You are on page 1of 6

Cyber Physical System (CPS)

By APKS Software House

บทนํา
การบริหารโรงงานอุตสาหกรรมในปจจุบันไดพัฒนาไปสูยุคใหมที่เรียกวา Industrial 4.0 หรือ Factory 4.0 ซึ่งเปน
การนําเอาเทคโนโลยีดาน Internet of Thing และระบบเครือขายเขามาใชงานในระบบสายการผลิตสินคาของโรงงาน หรือใน
Production Line ของโรงงาน โดยมีเปาหมายเพื่อการเชื่อมโยงและการแลกเปลี่ยนขอมูลของเครื่องจักรที่ใชในการผลิตเขา
กั บ ระบบคอมพิ ว เตอร แ ละระบบฐานข อ มู ล แบบ Big data โดยมี อ งค ป ระกอบหลั ก ทางด า นสถาป ต ยกรรมของระบบ
Industrial 4.0 สามารถสรุปไดยอๆ เปน 2 องคประกอบหลักไดแก (1) Cyber Physical System (CPS) และ (2) Cognitive
Computing
Cyber Physical System (CPS) เปนการเชื่อมโยงเพื่อการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครื่องจักร (Machine) อุปกรณ
ตรวจจับสัญญาณ (Sensor) และเครื่องคอมพิวเตอรระบบสวนกลาง โดยอาศัยศักยภาพของเทคโนโลยีระบบเครือขายใน
ปจจุบันทําใหไมมีขอจํากัดดานปริมาณขอมูลและระยะทาง อีกทั้งระบบคอมพิวเตอรในปจจุบันสามารถรองรับขอมูลบน
ฐานขอมูลขนาดใหญหรือเรียกวา Big Data และความสามารถในการประมวลผลขอมูลของระบบคอมพิวเตอรในปจจุบันมี
ความเร็วในการประมวลผลที่สูงมาก
Cognitive Computing (CC) เปนสวนของการประมวลผลขอมูลบนระบบคอมพิวเตอรสวนกลาง เปาหมายเพื่อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องจักร คุณภาพของสินคาสินคาในสายการผลิด รวมทั้งการนําเอาระบบปญญาประดิษฐ หรือ
Artificial Intelligent (AI) มาเปนเครื่องมือชวยในการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อชวยในการตัดสินใจ หรือ Decision
Making
การทํางานของระบบ
ระบบที่นําเสนอมีสวนประกอบดวย 2 สวนไดแก (1) อุปกรณ IoT Data Capture (2) ซอตฟแวรสําหรับจัดเก็บ
ขอมูล และประมวลผลบนคอมพิวเตอรแมขาย
(1) IoT Data Capture เปนอุปกรณที่เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก หรือ System on Chip (SoC) ที่ทํางานภายใต
ระบบปฏิบัติการ Linux ที่มีเสถียรภาพสูง มีพอรตแบบตางๆสําหรับเชื่อมตอเพื่อรับขอมูลและสัญญาณจาก
อุปกรณภายนอก
a. มีพอรตอินพุต แบบ Differential Input สําหรับรับสัญญาณแบบดิจิตอลได จํานวน 12 พอรต แตละ
พอรตสามารถรับแรงดันได 0-48 Volt
b. มีพอรตอินพุตแบบอนุกรม หรือ Serial Input Port ตามมาตรฐาน RS-485 เพื่อรับและสงขอมูลกับ
อุปกรณตางๆ รองรับความเร็วสูงสุดในการรับสงขอมูลที่ 115,200 bps จํานวน 1 พอรต รองรับการ
ทํางานในหลาย data format เพื่อความคลองตัวในการแลกเปลี่ยนขอมูลกับอุปกรณที่หลากหลาย
และสามารถตั้ ง ค า ให ทํ า งานบนโปรโตคอล Modbus RTU ทั้ ง ในแบบ Master หรื อ Slave เพื่ อ
เชื่อมตอกับอุปกรณประเภท PLC อุปกรณเครื่องมือวัดแบบตางๆ หรือ อุปกรณประเภท Controller
เปนตน
c. มีพอรตเอาตพุต แบบ Digital Output สําหรับตอเพื่อควบคุมอุปกรณภายนอก เชนการเปด/ปด
ไฟสัญญาณ เปนตน สามารถรองรับระบบไฟฟาไดทั้งแบบ 220 VAC/2 Amp และ ไฟแบบ 48 VDC
d. มีพอรต Ethernet สําหรับรับสงขอมูลผานระบบเครือขายแบบ TCP/IP มีโปรโตคอลสําหรับรับสง
ขอมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแมขายไดหลายแบบ อาทิเชน TCP Socket, RESTful API, MQTT,
Http cgi เปนตน
e. มีจอภาพแบบสัมผัสขนาด LCD แบบ TFT ขนาด 3.5” Resistive Touch Screen ความละเอียด
320x240 Pixel จํานวนสี 65,536 สี
f. รองรับกระแสไฟฟาแบบ 220-240VAC กําลังไฟ 15วัตต ทํางานที่อุณหภูมิไมเกิน 50 องศา ความชื้น
สัมผัส 20%-80%
g. กลองใสเปนโลหะชนาด 4x6x3.25 นิ้ว (ขนาดโดยประมาณ) สามารถติดตั้งบน DIN Real
(2) ซอตฟแวรสําหรับจัดเก็บขอมูล และประมวลผลบนคอมพิวเตอรแมขาย
ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ทีมีระบบปฏิบัติการแบบ Linux และมีฐานขอมูลแบบ MY-SQL
a. บันทึกขอมูลที่ไดรับจากอุปกรณ IoT Data Capture เขาสูฐานขอมูล Data Logger โดยสามารถ
บันทึกขอมูลดวยอัตราความเร็วไมนอยกวา 100 message ตอวินาที
b. สามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการสงขอมูลเขาสูระบบ Data logger จากอุปกรณ IoT Data
Capture ถาอุปกรณตัวใดตัวหนึ่งไมสงขอมูลเขามาในชวงเวลาที่กําหนด
c. ระบบสามารถกําหนดระยะเวลาในการเก็บขอมูลในฐานขอมูล Data logger และจะลบขอมูลเองเมื่อ
ถึงกําหนดเวลา
d. ขอมูล ที่ไ ด จ ะนํ า ไปประมวลผลขั้ น ต น แบบ Realtime เพื่อสรุป ข อ มู ล ลงในฐานข อ มูล สถิ ติ Data
Statistic โดยสามารถกําหนดชวงเวลาของการคํานวณขอมูลเชิงสถิติไดหลายชวงเวลา อาทิเชน ราย
นาที, รายชั่วโมง, รายคาบเวลาการทํางาน, รายวัน, เดือน
e. สามารถนํา ขอมูล สถิ ติ ออกเปน รายงานผา น Web Application ได หลายรู ป แบบ อาทิเช น Bar
charts, Stacked charts, Line charts, Area charts, Doughnut, Radar, Pie, Polar area เ ป น
ตน

แนวทางการอินเตอรเฟส IoT Data Capture กับเครื่องจักร


(1) เชื่อมอุปกรณเขากับสัญญาณ Counter ของตัวแสดงผลของเครื่องจักร เพื่อจับขอมูลการสงวัตถุดิบแตละชิ้น
(ถุง) เขาสูเครื่องจักร ขอมูลที่ไดจะนํามาคํานวณเชิงสถิติเพื่อหาอัตราการทํางานของเครื่องจักร
(2) เชื่อมอุปกรณเขากับสัญญาณโซแรน เพื่อจับขอมูลตางๆ เชน เครื่องจักรเริ่มทํางาน, เมื่อเครื่องจักรผลิดสินคาได
ครบตามขนาดแพ็ค (25ชิ้น)
(3) เชื่อมอุปกรณเขากับสัญญาณไฟสัญญาณแจงเตือน สีขาว สีเหลือง สีเขียว เพื่อทราบสถานะการทํางานของ
เครื่องจักร
(4) การสงขอมูลใหเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย จะสงขอมูลทุกครั้งที่อุปกรณไดรับสัญญาณ Counter (ประมาณ 40
ครั้งตอนาที) และทุกครั้งที่มีสัญญาณไซเรนดัง หรือไฟสัญญาณแจงเตือนมีการเปลี่ยนสถานะ
ตัวอยางหนาแสดงผลขอมูลสถิติรูปแบบตางๆ

You might also like