื่อบันทึกชนิดใหม ๆ

3
 เปาหมายหลักของการจัดองคกรแฟมก็คือ  ระเบียนในแฟมถูกจัดเก็บโดยเรียงลําดับตามคาของคียหลัก มีประสิทธิภาพมากใน
1. เพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงระเบียน งานประมวลผลเชิงกลุม (Batch System) ทีม่ ีขอมูลจํานวนมากถูกปรับปรุง (เพิ่ม
2. ประสิทธิภาพในการใชพื้นที่ในสื่อ ลบ แกไข) ในคราวเดียวกัน โดยจะกระทําในแฟมรายการเปลี่ยนแปลง
 มาตรฐานการจัดองคกรของแฟม (File Organization) มี 3 ชนิด ไดแก
(Transaction Files) จากนั้นจึงนําผลลัพธไปปรับปรุงคาในแฟมหลัก (Master
File) อีกที
 ขอดี คือ เปนวิธีจัดการที่งายที่สุด, ใชประโยชนจากพื้นที่ของสื่อบันทึกไดคุมคาที่สุด ,
1. การจัดองคกรแฟมแบบลําดับ (Sequential Organization)
2. การจัดองคกรแฟมแบบลําดับเชิงดัชนี (Indexed-sequential Organization) สามารถใชกับอุปกรณจัดเก็บที่มีราคาตอไบตต่ําสุด เชน เทปแมเหล็ก
3. การจัดองคกรแฟมแบบทางตรง (Direct Organization)  ขอจํากัด คือ การเพิ่ม, แกไข และลบขอมูลจําเปนตองเริ่มสรางแฟมใหมทุกครั้ง ถือ
เปนขอจํากัดของการประมวลผลแบบเชิงกลุม

 ระเบียนจะถูกจัดเก็บเรียงตามลําดับของคาคียหลักในรูปแบบที่สามารถเขาถึงแบบ  เปนวิธีท่สี ามารถเขาถึงระเบียนไดโดยตรงอยางรวดเร็วที่สดุ ไมจําเปนตองดูแลแฟม


ลําดับไดอยางรวดเร็วโดยอาศัยการคนหาตําแหนงที่อยูผานแฟมดัชนี ดัชนี แตคียหลักจะถูกแปลงเปนหมายเลขตําแหนงที่เก็บเชิงกายภาพของสื่อบันทึก
 แฟมดัชนี (Index File) คือ จะเก็บคาของคียหลักที่เปนตัวชี้ (Pointer) ไปยังขอมูล โดยอาศัย Hashing algorithm
ทีต่ องการตามลักษณะเชิงกายภาพของสื่อบันทึกที่ใช เชน แทร็ค (Track) และไซลิน  Hashing algorithm เปนวิธีคํานวณหมายเลขตําแหนงที่อยูเชิงกายภาพ โดยนิยม
เดอร (Cylinder) เปนตน
 การจัดองคกรแฟมแบบลําดับเชิงดัชนีที่ไดรับความนิยมสูงสุดไดแก ISAM (Indexed
ใชวิธหี ารคียหลักดวยตัวเลข Prime number (ตัวเลขที่หารไมลงตัวยกเวน 1 และ
ตัวมันเอง) ที่มีขนาดเล็กที่สุด
 ขอดี คือ เปนวิธีการเขาถึงโดยตรงตามตําแหนงที่อยูเชิงกายภาพของขอมูล เหมาะ
Sequential Access Method) ของไอบีเอ็ม
 ขอดี คือ สามารถเขาถึงไดท้งั แบบลําดับ (Sequential) และแบบโดยตรงใน
สภาพแวดลอมของแอพพลิเคชั่นทั้งแบบเชิงกลุม (Batch) และแบบตอตรง กับแอพพลิเคชั่นในสภาพแวดลอมแบบตอตรง (On-line)
(Online)  ขอจํากัด คือ ตองการพื้นที่วาง, มีความยุงยากหากจะเรียกใชระเบียนแบบเรียงลําดับ
 ขอจํากัด คือ ตองใชเวลาและพื้นที่วางในการจัดการและบํารุงรักษาแฟมดัชนี, , เวลาที่ใชอาจนานขึ้นกวาเดิมถาคาคียที่คนหาไปตกอยูในบริเวณที่ตําแหนงชนกัน
จําเปนตองเรียงแฟม (File Reorganization) ใหมเปนระยะ ๆ เมื่อเวลาผานไป (Collision) บอย ๆ และการจัดการชนกันเปนสิ่งที่ตองพิจารณา

4
1. การควบคุมความซ้ําซอน (Redundancy) และความสอดคลองกัน (Consistency) ของ
ขอมูลทําไดยาก
2. ขอมูลและโปรแกรมไมเปนอิสระ (Program-data dependency) เนื่องจากโปรแกรมเปนผู
ครอบครองแฟมขอมูลโดยตรง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแกไขโครงสรางหรือวิธีการเขาถึงแฟม
จะกระทบโดยตรงตอขอมูลเดิมที่จดั เก็บและจําเปนตองแกโปรแกรมใหมเสมอ
3. ไมเหมาะกับการใชขอมูลในองคกรขนาดใหญ เพราะเปนไปไดยากที่โปรแกรมเมอรจะคอยดูแล
จัดการกับขอมูลและแฟมจํานวนมาก ๆ ใหมีความคงสภาพที่ถูกตองอยูเสมอ ขาดความ
ยืดหยุนในการใชขอมูลรวมกัน (Inflexible access to shared data) เนื่องจากโครงสราง
การจัดเก็บขอมูลและวิธีการเขาถึงขอมูลในแตละแอพพลิเคชั่นยอมแตกตางกันไป
4. ขาดความเปนมาตรฐาน องคกรหนึ่ง ๆ อาจพัฒนาหลายแอพพลิเคชั่นในระบบงานตาง ๆ
(โดยโปรแกรมเมอรหลายคน) การควบคุมมาตรฐานเปนไปไดยาก เชน มาตรฐานของขอมูลใน
เขตขอมูล (ชนิด,ขนาด,รูปแบบ,ขอบเขตของคาที่เปนไปได เปนตน) มาตรฐานดานระบบ
ความปลอดภัย เปนตน

แฟมเปนหนวยรวมของขอมูลหรือสารสนเทศที่ถกู จัดเก็บในรูปแบบของคอมพิวเตอร  แฟมหลัก (Master files) เปนแฟมที่บรรจุไวดวยระเบียนขอมูลถาวรที่ไมถูก


ในการจัดเก็บจําเปนตองตัง้ ชือ่ แฟม (File name) และโดยทั่วไปแฟมในระบบพีซีมกั จะตองมี ปรับปรุงบอย ๆ อยางเชน แฟมนักศึกษา ที่เก็บขอมูลสวนตัวชื่อและที่อยูของ
นามสกุลหรือสวนขยายแฟม (File extension) ซึ่งมักมีความยาวไมเกิน 3 ตัวอักษร เพื่อระบุวา
นักศึกษา แฟมสินคา เปนตน
 แฟมรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction files) เปนแฟมชั่วคราวที่เก็บขอมูล
เปนแฟมชนิดใด ทั้งชื่อและสวนขยายจะถูกคัน่ ดวยสัญลักษณ “.” เชน แฟม REPORT.DOC เปน
ตน REPORT จัดเปนชื่อแฟม และ DOC จัดเปนสวนขยายแฟม ซึ่งในที่นี้หมายถึง แฟมประเภท
เอกสาร (Document file) รายการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดเพื่อนําไปปรับปรุงขอมูลในแฟมหลักสําหรับการเพิ่ม,
 แฟมโปรแกรม (Program file) ไดแก .COM, .EXE, .BAT แฟมสนับสนุนโปรแกรม ไดแก แกไข, ลบ เชน ขอมูลการลงทะเบียนเรียน ขอมูลการขาย ขอมูลเหลานี้ควรถูกเก็บไว
.DLL, .DRV, .VXD
 แฟมขอมูล (Data files) ไดแก .DOC, .DAT, .MDB, .DBF, .XLS, .WRK
ในแฟมชั่วคราวกอน จากนั้นจึงนําขอมูลที่เปลี่ยนแปลงในแฟมเหลานี้ไปปรับปรุง

 แฟมแอสกี (ASCII file) .TXT จะเก็บเฉพาะตัวอักษร ไมมีรูปแบบและโครงสราง


ขอมูลในแฟมหลักอีกทีหนึ่ง

 แฟมภาพ (Image files) ไดแก .TIF, .EPS, .JPG, .GIF, .BMP


 แฟมออดิโอ (Audio files) ไดแก .WAV, .MID, .MP3
 แฟมวีดิทัศน (Video files) ไดแก .AVI, .MPG

5
 การประมวลผลแบบกลุม (Batch processing) ขอมูลรายการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด การจัดการฐานขอมูล คือ การบริหารแหลงขอมูลไวที่ศูนยกลาง เพื่อการใช
จะถูกเก็บรวบรวมไวเปนวัน ๆ หรือหลายสัปดาหแลวจึงนําไปประมวลผลทั้งหมดใน อยางมีประสิทธิภาพ ลดการซ้ําซอน รวมทั้งความขัดแยงของขอมูล ในอดีตการเก็บขอมูล
ลักษณะเปนกลุมในคราวเดียวกันภายหลัง วิธีการเชนนี้มคี าใชจายต่ํากวาแบบ มักจะเปนอิสระตอกัน เชน องคการหนึ่งจะมีแฟมบุคคล (Personnel) แฟมเงินเดือน
ออนไลนและเหมาะกับงานที่ไมตองการคําตอบแบบทันทีทันใด เชน การตัดบัญชี (Payroll) และแฟมสวัสดิการ (Benefits) อยูแยกกัน เวลาตองการขอมูลของพนักงาน
รายการเช็ค เมื่อเช็คนําฝากเขามาตอนเชา ธนาคารจะบันทึกรายการไวแตยังไมได ทานใดจะตองเรียกดูขอมูลทั้ง 3 แฟม ซึ่งไมสะดวก ทําใหเกิดแนวคิดการรวมแฟมขอมูล
คํานวณยอดบัญชีใหจนกระทั่งถึงสิ้นวันจึงจะถูกคํานวณปรับปรุงยอดในบัญชี เขาดวยกันเปนฐานขอมูล (Database) และเกิดระบบการจัดการฐานขอมูล (Database
 การประมวลผลแบบออนไลน (Online processing) บางทีเรียกวา การประมวลผล Management System : DBMS) เพื่อใชสรางและบํารุงรักษาฐานขอมูล แลวใช
แบบทันกาล (Real-time processing) เมื่อปอนรายการเปลี่ยนแปลงเขาสูระบบ โปรแกรมอื่นที่สรางขึ้นเรียกใชขอมูลที่อยูในฐานขอมูล
คอมพิวเตอร รายการเปลี่ยนแปลงนั้นจะถูกนําไปปรับปรุงในแฟมหลักทันที เชน การ
ถอนเงินสดจากบัญชีผานเครื่องเอทีเอ็ม ระบบการจองตั๋วเครื่องบิน

1. ลดความยุงยากและซับซอนในการจัดการขอมูล 1. มีคาใชจายเกี่ยวกับบุคลากร โดยเฉพาะผูด แู ลระบบฐานขอมูล (Database Administrator: DBA)


2. ลดความขัดแยงของขอมูลในหนวยงานและระบบองคการ 2. มีคาใชจายในการสรางฐานขอมูล กรณีเปลี่ยนขอมูลแบบเกาใหเปนฐานขอมูลและตองแกไขโปรแกรมเกา
3. หากตองการจัดเก็บขอมูลที่ใหญขนึ้ ตองการเขาถึงขอมูลที่รวดเร็ว อาจจะตองเพิ่มโปรเซสเซอร
3. สนับสนุนการใชขอมูลรวมกัน
4. คาใชจายดานโปรแกรมประยุกต และอุปสรรคในการพัฒนาระบบขอมูล เชน
4. เพิ่มความปลอดภัยใหขอมูล
1. ความผิดพลาดจากการปอนขอมูลเขายอมมีผลกระทบกับหนวยงานอื่นที่นาํ ขอมูลนัน้ ไปใช
5. ชวยใหขอมูลมีความถูกตองและทันเหตุการณ 2. การสรางขอมูลรวมทั้งองคการทําไดยากเนือ่ งจากแตละแผนกอาจจะตองการขอมูลในความละเอียดที่
6. สามารถควบคุมและสรางมาตรฐานของขอมูลในองคการ ไมเทากัน ผูจัดการระดับลางตองการใชขอ มูลเพื่อทํางานวันตอวัน แตผูบริหารระดับสูงตองการใช
ขอมูลเพื่อวางแผน
7. สรางความยืดหยุนในการนําขอมูลมาใชประโยชน
3. เนื่องจากทุกแผนกใชขอ มูลรวมกันจึงตองสรางระบบความปลอดภัยเพื่อไมใหขอมูลรั่วไหล ตอง
8. สามารถนําขอมูลมาใชอยางมีประสิทธิภาพ กําหนดรหัสผาน กําหนดสิทธการใชงานของผูใ ชแตละคน ซึ่งยุงยากสําหรับการใชฐานขอมูลรวมกัน
9. ประหยัดเวลาและคาใชจายในการบริการขอมูล ไมเหมือนกับระบบแฟมขอมูล ทุกแผนกมีสทิ ธิ์ใชเครื่องของตนเองไดเต็มที่ มีอิสระในการตัดสินใจ
10.ขอมูลมีอิสระจากชุดคําสั่งที่ใช

6
1. ประสานงานกับผูจัดการแฟมขอมูล (File manager) ในการจัดเก็บ เรียกใช และ 1. แบบลําดับชั้น/ตนไม (Hierarchical/Tree Model)
แกไขขอมูล 2. แบบเครือขาย (Network Model)
2. ควบคุมความสมบูรณของขอมูลใหอยูสภาพที่พรอมใชงานตลอดเวลา 3. เชิงสัมพันธ (Relational Model)
3. ควบคุมความปลอดภัยของขอมูล 4. เชิงวัตถุ (Object-Oriented Model)
4. สรางระบบขอมูลสํารองเพื่อปองกันความเสียหาย
5. ควบคุมความตอเนื่องและจัดลําดับการทํางานที่เหมาะสม เพื่อการใชงานสะดวก
รวดเร็วและถูกตอง

 มีโครงสรางการเก็บขอมูลแบบบนลงลาง (Top-down) เหมือนโครงสรางแบบตนไม ขอดี ขอเสีย


 มีโครงสรางที่จดั เก็บขอมูลในลักษณะความสัมพันธแบบพอ-ลูก (PCR Type : Parent-Child
1.ความเร็วในการประมวลผลสูงกวาประเภท 1. โครงสรางของขอมูลไมยืดหยุน
Relationship) เรคอรดแรกสุดเรียกวา รูท (Root)
 ทุกเรคอรด สามารถมีความสัมพันธกบั เรคอรดพอไดเพียงหนึ่งความสัมพันธ
อื่น เนื่องจากความสัมพันธของขอมูลมีความ 2. มีความยุงยากในการเปลี่ยนแปลง
ซับซอนนอยที่สุด โครงสรางขอมูลและการติดตัง้
 ทุกเรคอรด สามารถมีคณ ุ สมบัตเิ ปนเรคอรดประเภทพอได เปนลักษณะความสัมพันธแบบ 2.รูปแบบความสัมพันธเปนลักษณะเดียวกัน 3. วิธกี ารเขาถึงขอมูลซับซอน
หนึ่งตอกลุม (One-to-Many Relationship) 3.เชื่อมโยงไปยังเรคอรดอื่นโดยอาศัยตัวชี้
 DBMS ประเภทนี้ ไดแก IBM’s IMS บนสภาพแวดลอมของ MVS (Pointer) จึงไมมีความซ้ําซอนกันของคีย
(Key-Field)

7
 โครงสรางขอมูลเหมือนกับแบบลําดับชั้น แตลดขอจํากัดลงหลายประการ ขอดี ขอเสีย
 มีลักษณะความสัมพันธเปนแบบกลุมตอกลุม (Many-to-Many Relationship) 1. ถือเปนสวนขยายของโครงสรางแบบลําดับ 1. มีคาดําเนินการสูง
เรียกความสัมพันธวาเซ็ทไทป (Set Type) ชั้น/ตนไม 2. ตองใชวิธีการเขาถึงที่ซับซอน
 สามารถมีเรคอรดประเภทรูทไดหลายรูท 2. สามารถเขาถึงขอมูลที่สรางความสัมพันธไว 3. มีความยุงยากในการพัฒนาโปรแกรมใน
 เรคอรดประเภทลูกสามารถเชื่อมโยงกับเรคอรดพอไดหลายพอ ไดหลายทิศทาง กรณีที่ความสัมพันธของขอมูลที่ซับซอนมาก
 DBMS แบบ Network ไดแก IDMS
3. มีความเร็วในการประมวลผลสูง 4. โครงสรางขอมูลมีความยืดหยุนนอย
4. เชื่อมโยงไปยังเรคอรดอื่นโดยอาศัยตัวชี้ จึง
ไมมีความซ้ําซอนกันของคีย

 ไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบนั ขอดี ขอเสีย


 มีการจัดเก็บขอมูลเปนแบบตาราง (Table) ซึ่งเปนตารางขนาด 2 มิติที่ประกอบดวย 1. โครงสรางของขอมูลมีความยืดหยุนสูง 1. มีความซ้ําซอนของขอมูลที่ใชเปนคีย
แถว (Row) กับคอลัมน (Column) สามารถเชื่อมโยงกับตารางใหม ๆ ไดไม 2. มีคาดําเนินการสูง (High Overhead)
 การเชื่อมโยงขอมูลระหวางตารางโดยอาศัยคอลัมนที่ปรากฏอยูในทั้งสองตาราง จํากัด โดยปราศจากการสรางความสัมพันธ 3. การประมวลผลชากวาสองแบบแรก
 เนนความงายตอผูใชระดับตาง ๆ ที่ซับซอน

 ตัวอยางของ RDBMS ปจจุบันไดแก Oracle, DB2, Ingres, SyBase, Informix,


2. งายตอการเขาถึงขอมูล
3. งายตอการควบคุม
SQL Server เปนตน 4. งายตอการพัฒนาโปรแกรม
5. งายตอผูใชระดับตาง ๆ (User Friendly)

8
 มีรากฐานมาจากแนวคิดภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming
Language : OOP) โดยอาศัยหลักการที่วา นักโปรแกรมไมจาํ เปนตองรูโ ครงสรางในระดับ
บิตและไบต (หรือแมกระทั่งระเบียนและเขตขอมูล) มากไปกวารูเพียงความสามารถในการ
จัดการกับวัตถุ (Object) และการปฏิบัติการ (Operations) กับวัตถุเหลานั้นก็พอ
 โครงสรางของฐานขอมูลทั้งสามชนิดขางตนจะจัดการกับโครงสรางขอมูลโดยตรง ซึ่งขอมูล
จะแบงเปนเขตขอมูล แถว และคอลัมน แตโครงสรางเชิงวัตถุสามารถจัดการกับขอมูลชนิด
ใหม ๆ ได ซึ่งประกอบดวย กราฟก, ออดิโอ, และวีดทิ ัศน
 ระบบจัดการฐานขอมูลเชิงวัตถุ หรือ OODBMS จะใชวตั ถุ (Object) ที่มีขนาดเล็ก
สามารถนํากลับมาใชใหมได ซึ่งประกอบดวยขอมูลในรูปแบบขอความ เสียง วีดิทัศน
รูปภาพ และคําสั่ง (Instruction) ที่จะกระทําตอขอมูล
 OODBMS สามารถประยุกตใชในงานที่ตองจัดเก็บและประมวลผลเกี่ยวกับมัลติมีเดีย เชน
ดานการแพทยใชเก็บภาพ X-ray, CAT scans, MRI scans เปนตน ดานวิศวกรรม ใชเก็บ
พิมพเขียว ภาพราง ไดอะแกรม ภาพถาย และภาพเขียนแบบ เปนตน ดานการศึกษา ใช
เก็บงานที่ตองการนําเสนอในรูปแบบของมัลติมเี ดีย ในแอพพลิเคชันดานภูมศิ าสตรใชเก็บ
แผนที่ แผนที่ทางอากาศ และภาพถายดาวเทียม

ผลลัพธของขอมูลที่ไดผานการประมวลผล (ไดแก เรียงลําดับ, แยกประเภท, ขอมูลเขาไมวาจะไดมาจากแหลงใด หรือมีลักษณะเชนใดก็ตาม สิ่งสําคัญคือขอมูล


จะตองเปนขอเท็จจริงที่ถูกตองและเชื่อถือได ถาขอมูลที่นําเขาไปประมวลผลเปนขอมูลที่ไม
คํานวณ, เปรียบเทียบ, วิเคราะห) พรอมที่จะนําไปใชงานไดทันที ถูกตอง ผลลัพธที่ไดก็ไมสามารถนําไปใชอา งอิงหรือไปใชประโยชนได ดังคําที่กลาววา “Garbage
สารสนเทศไมใชผลลัพธสุดทาย เนื่องจากสารสนเทศของระบบงานหนึ่งอาจถูก in, Garbage out” นั่นคือเมื่อใสขยะเขาไปสิ่งที่ไดกเ็ ปนขยะเชนกัน ลักษณะของขอมูลที่ดี มี 8
ประการ คือ
นําไปเปนขอมูลของอีกระบบงานหนึ่งก็ได
1. ความถูกตอง (Accuracy)
2. ความสมบูรณ (Completeness)
3. ทันตอเวลา (Timeliness)
4. ความคุมคา (Economical)
5. ความยืดหยุน (Flexible)
6. ความนาเชื่อถือ (Reliable)
7. ความงาย (Simple)
8. สามารถทวนสอบได (Verifiable)

9
1. ระบบประมวลผลขอมูล (Data Processing Systems หรือ DPS) องคกรโดยทั่วไปจะแบงโครงสรางออกเปน 4 ระดับ คือ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System หรือ MIS) 1. ระดับวางแผนยุทธศาสตรระยะยาว (Strategic planning)
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) 2. ระดับวางแผนการบริหาร (Tactical planning)
4. ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารระดับสูง (Executive Information System หรือ EIS) 3. ระดับวางแผนปฏิบัติการ (Operational planning)
5. ระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert Systems หรือ ES) 4. ระดับผูปฏิบตั ิการ (Clerical)

1. ระดับปฏิบตั กิ าร จะอยูกบั งานที่ตอ งทําซ้ํา ๆ เนนไปที่การจัดการรายการประจําวัน และจัดหาขอมูล


เขาสูระบบ เชน ปอนขอมูลการสั่งซื้อของลูกคาในระบบสารสนเทศเพื่อการขาย

EIS, DSS ระดับวางแผน


2. ระดับวางแผนปฏิบตั กิ าร มีหนาที่ควบคุมการปฏิบตั งิ านประจําวัน และวางแผนบริหารงานที่เกี่ยวของ
กับระยะเวลาสัน้ ๆ เชน แผนงานประจําวัน สัปดาห หรือไตรมาส จึงตองการสารสนเทศเกีย่ วกับการ
ยุทธศาสตรระยะยาว
ปฏิบัตกิ ารในชวงเวลาหนึง่ ๆ เชน ตองการรายงานสรุปการขายประจําไตรมาสของพนักงานขาย เพื่อ

DSS, MIS
ประเมินผลงานของพนักงานขายแตละคน
ระดับวางแผนการบริหาร 3. ระดับวางแผนการบริหาร มีหนาที่วางแผนใหบรรลุเปาหมายตามแผนงานระยะยาว จึงตองการ
สารสนเทศที่มีคาบเวลานานกวาผูบ ริหารขั้นตน และรวบรวมขอมูลทั้งจากภายในและภายนอกองคกร
เชน คูแขง หรือตลาดโดยรวม นอกจากนี้ ยังตองการระบบรายงานการวิเคราะหแบบ ถา-แลว (What-
MIS, DPS ระดับวางแผนปฏิบัติการ
If) ซึ่งสามารถทดสอบไดวาหากเกิดเหตุการณนแี้ ลว สารสนเทศจะเปลีย่ นเปนเชนใด เชน ตองการผล
การขายประจําปเพื่อเปรียบเทียบกับคูแขง รวมทั้งอาจตองการทดสอบวาถาเพิ่มหรือลดงบโฆษณาใน
สื่อตาง ๆ จะมีผลกระทบอยางไร
DPS 4. ระดับวางแผนยุทธศาสตรระยะยาว เปนผูบริหารระดับสูงสุด จะเนนที่เปาประสงคขององคกร ตองการ
ระดับผูปฏิบัติการ สารสนเทศที่เนนรายงานสรุป รายงานแบบ What-if และการวิเคราะหแนวโนมตาง ๆ (Trend
Analysis) เชน ตองการรายงานแนวโนมการขายในอีก 4 ปขางหนาของผลิตภัณฑ 3 ชนิดของบริษัท
เพื่อดูแนวโนมการเติบโตของผลิตภัณฑ

10
ระบบ ระดับวางแผน ระดับวางแผนการ ระดับวางแผน  เนนที่การประมวลผลรายการประจําวัน (Transaction) และการเก็บรักษาขอมูล
สารสนเทศ ปฏิบัติการ บริหาร ยุทธศาสตรระยะยาว  มักจะอยูเฉพาะสวนหนึ่งสวนใดของธุรกิจเทานั้น เชน ฝายการเงินและบัญชี ฝายผลิต
ความถี่ สม่ําเสมอ ซ้ําซ้ํา มักจะทําเปนประจํา เมื่อตองการ ฝายการตลาด
ผลลัพธที่ได เปนตามที่คาด อาจไมเหมือนที่คาด มักจะไมเหมือนที่คาด  ขอมูลจะถูกปอนและจัดเก็บ และถูกแกไขระหวางการประมวลผลรายการประจําวัน ผลลัพธ
ระยะเวลา อดีต เปรียบเทียบ อนาคต จะแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กําหนด เชน ใบสงของ รายงานประจําเดือน
รายละเอียด มีรายละเอียดมาก ถูกสรุปแลว ถูกสรุปแลว  ใชงานไดถงึ ผูบ ริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เทานั้น
แหลงขอมูล ภายใน ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก
ลักษณะของขอมูล เปนโครงสราง กึ่งโครงสราง ไมเปนโครงสราง
ความแมนยํา มีความแมนยําสูง ใชการคาดการณบาง ใชการคาดการณสูง
ผูใช หัวหนางาน ผูบริหารระดับกลาง ผูบริหารระดับสูง
ระดับการตัดสินใจ เกี่ยวกับงานที่ทํา จัดสรรทรัพยากรและควบคุม วางเปาประสงค

 จะรวมทั้งสารสนเทศภายในและภายนอกทีเ่ กี่ยวพันกับองคกรทั้งในอดีต ปจจุบัน 1. สนับสนุนการทํางานของระบบประมวลผลขอมูลและการจัดเก็บขอมูลรายวัน


และอนาคต 2. ใชฐานขอมูลที่ถูกรวมเขาดวยกันและสนับสนุนการทํางานของฝายตาง ๆ ในองคกร
 สามารถสนับสนุนสารสนเทศใหทั้งผูบริหารระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง 3. ชวยใหผบู ริหารระดับตน ระดับกลาง และระดับสูงเรียกใชขอมูลที่เปนโครงสรางไดตาม
 จะเนนใหมองเห็นแนวโนมและภาพรวมขององคกรในปจจุบนั เวลาที่ตองการ
 สามารถควบคุมและตรวจสอบผลงานของระดับปฏิบัตกิ ารได 4. มีความยืดหยุนและสามารถรองรับความตองการขอมูลทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปขององคกร
 ขอบเขตของรายงานจะขึ้นอยูกับลักษณะของสารสนเทศและจุดประสงคในการใช 5. มีระบบรักษาความลับของขอมูล และจํากัดการใชงานของบุคคลเฉพาะผูที่เกี่ยวของ
โดยอาจมีรายงานตามสภาวะการณ หรือเหตุผิดปกติ เชน การวิเคราะหการขายแยก เทานั้น
ตามพื้นที่ การวิเคราะหตนทุน งบประมาณประจําป การวิเคราะหการลงทุน

11
ประเด็นเปรียบเทียบ DP MIS  พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง
มีการใชระบบฐานขอมูลรวมกัน ไมมี หรือ มีนอยมาก มาก  ชวยใหการตัดสินใจเปนไปอยางสะดวก โดยอาจจะชวยผูตดั สินใจในการเลือก
ทางเลือก หรืออาจมีการจัดอันดับใหทางเลือกตาง ๆ ตามวิธที ี่ผตู ัดสินใจกําหนด
 เปนระบบสารสนเทศแบบตอบโตได ซึ่งจะใชชุดเครื่องมือที่ประกอบขึ้นจากทั้ง
มีการรวบรวมขอมูลจากฝายตาง ๆ ในองคกร ไมมี หรือ มีนอยมาก มาก
การใหสารสนเทศสําหรับผูบริหาร ระดับปฏิบัติการ ทุกระดับ ฮารดแวรและซอฟตแวร เพื่อชวยใหผูตัดสินใจใหสามารถใชงานไดงายที่สุด เชน
การตอบสนองสารสนเทศแกผูบริหาร ตองใชเวลารวบรวม ทันที การแสดงกราฟกแบบตาง ๆ หรือ ใชระบบการจัดการฐานขอมูล (DBMS)
ความสามารถในการเรียกใชขอ มูล On-Line ตองรอเวลาสรุป ทันที  มีการใชโมเดลการวางแผนและทํานาย รวมทั้งการใชภาษาในการซักถามที่ใกลเคียง
กับภาษามนุษย หรือแมแตระบบปญญาประดิษฐ เพื่อใหผบู ริหารสามารถเรียกใช
สารสนเทศที่ตองการได โดยไมจําเปนตองขอความชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญ

1. ชวยผูบริหารในกระบวนการการตัดสินใจ ประเด็นเปรียบเทียบ MIS DSS


2. สามารถเรียกใชทั้งขอมูลแบบกึง่ โครงสรางและแบบไมมีโครงสรางได
การจัดการปญหา แบบโครงสราง กึ่งโครงสรางหรือไมมี
3. สนับสนุนผูตัดสินใจไดในทุกระดับ แตจะเนนที่ระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธศาสตร
โครงสราง
4. มีรูปแบบการใชงานเอนกประสงค มีความสามารถในการจําลองสถานการณ และมีเครื่องมือ
ในการวิเคราะหสําหรับชวยเหลือผูท ําการตัดสินใจ การสนับสนุนการตัดสินใจ งานที่แนนอน ปรับตามสถานการณ
5. เปนระบบที่โตตอบกับผูใ ชได สามารถใชงานไดงา ย ผูบริหารตองสามารถใชงานไดโดยพึ่ง ลักษณะของการใหสารสนเทศ รายงานสรุป โตตอบทันที
ความชวยเหลือจากผูเ ชี่ยวชาญนอยที่สดุ หรือไมพึ่งเลย
6. สามารถปรับใหเขากับความตองการขาวสารในสภาพการณตาง ๆ และมีกลไกชวยใหสามารถ การกําหนดรูปแบบของสารสนเทศ ระบบกําหนดให ตามตองการ
เรียกใชขอมูลที่ตองการไดอยางรวดเร็ว การใหสารสนเทศสําหรับผูบริหาร ระดับกลาง ระดับกลาง และระดับสูง
7. สามารถติดตอกับฐานขอมูลขององคกรได
8. ทํางานโดยไมข้นึ กับระบบการทํางานตามตารางเวลาขององคกร
9. มีความยืดหยุนพอที่จะรองรับรูปแบบการบริหารงานหลากหลาย

12
 สนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจสําหรับผูบริหารระดับสูงโดยเฉพาะ  ระบบ EIS จะใชขอมูลทั้งจากภายในและภายนอกองคกร (เชน รายงานจาก
 ถือเปนสวนหนึ่งของระบบ DSS ที่แยกออกมาเพื่อเนนในการใหสารสนเทศที่สําคัญ หนวยงานของรัฐบาล หรือขอมูลประชากร) นํามาสรุปอยูในรูปแบบที่สามารถ
ตอการบริหารแกผูบริหารระดับสูงสุด ตรวจสอบ และใชในการตัดสินใจโดยผูบริหารไดงาย
ลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารระดับสูง  ตัวอยางของระบบ EIS เชน รายงานการเงินและสถานภาพทางธุรกิจของบริษัท
ลักษณะ รายละเอียด รวมทั้งอัตราสวนสินทรัพยตอหนี้สนิ หรือจํานวนลูกคาเฉลี่ยตอนาทีที่ใชบริการ
ระดับการใชงาน มีการใชงานบอย สนับสนุนหลังการขายทางโทรศัพท โดยระบบอาจแสดงลูกศรหรือสีที่ชวยใหผูบริหาร
ทักษะทางคอมพิวเตอร ไมจําเปนตองมีทักษะสูง ระบบสามารถใชงานไดงาย สามารถทราบถึงแนวโนมไดอยางรวดเร็ว
ความยืดหยุน สูง จะตองสามารถเขากันไดกบั รูปแบบการทํางานของผูบ ริหาร  ระบบ EIS ถูกออกแบบใหแสดงสารสนเทศขององคกรโดยสรุป แตในขณะเดียวกันก็
การใชงาน ใชในการตรวจสอบ ควบคุม สามารถดูลึกเขาไปถึงรายละเอียดที่ตอ งการได
การสนับสนุนการตัดสินใจ ผูบริหารระดับสูง ไมมีโครงสรางที่แนนอน
การสนับสนุนขอมูล ทั้งภายในและภายนอกองคกร
ผลลัพธที่แสดง ตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมเี ดีย
การใชงานภาพกราฟก สูง จะใชรูปแบบการนําเสนอตาง ๆ
ความเร็วในการตอบสนอง จะตองตอบสนองอยางรวดเร็ว ทันทีทันใด

จุดเดน จุดดอย 1. ระบบ DSS ถูกออกแบบเพื่อใหสารสนเทศที่ชวยสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหาร


1. งายตอผูบริหารระดับสูงในการใชงาน 1. มีขอจํากัดในการใชงาน ระดับกลางถึงระดับสูง แตระบบ EIS จะเนนการใหสารสนเทศสําหรับผูบริหารระดับสูง
2. การใชงานไมจําเปนตองมีความรูเรือ่ ง 2. อาจทําใหผูบริหารจํานวนมากรูสกึ วา โดยเฉพาะ
คอมพิวเตอร ไดรับขอมูลมากเกินไป 2. ระบบ DSS จะมีสวนของการใชงานที่ใชไมงา ยเทากับระบบ EIS เนื่องจากระบบ EIS
3. ใหสารสนเทศสรุปของผูบริหารใน 3. ยากตอการประเมินผลประโยชนที่ได เนนใหผูบริหารระดับสูงสุดใชนั่นเอง
เวลาที่ตองการ จากระบบ 3. ระบบ EIS สามารถสรางขึ้นมาบนระบบ DSS เสมือนเปนระบบที่ชวยใหสอบถามและ
4. ทําใหเขาใจสารสนเทศไดดีขึ้น 4. ไมสามารถทําการคํานวณที่ซบั ซอนได ใชงานขอมูลไดสะดวกขึ้น ระบบ EIS จะสงตอการสอบถามนั้นไปยังระบบ DSS และทํา
5. มีการกรองขอมูลทําใหประหยัดเวลา 5. ระบบอาจจะใหญเกินกวาที่จะจัดการได การสรุปขอมูลที่ระบบ DSS สงมาใหอยูในรูปที่ผบู ริหารสามารถเขาใจไดงาย
6. ทําใหระบบสามารถติดตาม 6. ยากตอการรักษาขอมูลใหทนั สมัยอยู
สารสนเทศไดดีขึ้น ตลอดเวลา
7. กอใหเกิดปญหาการรักษาความลับของ
ขอมูล

13
 เปนระบบที่ชวยผูบริหารแกไขปญหา หรือตัดสินใจไดดขี ึ้น 1. ชวยในการเก็บความรูของผูเชี่ยวชาญในดานใดดานหนึ่งไว ทําใหไมสูญเสียความรูนั้น
 เกี่ยวของกับการจัดการความรู (Knowledge) มากกวาสารสนเทศ และถูกออกแบบ เมื่อผูเชี่ยวชาญตองออกจากองคกรหรือไมอาจจะปฏิบัติงานได
มาใหชวยในการตัดสินใจโดยใชวธิ ีเดียวกับผูเชี่ยวชาญที่เปนมนุษย โดยใชหลักการ 2. ชวยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจใหกับผูบริหารจํานวนมากพรอม ๆ กัน
ทํางานดวยระบบปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) 3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพ และประสิทธิผลใหกับผูทําการตัดสินใจไดเปนอยางมาก
 ระบบจะโตตอบกับมนุษย โดยมีการถามขอมูล ใหขอ แนะนํา และชวยเหลือใน 4. ทําใหการตัดสินใจในแตละครั้งมีความใกลเคียง และไมขัดแยงกัน
กระบวนการตัดสินใจ ระบบจะจําลองความรูของผูเชี่ยวชาญจริง ๆ มา โดย 5. ชวยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ผูเชี่ยวชาญในที่นี้อาจเปนไดทั้งผูเชี่ยวชาญในการบริหาร ผูเชี่ยวชาญในเรื่องภาษี
6. มีความเหมาะสมที่จะเปนระบบในการฝกสอนอยางมาก
ผูเชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแมแตผูเชี่ยวชาญในการทําอาหารก็ตาม

 ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงในเบื้องตน  การจัดขอมูลแบบแฟมมีขอจํากัด คือ (1) การซ้ําซอนของขอมูล (2) ขอมูลและ


 สารสนเทศ เปนผลลัพธของขอมูลที่ผานประมวลผลแลว พรอมที่จะใชงานไดทันที โปรแกรมขึ้นตอกัน (3) ขาดความยืดหยุน (4) ขาดความปลอดภัยของขอมูล และ
 สารสนเทศที่ดี ควรประกอบดวย (1) มีความถูกตอง (2) สมบูรณ (3) ทันตอเวลา (5) ขาดความสะดวกในการใชและการแบงปนกัน
(4) ความคุมคา (5) ความยืดหยุน (6) ความนาเชื่อถือ (7) ความงาย และ (8) ทวน  การแกปญหาระบบแฟม โดยนําขอมูลมารวมกันเปนฐานขอมูล
สอบได  ระบบการจัดการฐานขอมูลเปนตัวกลางที่เชื่อมระหวางขอมูลกับผูใช มีหนาที่ (1)
 หนวยของขอมูลที่เล็กที่สุดที่มีความหมายตอผูใชคือ เขตขอมูล (Field) เชน รหัส ประสานงานกับตัวจัดการแฟมขอมูลในการจัดเก็บ เรียกใช และแกไขขอมูล (2)
นักศึกษา, ชื่อนักศึกษา และถาเรานําฟลดหลาย ๆ มารวมกันจะเปนระเบียน ควบคุมความสมบูรณของขอมูลใหอยูในสภาพที่พรอมใชตลอดเวลา (3) ควบคุม
(Record) ถานําระเบียนหลาย ๆ ระเบียนมารวมกันจะกลายเปนแฟม (File) ความปลอดภัยของขอมูล (4) สรางระบบสํารองขอมูลเพื่อปองกันความเสียหาย และ
 แฟมขอมูลแบงออกเปน 2 ประเภท คือ แฟมขอมูลหลัก และแฟมรายการปรับปรุง (5) ควบคุมความตอเนื่องและจัดลําดับการทํางานที่เหมาะสม เพื่อใชงานสะดวก
 วิธีการประมวลผลแฟมขอมูล แบงเปน การประมวลผลแบบกลุม กับแบบออนไลน
รวดเร็วและถูกตอง
 ฐานขอมูล แบงได 4 ประเภท คือ (1) ฐานขอมูลแบบลําดับชั้น/ตนไม (2) ฐานขอมูล
 การจัดการกับระเบียนแฟมขอมูลมี 3 วิธี คือ (1) แบบลําดับ (2) แบบตรงหรือแบบ แบบเครือขาย (3) ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ และ (4) ฐานขอมูลเชิงวัตถุ
สุม และ (3) แบบลําดับเชิงดัชนี

14
ระบบสารสนเทศแบงได 5 ระดับ คือ 1. จงอธิบายลักษณะของขอมูลที่ดีวามีองคประกอบอะไรบาง
2. จงอธิบายวิธีการจัดระเบียบแฟมขอมูลวามีกี่ประเภท อะไรบาง
1. ระบบประมวลผลขอมูล เปนระบบจัดการขอมูลพื้นฐาน เนนที่การประมวลผลรายการ 3. จงอธิบายวิธีการประมวลผลขอมูลวามีกี่แบบ อะไรบาง
ประจําวัน 4. จงอธิบายองคประกอบของระบบฐานขอมูล พรอมทั้งยกตัวอยางระบบฐานขอมูลที่ใชในชีวิตประจําวัน
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เปนระบบชวยใหผูบริหารตัดสินใจในการวางแผนการ 5. จงอธิบายประโยชนของระบบจัดการฐานขอมูล
ควบคุม และปฏิบัติการขององคกรไดอยางถูกตอง 6. จงอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศตอไปนี้ พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ
• DP
• MIS
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เปนระบบที่ชวยผูบริหารระดับวางแผนและวางแผน
ยุทธศาสตรที่ตองเผชิญกับการตัดสินใจ ซึ่งสนับสนุนความตองการเฉพาะของผูบริหาร • DSS
แตละคน • EIS
4. ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารระดับสูง เปนระบบที่สนับสนุนสารสนเทศและการ • ES
ตัดสินใจสําหรับผูบริหารระดับสูงโดยเฉพาะ 7. จงอธิบายความแตกตางระหวางระบบสารสนเทศดังตอไปนี้
• MIS กับ DP
• DSS กับ MIS
5. ระบบผูเชี่ยวชาญ เปนระบบที่ชวยผูบริหารแกไขปญหา หรือทําการตัดสินใจไดดีขึ้น
ซึ่งจะเกี่ยวของกับการจัดการความรูมากกวาสารสนเทศ • EIS กับ DSS

15

You might also like