You are on page 1of 17

หน่ วยที่ 3 หน่ วยประมวลผลกลาง

สาระสาคัญ
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมาก ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพราะ
เปรี ยบเสมือ กับสมองของมนุ ษ ย์ โดยมีหน้าที่ในการคานวณ และประมวลตามคาสั่งที่ไ ด้รับ ซึ่ งหน่ ว ย
ประมวลผลกลาง มีส่วนประกอบหลัก ๆ 3 ส่ วน คือ 1) ส่ วนควบคุม (Control Unit : CU) ทาหน้าที่ในการ
ควบคุ ม การท างานของอุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ในคอมพิ ว เตอร์ 2. ส่ ว นค านวณทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละตรรกะ
(Arithmetic and Logic Unit) ท าหน้า ที่ ใ นการคานวณ และการตัดสิ นใจ และ 3) รี จิ ส เตอร์ (Register) ท า
หน้าที่ในการพักข้อมูลชัว่ คราว ทั้งก่อนและหลังการประมวลผล
การทางานของหน่วยประมวลผลกลาง มี 4 ขั้นตอน คือ 1) การเฟตช์ (Instruction Fetch: IF) เป็ น
กระบวนการที่หน่วยควบคุม (CU) ไปนาคาสั่งที่ตอ้ งการใช้จากหน่วยความจามาเพื่อการประมวลผลมาเก็บ
ไว้ที่ Register 2) การแปลความหมาย (Instruction Decode : ID) เป็ นกระบวนการถอดรหั ส หรื อแปล
ความหมายคาสั่ ง ต่า ง ๆ เพื่ อ ส่ ง ไปยัง หน่ ว ยคานวณและตรรกะเพื่ อ ด าเนิ น การต่ อ ไป 3) การเอ็ ก ซ์คิวต์
(Execute : EX) เป็ นกระบวนประมวลผลค าสั่ ง โดยหน่ ว ยค านวณและตรรกะ ซึ่ งการประมวลผลจะ
ประมวลผลที ล ะค าสั่ ง และ 4) การจัด เก็ บ (Store : ST) เป็ นกระบวนการจัด เก็ บ ผลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้จ ากการ
ประมวลผล และจัดเก็บไว้ในหน่วยความจาหรื อรี จิสเตอร์

หัวข้อการเรียนรู้
1. หน่วยประมวลผลกลาง
2. โครงสร้างพื้นฐานของ CPU
3. กระบวนการทางานพื้นฐานของหน่วยประมวลผลกลาง
4. วิวฒั นาการของ CPU
5. กระบวนการผลิต CPU
6. สถาปัตยกรรมแบบ CISC และ RISC

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของหน่วยประมวลผลกลางได้
2. จาแนกโครงสร้างพื้นฐานของ CPU ได้
3. อธิบายกระบวนการทางานพื้นฐานของหน่วยประมวลผลกลางได้
4. อธิบายวิวฒั นาการของ CPU ได้
5. อธิบายกระบวนการผลิต CPU ได้
6. อธิบายความแตกต่างระหว่างสถาปัตยกรรมแบบ CISC และ RISC ได้
หน่ วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลางหรื อซีพียู (CPU) เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) เป็ นอุปกรณ์
ที่ มี ค วามส าคัญ มากที่ สุ ด ของระบบคอมพิ ว เตอร์ มี ห น้า ที่ ใ นการประมวลผลค าสั่ ง ที่ ถู ก ส่ ง เข้า ไปเพื่ อ
คานวณหาผลลัพธ์ หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน ดังนี้

รู ปที่ 1 หน่วยประมวลผลกลาง
1. หน่ วยควบคุม (Control Unit: CU)
หน่วยควบคุมทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการประมวลผล และการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
ภายในหน่วยประมวลผลกลาง รวมไปถึงการประสานงานในการทางานร่ วมกันกับหน่วยประมวลผลกลาง
กับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารอง เมื่อต้องการประมวลผล ตามชุดคาสั่ง
ผูใ้ ช้จะต้องส่ งข้อมูลและชุดคาสั่ง เข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ เสี ยก่อน โดยข้อมูลและชุดคาสั่ง จะถูกนาไปเก็บ
ไว้ในหน่วยความจาหลัก จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคาสั่งจากชุดคาสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจาหลักออกมาที
ละคาสั่งเพื่อทาการแปลความหมายว่าคาสั่งดังกล่าวสั่งให้ฮาร์ ดแวร์ ทางานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบ
ความหมายของคาสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ งสัญญาณคาสั่งไปยังฮาร์ ดแวร์ ส่ วนที่ทาหน้าที่ในการ
ประมวลผลให้ทาตามคาสั่งนั้น ๆ
2. หน่ วยคานวณทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU)
หน่ ว ยค านวณตรรกะ ท าหน้า ที่ เ หมื อ นกับ เครื่ อ งคานวณอยู่ใ นเครื่ อ งคอมพิว เตอร์ โ ดยท างาน
เกี่ยวข้องกับการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ (Arithmetic operations) เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้ หน่วย
คานวณและตรรกะของคอมพิ ว เตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่า งหนึ่ งที่ เครื่ อ งคานวณธรรมดาไม่มี คื อ
ความสามารถในเชิ งตรรกะศาสตร์ (Logical operations) หมายถึง ความสามารถในการเปรี ยบเทียบตาม
เงื่อ นไข และกฎเกณฑ์ทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อ ให้ไ ด้คาตอบออกมาว่า เงื่อ นไขนั้น เป็ นจริ ง หรื อ เท็จ เช่ น
เปรี ยบเทียบมากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจานวน 2 จานวน เป็ นต้น ซึ่ งการเปรี ยบเทียบนี้มกั จะใช้
ในการเลือกทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์จะทาตามคาสั่งใดของโปรแกรมเป็ นคาสั่งต่อไป
3. รีจิสเตอร์ (Register)
รี จิสเตอร์ คือ หน่วยความจาชั่วคราว ที่มีความเร็ วสู งกว่าหน่วยความจาหลัก แต่มีความจุน้อยกว่า
โดยรี จิสเตอร์จะตั้งอยูใ่ กล้กบั ALU และ CU เพื่อทาหน้าที่ในการพักข้อมูลชัว่ คราว โดยการเก็บคาสัง่ ที่จะถูก
นาไปประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการประมวลผล ก่อนที่จะถูกส่งออกไปยังหน่วยความจา
หลัก และอุปกรณ์ภายนอกต่อไป
โครงสร้ างพื้นฐานของ CPU
ภายในหน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่ วนประกอบหลัก 3 ส่ วน คือ หน่วยควบคุม (Control
Unit: CU) หน่ ว ยค านวณทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU) และรี จิ ส เตอร์
(Register) เชื่ อ มต่ อ กันผ่ า นระบบบัส ความเร็ ว สู ง เพื่ อ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ างกัน โดยหน่ ว ยค านวณทาง
คณิตศาสตร์ และตรรกะ เป็ นหัวใจหลักของหน่วยประมวลผลกลาง การคานวณทั้งหมดจะเกิดขึ้นในส่ วนนี้
สาหรับรี จิสเตอร์ สามารถมีได้หลายตัว ขึ้นอยู่กบั การออกแบบหน่วยประมวลผลกลาง โครงสร้างอย่างง่าย
ของหน่วยประมวลผลกลางแสดงดังรู ปที่ 2

รู ปที่ 2 โครงสร้างพื้นฐานของ CPU

กระบวนการทางานพื้นฐานของหน่ วยประมวลผลกลาง
การท างานพื้ น ฐานของหน่ ว ยประมวลผลกลาง แสดงดัง รู ป ที่ 3 เริ่ ม ต้น จากการน าค าสั่ ง จาก
หน่ วยความจาเข้าสู่ หน่ วยประมวลผลกลาง ทาการถอดรหัสคาสั่ง ประมวลผลตามคาสั่ง และส่ งผลลัพธ์
กลับไป โดยสามารถแบ่งการทางานออกเป็ น 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. การเฟตช์ (Instruction Fetch: IF)
การเฟตช์ เป็ นกระบวนการที่หน่วยควบคุม (CU) ไปนาคาสั่งที่ตอ้ งการใช้จากหน่วยความจามาเพื่อ
ประมวลผลมาเก็บไว้ที่ Register
2. การแปลความหมาย (Instruction Decode: ID)
การแปลความหมาย เป็ นกระบวนการถอดรหัสหรื อแปลความหมายคาสั่งต่าง ๆ เพื่อส่งไปยังหน่วย
คานวณและตรรกะเพื่อดาเนินการต่อไป
3. การเอ็กซ์ คิวต์ (Execute: EX)
การเอ็กซ์คิวต์ เป็ นกระบวนการประมวลผลคาสั่งโดยหน่วยคานวณและตรรกะ ซึ่ งการประมวลผล
จะประมวลผลทีละคาสั่ง
4. การจัดเก็บ (Store: ST)
การจัดเก็บ เป็ นกระบวนการจัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลและจัดเก็บไว้ในหน่วยความจา
หรื อรี จิสเตอร์

รู ปที่ 3 กระบวนการทางานของหน่วยประมวลผลกลาง

ในการประมวลผลคาสั่ ง CPU จะน าค าสั่ งจากหน่ ว ยความจ าไปประมวลผลที ล ะ 1 ค าสั่ ง โดย


ควบคุมการทางานด้วย CU จากนั้นจะทาการถอดรหัสคาสั่งเพื่อให้เข้าใจว่าคาสั่งต้องการให้ CPU ทางาน
อะไร ขึ้นตอนต่อไปคือ การประมวลผลตามคาสั่งที่ถอดรหัสได้ซ่ ึ งทางานโดย ALU เช่น การบวก การลบ
หรื อ การเปรี ยบเทียบ เป็ นต้น ขั้นตอนสุ ดท้ายเมื่อ ALU ประมวลผลเสร็ จ ผลลัพธ์จะถูกส่ งกลับไปเก็บที่
หน่วยความจา หรื อส่งไปแสดงผลต่อไป
วิวัฒนาการของ CPU
ในยุคแรก ๆ หน่วยประมวลผลถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในหน่วยงานหรื อองค์กรที่มีขนาด
ใหญ่ และมีราคาแพง โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ในการทางานขององค์กรให้รวดเร็ วยิ่งขึ้น แต่ในยุคต่อ ๆ มา
คอมพิวเตอร์เริ่ มเข้าไปมีบทบาทในครัวเรื อนมากขึ้น ทาให้หน่วยประมวลผลกลางถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับ
ครั ว เรื อ น และมี ร าคาถู ก ลง ท าให้ ค อมพิ ว เตอร์ เ ริ่ ม เข้า ไปมี บ ทบาทในครั ว เรื อ นมากขึ้ น ท าให้ ห น่ ว ย
ประมวลผลกลางถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับครัวเรื อน และมีราคาถูกลง ทาให้คอมพิวเตอร์ เริ่ มใช้งานกันมาก
ขึ้นจนถึงปัจจุบนั
บริ ษทั อินเทลเริ่ ม ขาย CPU ตัวแรก คือ Intel 4004 ในปี ค.ศ. 1971 ซึ่ งมีขนาดแค่ 4 บิต และได้มี
วิวฒั นาการ การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง CPU ให้มีประสิ ทธิ ภาพดี ข้ ึน โดยเริ่ มจาก CPU ขนาด 4 บิต จน
กลายเป็ น ขนาด 64 บิต วิวฒั นาการโดยรวมของ Intel CPU แสดงดังรู ปที่ 4 โดยแบ่งออกเป็ น 4 ยุค คือยุค
1970s, ยุค 1980s, ยุค 1990s และยุคปั จจุบนั ซึ่ งนอกเหนื อจากนี้ บริ ษทั อินเทลยังมี CPU ตัวอื่นอีกหลายตัว
ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป เช่น Core i3, Core i5 และ Core i7 เป็ นต้น
รู ปที่ 4 วิวฒั นาการของ Intel CPU
1. Intel 4004
Intel 4004 เป็ นชิปไมโครโปรเซสเซอร์ รุ่นแรกที่ทางบริ ษทั อินเทลเปิ ดตัวพร้อมจาหน่ายไปทัว่ โลก
ในวันที่ 15 พฤศจิ กายน ค.ศ. 1971 ซึ่ งมีชื่อ ทางการค้าว่า Intel 4004 ชิ ป ไมโครโปรเซสเซอร์ ตัวนี้ มีราคา
จาหน่ ายอยู่ที่ 200 เหรี ยญสหรัฐ Intel 4004 รุ่ นแรกถูกใช้งานในเครื่ อ งคิดเลขเป็ น CPU ขนาด 4.2  3.2
มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ จานวน 2250 ตัว และเป็ นไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาด 4 บิต ใช้
สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 740 kHz ใช้ใน ค.ศ. 1971-1981

รู ปที่ 5 Intel 4004


2. Intel 8008
Intel 8008 มี ชุ ด ค า สั่ ง 48 ค า สั่ ง แ ล ะ อ้ า ง ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ไ ด้ 16 Kbyte Intel 8008 เ ป็ น
ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต มีหน่วยความจา 16 Kbyte ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 0.8 MHz ใช้ใน ค.ศ.
1972-1983

รู ปที่ 6 Intel 8008


3. Intel 8080
Intel 8080 ถูกใช้งานบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (PC) รุ่ นแรก ๆ เป็ นไมโครโปรเซสเซอร์ แบบ 8
บิต ออกจาหน่ ายในปี ค.ศ. 1974 ประกอบด้วย ทรานซิ สเตอร์ ประมาณ 6,000 ตัว ใช้สัญญาณนาฬิกาที่
ความถี่ 2 MHz

รู ปที่ 7 Intel 8080


4. Intel 8086-8088
Intel 8086-8088 เป็ นไมโครโปรเซสเซอร์ แบบ 8 บิต ที่เริ่ มใช้งานโดยบริ ษ ัท IBM นามาใช้กับ
เครื่ อง PC ในตระกูล IBM PC หรื อที่รู้จกั ในนาม XT และ CPU ตัวนี้เป็ นต้นแบบของ CPU ในสถาปัตยกรรม
x86 ที่อินเทล และบริ ษทั อื่น นามาผลิต CPU ที่ใช้กบั เครื่ อง PC จนถึงปัจจุบนั นี้ (ยกเว้นแต่บริ ษทั อินเทลเอง
ซึ่งผลิต CPU ขนาด 64 บิต ที่ไม่ใช้สถาปัตยกรรม x86) ระบบปฏิบตั ิการที่สนับสนุน CPU ตัวนี้คือ DOS ของ
บริ ษทั ไมโครซอฟท์ Intel 8088, 8086 เป็ น CPU ที่ประมวลผลทีละ 8 บิต มีชุดคาสั่ง 76 คาสั่ง ใช้สัญญาณ
นาฬิกาที่ความถี่ 5 MHz ถึง 10 MHz ใช้ในปี ค.ศ. 1978 – 1990

รู ปที่ 8 Intel 8086-8088


5. Intel 80286 (i286)
ไมโครโปรเซสเซอร์ ในยุคที่ 280286 หรื อ i286 เป็ นโปรเซสเซอร์ ที่ถูกพัฒนาโดย Intel ที่บริ ษทั
IBM ได้นามาใช้เป็ นจักรกลการคานวณบนเครื่ อง IBM PC/AT (Advanced Technology) 80286 เป็ นบันได
ก้าวแรกของการเข้าสู่ การเป็ นโปรเซสเซอร์ ที่มีความสามารถสูงมีความร็ วเพียงแค่ 6 MHz ซึ่งบัสของ 80286
เป็ นแบบ 16 บิต ภายในมีทรานซิ สเตอร์บรรจุอยูป่ ระมาณ 130,000 ตัว 6 MHz ถึง 25 MHz ใช้ใน ค.ศ. 1982
จนถึง 1990

รู ปที่ 9 Intel 80286 (i286)


6. Intel i386
ไมโครโปรเซสเซอร์ในยุคที่ 3 โปรเซสเซอร์ตวั ใหม่ขนาด 32 บิตที่มีความสามารถสูงกว่า 80286 ซึ่ง
ได้แก่ โปรเซสเซอร์ในยุคที่ 3 คือ 80386DX ซึ่งในปี 1985 ที่ประกาศตัวนี้ มีถึง 4 รุ่ นด้วยกัน ได้แก่ 16, 20, 25
และ 33MHz โดยรุ่ น 33MHz นี้มีอตั ราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 50MB/s และมีประสิ ทธิภาพในการ
ประมวลผลสู งถึง 11.4 MIPS สาหรับโปรเซสเซอร์ ในยุคที่ 3 นี้ มีสองแบบ ได้แก่ 80386DX และ 80386SX
ซึ่ งภายในมีทรานซิ สเตอร์ จานวน 275,000 ตัว มีรีจิสเตอร์ ขนาด 32 บิต และมีอตั ราความเร็ วในการรั บส่ ง
ข้อมูลขนาด 2 เท่าเมื่อเทียบกับ 80286 ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 12MHz ถึง 40MHz ใช้ใน ค.ศ. 1985 ถึง
กันยายน ค.ศ. 2007
รู ปที่ 10 intel i386 (80386DX, 80386SX)
7. Intel Pentium
ในช่วงแรกได้ผลิตออกมาที่ความเร็ว 60 และ 66MHz ต่อมาบริ ษทั อินเทลได้ผลิตความเร็ วสู งขึ้นอีก
เป็ น 75 และ 90 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่ งมีสถาปั ตยกรรมที่แตกต่างจากรุ่ นแรก ๆ และยังสามารถพัฒนาความเร็ วไป
ได้อีกคือ 100, 13, 150 และ 166 MHz CPU ที่มีขีดความสามารถสู งขึ้นทั้งทางด้านความเร็ วและเทคโนลี มี
แคชภายในมากขึ้น และมีความสามารถในการทางานกับเลขทศนิยมได้ดีข้ นึ โดยมีความเร็วบัสที่แตกต่างกัน
ทั้ง 50/66/75 MHz สาหรับแพ็คเกจที่ใช้ใน Intel Pentium ใช้ไ ด้กับ Socket4, Socket5 เรี ยกว่าเป็ นแพ็คเกจ
แบบ SPGA ซึ่ง Intel Pentium ในตอนแรกมีจานวนทรานซิสเตอร์ในตัวเพียง 3.1 ล้านตัวเท่านั้น ใช้ใน วันที่
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995

รู ปที่ 3.11 Intel Pentium


8. Intel Pentium II
เป็ น CPU ที่ ป ระกอบไปด้ว ยเทคโนโลยี ของ Pentium Pro ผนวกเข้า กับเทคโนโลยี MMX ที่ ใ ช้
สถาปั ตยกรรมการทางานแบบใหม่ที่เรี ยกว่า “Single Instruction Multiple Data (SIMD)” ซึ่ งได้มาการปรับ
โครงสร้างสถาปั ตยกรรมภายในซิ ปถึง 70 จุด เพื่อเร่ งความเร็ วในการทางานแบบ 64 บิต และยังมีการเพิ่ม
ชุ ดคาสั่งเข้าไปอีก 70 คาสั่ง เพื่อ เพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพในการประมวลผลงานด้าน 3 มิติ Pentium II ตัวแรกที่
ออกมานั้น มีแคช L2 สู งถึง 512-KB ใช้แพ็คเกจแบบ SECC โดยมีรูปร่ าง CPU เอาไว้เสี ยบเป็ น slot ลง
เมนบอร์ ด หรื อที่เราเรี ยกว่า Slot 1 (SC242) ใช้ระบบบัส 66 MHz มีความเร็ ว CPU ตั้งแต่ 233 – 333 MHz
ตั้งแต่กลางปี ค.ศ. 1997 จนถึง ค.ศ. 1999

รู ปที่ 12 Intel Pentium II


9. Intel Pentium II Deschutes
CPU ในรุ่ นนี้เป็ นการพัฒนาในส่วนของแกนซีพียใู ห้สามารถทางานได้ที่ความเร็วสูงขึ้น โดยการลด
ขนาดการผลิตลงจาก 0.35 มาเป็ น 0.25 ไมครอน และเนื่ องจากการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เล็กลงทาให้ลด
การใช้ไฟเลี้ยง CPU น้อยลงอีกด้วย ซึ่ งจะช่วยลดความร้อนบนแกน CPU อินเทลได้ปรับปรุ งระบบบัสจาก
66MHz มาเป็ น 100MHz แล้ว มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ร หั ส พัฒ นาจาก Klamath เป็ น Deschutes และยัง ใช้
เทคโนโลยีการผลิตเล็กลงเหลือ 0.25 ไมครอน โดยหลาย ๆ อย่างยังคงเหมือนเดิม ทั้งการที่เป็ น Slot และมี
แคชระดับสองที่ 512 KB ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 350-450 MHz ใช้ต้งั แต่ ค.ศ. 1997 ถึง ค.ศ. 1999

รู ปที่ 13 Intel Pentium II Deschutes


10. Intel Celeron
Intel Celeron ที่ตดั ความสามารถบางส่วนออก ทางบริ ษทั อินเทลได้นาเอา CPU Pentium II ในรุ่ น
คลาเมธ มาทาการตัดเอาส่วนของหน่วยความจาแคช ระดับสองออก เพื่อเป็ นการลดต้นทุนการผลิตให้ต่าลงา
ให้ CPU Celeron มีสถาปัตยกรรม ภายในแบบเดียวกับ Pentium II เพียงแต่ CPU Celeron จะไม่มี
หน่วยความจาแคชระดับสองเท่านั้น การที่ Celeron สนับสนุน MMX การโอนถ่ายข้อมูลมัลติมีเดียได้ดว้ ย
ความเร็วสูง แต่มีแคชเพียง 32K กับบัสที่ความเร็ ว 66MHz และใช้ชื่อรหัสการพัฒนาในรุ่ นนี้ว่าโควินตัน
(Covignton) ค.ศ. 1999

รู ปที่ 14 intel celeron


11. Intel Pentium III
ในปี ค.ศ. 1999 บริ ษทั อินเทลประกาศเปิ ดตัว CPU ใหม่อีกครั้งในนาม Pentium III ซึ่ ง Pentium III
ตัวแรกที่เปิ ดตัวมานี้ ยังเป็ น Pentium III แบบ Slot 1 อยู่ จริ ง ๆ แล้ว Pentium III คือ Pentium II ที่ได้จบั เอา
มาเพิ่ ม ชุ ด ค าสั่ ง SSE เข้า ไป (Streaming SIMD Extension) แต่ ย งั คงผลิ ต ด้ว ยเทคโนโลยี 0.25 ไมครอน
ความเร็ วบัส 133 MHz Pentium III ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 533 และ 600 MHz ใช้ในปี ค.ศ. 1999 ถึง
ค.ศ. 2003
รู ปที่ 15 Intel Pentium III
12. Intel Pentium 4
การเปิ ดตัวของ Intel Pentium 4 ได้พลิกประวัติศาสตร์ CPU หลากหลายประการ เริ่ มจากการเพิ่ม
เทคโนโลยี Hyper Pipelined Technology, Rapid Execution Engine และเพิ่มชุดคาสั่ง SSE2 เข้าไป ซึ่ ง CPU
Intel Pentium 4 ตัวแรก ๆ นั้น เป็ น CPU Socket 423 (มี 423 ขา) ตัวใหญ่ประมาณ Pentium III และคนที่จะ
ใช้ Pentium 4 ต้องอัพเกรดเครื่ องใหม่ท้ งั หมด รวมไปถึง Power Supply ด้วย และยังใช้ได้เฉพาะ RDRAM
เท่านั้น ซึ่ งแรก ๆ มี RDRAM แถมมาในกล่อง CPU ด้วย ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน ใช้
ระบบบัสแบบ Quad-Pumped Bus 400 MHz มีแคชระดับสองในตัว ขนาด 256-KB ใช้ไฟ VCORE ที่ 1.700-
1.750 V ซึ่งหลังจากที่ Pentium 4 รหัส Willamette Socket 423 ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 1.30 GHz – 2.00
GHz ตั้งแค่ ค.ศ. 2000 ถึง ค.ศ. 2008

รู ปที่ 16 Intel Pentium 4


13. Intel Pentium D
Dual & Multi-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกมา เพื่อการทางานที่ตอ้ งการ multitasking สูง
ๆ หรื อ สามารถท างานกับ แอปพลิ เ คชั น ได้ห ลายตัว พร้ อ มกัน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพได้แ ก่ Pentium D
(Smithfield-90nm), Pentium D (Presler-65nm) ใช้สั ญ ญาณนาฬิ กาที่ค วามถี่ 2.8 – 3.60 GHz มี Cache L2
ตั้งแต่ 2 – 4 MB มี FSB 800 MHz ไม่มี Hyper-Threading มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep (ยกเว้น
Pentium D820, 805) รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65
นาโนเนตร บน LGA775 ตั้งแต่ ค.ศ. 2005 ถึง ค.ศ. 2008

รู ปที่ 17 Intel Pentium D


14. Intel Pentium Dual-Core
Pentium Dual-Core เป็ นแบรน CPU x86 ของอินเทลในตระกูลเพนเทียม ในช่วงปี พ.ศ. 2549-2552
ก่อนที่จะถูกรี แบรนกลับไปเป็ นชื่อ “เพนเทียม” โปรเซสเซอร์ ตวั แรกในชื่อเพนเทียมดูอลั -คอร์ มีความเร็ ว
สู ง สุ ด ปั จ จุ บัน อยู่ที่ 2.4 GHz ในรุ่ น E2220 ท างานด้ว ย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่ า TDP
สูงสุด 65 W จาก ค.ศ. 2006 ถึง 2009

รู ปที่ 18 Intel Pentium Dual-Core


15. Intel Pentium Extreme Edition
Pentium Extreme Edition เป็ น Dual-Core ภายใต้แบรน Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูก
ออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi-End สมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่าง ๆ อย่าง
เต็มรู ปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสี ยงแบบ High Definition ทั้งงานด้านการออกแบบ
และเกมต่ า ง ๆ ได้แ ก่ Pentium Extreme Edition (Smithfield-90 nm) Pentium Extreme Edition (Presler-65
nm) มี ค วามเร็ ว ตั้ ง แต่ 3.20 – 3.73 GHz มี Cache L2 ตั้ ง แต่ 2 – 4 MB มี FSB ตั้ ง แต่ 800 – 1066 MHz มี
เทคโนโลยี Hyper – Threading ไม่มีระบบประหยัดพลังงานรองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตี
ของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65 นาโนเมตร บน Socket LGA775 ตั้งแต่ ค.ศ. 2006 ถึง ค.ศ. 2009

รู ปที่ 19 Intel Pentium Extreme Edition


16. Intel Core 2 Duo
Intel Core 2 Duo เป็ นแบรนของทางอินเทลสาหรับไมโครโปรเซสเซอร์ x86 และ x86-64 ที่ทางาน
บนสถาปัตยกรรมไมโครคอร์ที่มีการทางาน 1, 2 หรื อ 4 คอร์ร่วมกัน สถาปัตยกรรมคอร์น้ นั ได้ลดอัตรา
นาฬิกาและลดการใช้พลังงานลงโดยเพิ่มประสิ ทธิภาพมากขึ้นซึ่งแตกต่างจากสถาปัตยกรรมเน็ตเบิร์สรุ่ น
ก่อนหน้าที่ใช้กบั Pentium 4 และ Pentium D มีความเร็วสูงสุด 2.6 GHz ในรุ่ น E4700 ทางานด้วย FSB 800
MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่าปริ มาณความร้อนสูงสุดที่ซีพียจู ะปล่อยออกมาในขณะทางาน (TDP)
สูงสุด 65 W เริ่ มขายในปี ค.ศ. 2006
รู ปที่ 20 Intel Core 2 Duo
17. Intel Core 2 Quad
Intel  Core TM2 Quad เป็ นโปรเซสเซอร์ สาหรับเดสก์ทอปพีซีที่ออกแบบมาให้จดั การกับการใช้
งานคานวณในปริ มาณมาก และการทางานด้านภาพ ด้วยเทคโนโลยี Multi-core มีแบนด์วิดธ์ที่ตอ้ งการ
สาหรับแอปพลิเคชันแบบมัลติเธรด Intel Core 2 Quad โปรเซสเซอร์สร้างขึ้นบน 45 nm Intel Core micro
architecture จึงให้ประสบการณ์การใช้งานเดสก์ทอปพีซีและเวิร์กสเตชัน่ ที่เร็วกว่าเย็นกว่า และเงียบกว่า มี
ความเร็วสูงสุด 2.66 GHz ในรุ่ น Q6700 ทางานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP
สูงสุด 95 W เริ่ มขายในเดือนสิ งหาคม ค.ศ. 2008

รู ปที่ 21 Intel Core 2 Quad


18. Intel Core i3
Intel Core i3 นั้ นมี ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ข อง Intel Graphics Media Accelerator HD เพื่ อ ให้ ไ ด้
ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ง านที่ สู ง สุ ด โดยฟั ง ก์ ชัน ตัว นี้ ท าให้ เ ล่ น VDO ในระดับ HD ให้ ร าบรื่ น ที่ สุ ด และ
ความสามารถในด้านการใช้งานของ 3D เพื่อให้ไม่ขดั ใจในการที่เราจะทางาน และยังมีเทคโนโลยีใหม่ของ
อินเทล คือ Intel Hyper-Threading Technology เพื่อให้การประมวลผล 2 Threads/1Core เพื่อรี ดประสิ ทธิภาพ
ของ CPU ออกมาให้ได้มากที่สุด ทาให้แต่ละแกนของโปรเซสเซอร์ ทางาน 2 งานได้ในเวลาเดียวกัน CPU
แบบ 2 แกน แบ่งการทางานออกเป็ น 4 Threads มาพร้อมกับความเร็ วในการประมวลผลที่สูงถึง 3.4 GHz
รองรับการทางานระบบปฏิบตั ิการทั้ง 32 บิต และ 64 บิต โดยมี L3 Cache 3 MB ขนาดของหน่วยความจา 32
GB ประเภท DDR3-1333/1600 และมีระบบประมวลผลกราฟิ ก Intel HD Graphics 2500 ความเร็วตั้งแต่ 650
MHz ไปจนถึง 1.05 GHz เปิ ดตัวเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 2010
รู ปที่ 22 Intel Core i3

19. Intel Core i5


Intel Core i5 เจนเนอเรชัน 4 ให้ประสิ ทธิ ภาพที่มากขึ้น และระบบความปลอดภัยในตัวเพื่อ การ
ปกป้ องที่ล้ าลึกยิ่งกว่า พร้อมทั้งระบบเพิ่มความเร็ วให้อตั โนมัติ ด้วยเทคโนโลยี Intel Turbo Boost 2.01
สัมผัสภาพยนตร์ ภาพถ่ายและเกมอย่างราบรื่ นไม่มีสะดุดด้วยชุดประสิ ทธิภาพกราฟิ ก เป็ น CPU แบบ 4 แกน
โดยแบ่งการทางานออกเป็ น 4 Threads มาพร้อมกับความเร็วในการประมวผลที่สูงถึง 3.2 GHz และสามารถ
อัพเพิ่มได้ถึง 3.6 GHz รองรับการทางานในระบบปฏิบตั ิการทั้ง 32 บิต และ 64 บิต โดยมี L3 Cache 6 MB
ขนาดของหน่ ว ยความจ า 32 GB ประเภท DDR3-1333/1600 และมี ร ะบบประมวลผลกราฟิ ก Intel HD
Graphics 4600 ความเร็วตั้งแต่ 350 MHz ไปจนถึง 1.15 GHz เปิ ดตัววันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2009

รู ปที่ 23 Intel Core i5


20. Intel Core i7
Intel Core i7 เป็ น CPU ภายใต้แบรนใหม่ในชื่อ Core i7 กล่าวได้ว่าเป็ นโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม
แบบใหม่ดว้ ยโครงสร้างทั้งภายใน และภายนอกที่ได้รับการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงไปมาก เช่น การย้ายเอา
ส่ วนควบคุมหน่ ว ยความจ า เป็ นต้น ด้วยเทคโนโลยี Intel Turbo Boost 2.0 ที่จะช่ วยเสริ มประสิ ท ธิ ภ าพ
ความเร็ ว ของ CPU ท าให้ ค อมพิ ว เตอร์ ข องคุ ณ ท างานได้เ ร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น กว่ า เดิ ม จึ ง ไม่ ต้อ งกัง วลกับ ปั ญ หา
คอมพิวเตอร์คา้ ง รอนานอีกต่อไป CPU ระดับ Hi-End จากอินเทลในรุ่ น Intel Core i7 4770K เป็ น CPU แบบ
4 แกน โดยแบ่งการทางานออกเป็ น 8 Threads มาพร้อมกับความเร็วในการประมวลผลที่สูงถึง 3.5 GHz และ
สามารถอัพได้สูงสุ ด 3.9 GHz รองรับการทางานในระบบปฏิบตั ิการทั้ง 32 บิต และ 64 บิต โดยมี L2 Cache
4 X 256 KB และ L3 Cache 8 MB ขนาดของหน่วยความจา 32 GB ประเภท DDR3/1333/1600 และมีระบบ
ประมวลผลกราฟิ ก Intel HD Graphics 4600 ความเร็วตั้งแต่ 350 MHz ไปจนถึง 1.25 GHz
รู ปที่ 24 Intel Core i7

กระบวนการผลิต CPU
ทรายที่พบเห็นได้ทวั่ ไปตามที่ต่าง ๆ ในทรายนั้นมีซิลิคอน (Si) อยูป่ ระมาณ 25% ซิลิคอนเป็ นธาตุที่
พบมากเป็ นอัน ดับ สองในเปลื อ กโลก ซิ ลิ ค อนนั้น เป็ นส่ ว นประกอบขั้น พื้ น ฐานที่ ส าคัญ ในการผลิ ต
Semiconductor นาซิ ลิคอนบริ สุทธิ์ มาหลอม จัดให้มีรูปร่ างเป็ นแท่งผลึกใส เรี ยกว่า อิงกัท (Ingot) จากแท่ง
ผลึกใส นามาตัดเป็ นแผ่นบาง ๆ เรี ยกว่า เวเฟอร์ (Wafer) แผ่นเวเฟอร์ จะถูกขัดให้มีผิวหน้าที่เรี ยบเป็ นมันเงา
แผ่นเวเฟอร์ 1 แผ่น สามารถผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว (ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของโปรเซสเซอร์ )
แสดงดังรู ปที่ 25

รู ปที่ 25 การเปลี่ยนทรายเป็ นแผ่นเวเฟอร์


นาแผ่นเวเฟอร์ มาสร้างชั้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งเรี ยกว่า โฟโต้ลิโธกราฟี (Photolithography)
โฟโต้ลิโธกราฟี จะทาการถ่ายทอดทรานซิ สเตอร์ และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ลงบนแผ่นเวเฟอร์ โดยเริ่ มต้นที่
การ masking คือการเขียนแบบวงจรลงบนแผ่นเวเฟอร์ เข้าสู่ กระบวนการฉายแสงผ่ านแผ่นต้นแบบ (mask)
ที่กาหนดตาแหน่งของตัวนาหรื อฉนวนไว้แล้ว โดยใช้รังสี อลั ตร้ าไวโอเล็ตฉายลงบนแผ่นเวเฟอร์ เ คลือ บ
สารไวแสงไว้ กระบวนการกัด (Etching) เพื่อกาจัดส่วนเกินที่ไม่ตอ้ งการออกไป แสดงดังรู ปที่ 26

รู ปที่ 26 การสร้างชั้นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และการกัด

กระบวนการตัดแผ่นเวเฟอร์ดว้ ยลาแสงเลเซอร์ชนิดพิเศษ จะได้ได (Die) นาไปประกอบกับตัว


ระบายความร้อน แสดงดังรู ปที่ 27

รู ปที่ 27 การตัดได และการประกอบตัวระบายความร้อน


เมื่อประกอบเสร็จเรี ยบร้อย ขั้นตอนถัดมาคือการทดสอบประสิ ทธิภาพ (Class Testing) โดยคัดแยก
ชิ้นที่เสี ย หรื อไม่ได้คุณภาพออก ในกระบวนการนี้จะบรรจุชิ้นที่ดีลงกล่องส่งขาย แสดงดังรู ปที่ 28

รู ปที่ 28 การทดสอบประสิ ทธิภาพ และการบรรจุกล่อง

สถาปัตยกรรมแบบ CISC และ RISC


CISC (Complex Instruction Set Computer)
1) การใช้ หน่ วยความจา
สถาปั ตยกรรมแบบ CISC จะมีชุดคาสั่งมากมายหลายคาสั่งที่ซับซ้อน แต่ไม่ได้หมายความว่า ทุก
ชุดคาสั่งจะมีการ FIX CODE คือ ถ้ามีการใช้ชุดคาสั่งที่มีความซับซ้อนมากก็จะใช้จานวนบิตมาก แต่ถา้ ใช้
งานชุดคาสั่งที่มีความซับซ้อนน้อยก็จะใช้จานวนบิตน้อย ในการเก็บชุดคาสั่งของ CISC นั้นจะเท่ากับจานวน
จริ งของการใช้งาน จึงประหยัดเนื้อที่ในหน่วยความจาแต่เนื่องจากการเก็บชุดของคาสัง่ นั้น เก็บเฉพาะการใช้
งานจริ ง ซึ่งจะใช้งานหน่วยความจาน้อยแล้ว จะทาให้ประสิ ทธิภาพการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ช้าลง
เพราะต้องเสี ยเวลาการถอดรหัสอันยุง่ ยากของการเข้ารหัสที่มีขนาดไม่เท่ากัน
2) ประสิ ทธิ ภาพ
2.1) เนื่องจาก CISC มีชุดของคาสั่งที่ซบั ซ้อนมากกว่า RISC และในคาสั่งพิเศษที่มีอยู่ใน CISC
(หรื อ คาสั่งยาก ๆ) เช่ น การแก้สมการในการทางานหนึ่ งคาสั่งของ CISC อาจใช้เวลา (สัญญาณนาฬิกา)
มากกว่าการนาเอาคาสั่งที่มีอยูใ่ น RISC หลาย ๆ คาสั่งมารวมกัน
2.2) ประสิ ทธิภาพอาจลดลงเนื่องจากเสี ยเวลาในการถอดรหัส เพราะชุดคาสั่งของ CISC ไม่
แน่นอน มีท้งั สั้นและยาว อีกทั้งวงจรมีความสลับซับซ้อนมาก และใช้วงรอบสัญญาณนาฬิกานาน จึงทาให้
เสี ยค่าใช้จ่ายสู ง และใช้เวลานานกว่าในการประมวลผล
3) การสนับสนุนของคอมไพเลอร์
ใน CISC มีชุดคาสั่งที่ซบั ซ้อนซึ่งติดมากับ CPU อยูแ่ ล้ว แต่เมื่อมาทาการเขียนโปรแกรมแล้วผ่านตัว
คอมไพเลอร์ หรื อ ตัวแปลจากโปรแกรมเป็ นภาษาเครื่ อง จะพบว่าคาสั่งยาก ๆ ที่มีอยูใ่ น CPU ตัวคอมไพเลอร์
กลับแปลงให้อยู่ในรู ปของคาสั่งง่าย ๆ หรื อกล่าวคือ ซอฟต์แวร์ ไม่สนับสนุนกับฮาร์ ดแวร์ ซึ่ งใน CPU หรื อ
ฮาร์ ดแวร์ น้ นั มีการรองรับการทางานของชุ ดคาสั่งนี้ แต่ตวั ซอฟต์แวร์ ไม่ได้มีการใช้คุณสมบัติจากชุ ดของ
คาสั่งที่ติดมากับตัว CPU แต่ชุดคาสั่งที่บรรจุเอาคาสั่งที่ซบั ซ้อนไว้ใน CISC นั้น จะไม่ค่อยมีประโยชน์มาก
นัก ถ้าหากว่าคอมไพเลอร์น้ นั ไม่รองรับ และยิ่งไปกว่านั้นตัวคอมไพเลอร์บางตัว ยังมีชุดคาสั่งที่ยาก ๆ อยูใ่ น
ตัวแล้ว แต่ไม่ได้นามาใช้งานใน CISC
RISC (Reduced Instruction Set Computer)
1) การใช้ หน่ วยความจา
เน้นการหลักของการนาเอาชุดคาสั่งง่าย ๆ เพียงไม่กี่คาสั่ง (โดยทัว่ ไปไม่เกิน 128 คาสั่ง เช่น บวก
ลบ คูณ หาร) มาประกอบรวมเข้าไว้ดว้ ยกัน 128 คาสัง่ มีค่าเท่ากับ 2 ยกกาลัง 6 หรื อกล่าวคือใช้งานแค่ 6 บิต
ในการเก็บค่าของชุดคาสั่งในการเก็บชุดคาสั่งจึง FIX CODE ไว้แค่ 6 เท่านั้น ซึ่งเกิดข้อเสี ย คือ ถ้าหากคาสั่ง
ที่ใช้งานใช้แค่ 1 บิต ก็ยงั คงเก็บ 6 บิต ทาให้เกิดสู ญเสี ยหน่วยความจา แต่เนื่ องจากการเก็บข้อมูลของ RISC
นี้เป็ นลักษณะ FIX CODE จึงส่งผลให้การถอดรหัสรวดเร็ว เพราะชุดคาสั่งเท่ากันทุกเรคคอร์ด
2) ประสิ ทธิ ภาพ
2.1) การท างานจะท าได้ เ ร็ วกว่ า CISC เพราะ RISC ประกอบด้ ว ยค าสั่ ง ง่ า ย ๆ เช่ น
LOAD/STORE ใช้ในการโหลดข้อมูล เก็ บไว้ใน รี จิสเตอร์ โดยตรงและให้ รีจิ ส เตอร์ ทาการประมวลผล
จากนั้นค่อยเก็บไว้ในหน่วยความจา (โดยทัว่ ไปการทางานของคอมพิวเตอร์เรี ยงลาดับความเร็ ว มีดงั ต่อไปนี้
CPU, Register, Main memory, Disk)
2.2) เนื่องจากการเข้ารหัสชุดคาสั่งเป็ นลักษณะ FIX-ENCODING จึงง่ายต่อการถอดรหัส
2.3) ในสถาปัตยกรรมแบบ RISC มีรีจิสเตอร์จานวนมากจึงทาให้การทางานโดยรวมรวดเร็ว
2.4) การใช้งานคาสั่งง่าย ๆ ของ RISC นี้ บางคาสั่งใช้เวลา (วงรอบสัญญาณนาฬิกา) ไม่ถึง 1
สัญญาณนาฬิกา จึงส่งผลให้ทางานได้รวดเร็ว
3) การสนับสนุนของคอมไพเลอร์
ใน RISC นั้นมีคาสั่งประมาณ 128 คาสั่ง แนบมากับ CPU และอนุ ญาตให้ใช้งานประเภทค าสั่ ง
LOAD/STORE ที่นาข้อมูลจากหน่วยความจาไปทากับรี จิสเตอร์โดยตรง ซึ่งทาให้การทางานโดยรวดเร็ วกว่า
จากจุดนี้เองในการใช้งานในส่ วนของคาสั่งที่ซบั ซ้อน อาจต้องใช้คาสั่งในตัวคอมไพเลอร์มาใช้งานมากกว่า
RISC เพราะ RISC เน้นหลักการทางานของชุดคาสั่งที่ง่าย ๆ แต่รวดเร็ ว ดังนั้นคาสั่งยาก ๆ จึงโยนให้เป็ น
หน้าที่ของตัวคอมไพเลอร์แทน

You might also like