You are on page 1of 79

การใช้ข้อมูลและเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ของ
กองทัพอากาศ
ร.อ.ธีระวัฒน์ ใจอารีย์ :: ผู้บรรยาย
เกี่ยวกับผู้บรรยาย
การศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer science) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
หลักสูตรภายในกองทัพอากาศ
- นายทหารชั้นประทวนรุ่นที่ 67
- นายทหารชั้นผู้บังคับหมวดรุ่นที่ 74
- นายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 143
- นายทหารเทคโนโลยีสารสนเทศรุ่นที่ 1
- นายทหารการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ รุ่นที่ 3
หลักสูตรภายนอกกองทัพอากาศ
- อบรม Skill Development In Cyber Security 2020 รุ่นที่ 3 มหาวิทยาลัยมหิดล
- อบรม การสร้างเว็บไซต์ด้วย HTML5 CSS3 Javascript ระดับขั้นสูง และ React ของบริษัท Future Skill
- อบรม การพัฒนาทักษะด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ขั้นสูง รุ่นที่ 3 มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานระดับกองทัพอากาศ
- รางวัลชมเชยอันดับ 1 (อันดับ 4) การแข่งขัน Cyber Operation Contest 2020
- รางวัลชมเชย การแข่งขันประกวดผลงานด้านซอฟแวร์ของกองทัพอากาศ ประจาปี 2565
ชื่อผลงาน ระบบสถานะกาลังพล สปช.ทอ. (เข้าร่วมในนาม สปช.ทอ.)
ร.อ.ธีระวัฒน์ ใจอารีย์
หัวข้อการบรรยาย

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ คืออะไร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ คืออะไร

คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น องค์ ป ระกอบหนึ่ ง ของเทคโนโลยี


สารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นเครื่อง
ที่ ใ ช้ ค านวณอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ามารถท างานค านวณผลแล้ ว
เปรี ย บเที ย บได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และแม่ น ย า พร้ อ มกั บ มี ค าสั่ ง
ความเร็วสูงสามารถทางานได้แบบอัตโนมัติ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1940 – 1945 มีขนาด


ใหญ่ถึงกับห้องๆหนึ่งเลยทีเดียวและยังใช้
พลังงานเท่ากับคอมพิวเตอร์สมัยนี้หลายร้อย
เครื่อง เริ่มจากเครื่องมือในการคานวณเครื่อง
แรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นใน
ประเทศจีนประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ศ. 2376 ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage)


นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ สามารถ
คานวณค่าของตรีโกณมิติทางคณิตศาสตร์ การทางานแบ่งเป็น
3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม
หลักการนี้นามาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เราจึง
ยกย่องให้เป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

เอดา ออกุสตา ไบรอน (Ada Augusta Byron)


นักคณิตศาสตร์ที่สามารถเข้าใจและร่วมพัฒนาผลงานของ
แบบเบจ ในการเขียนคาสั่งเพื่อให้เครื่องเชิงวิเคราะห์นั้น
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ จึงได้รับยกย่องว่าเป็น
โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์

IPOS Cycle
ยุคของคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 1 "ยุคหลอดสุญญากาศ"
ยุคที่ 2 "ยุคทรานซิสเตอร์"

ยุคที่ 3 "ยุควงจรรวม"
ยุคที่ 4 "ยุควีแอลเอสไอ

ยุคที่ 5 "ยุคเครือข่าย"
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 ค.ศ.1951-1958 "ยุคหลอดสุญญากาศ"
ลักษณะของเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้าแรงสูง
วัสดุที่ใช้สร้าง วงจรอิเลคทรอนิคส์ และสูญญากาศ
ความเร็วในการทางาน วินาที
สื่อข้อมูล บัตรเจาะรู
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครือ่ ง (Machine Language)
ตัวอย่างเครื่อง UNIVACI, IBM650, NCR102
หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube)
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 ค.ศ.1951-1958 "ยุคหลอดสุญญากาศ"

ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) UNIVAC (Universal Automatic Computer)
ต้นแบบของคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไป คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 2 ค.ศ.1959-1964 "ยุคทรานซิสเตอร์"
ลักษณะของเครื่อง มีขนาดเล็ก มีความร้อนน้อยและราคาถูก
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ และใช้
วงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็นหน่วยความจาภายใน
ความเร็วในการทางาน Millisecond (หนึ่งในพันของวินาที)
สื่อข้อมูล บัตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็นส่วนใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ ภาษาสัญลักษณ์(Symbolic Language)
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ภาษาฟอร์แทน (Fortran)
ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ตัวอย่างเครื่อง IBM1620, IBM1401, CDC1604, Honeywell 200
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 2 ค.ศ.1959-1964 "ยุคทรานซิสเตอร์"

FORTRAN Statement
วงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 3 ค.ศ.1965-1971 "ยุควงจรรวม"
ลักษณะของเครื่อง ขนาดเล็กลงกว่าเดิม ความเร็วเพิ่มขึ้น
ใช้ความร้อนน้อย
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้ IC (Integrated Circuit) ซึ่งสามารถทางานได้
เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว จึงมีขนาดเล็ก
ความเร็วในการทางาน Microsecond (หนึ่งในล้านของวินาที)
สื่อข้อมูล บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
Integrated-Circuit : IC
ภาษาคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้ ภาษาโคบอล (COBOL) และพีแอลวัน (PL/I)
ตัวอย่างเครื่อง IBM360, CDC3300, NCR395
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 3 ค.ศ.1965-1971 "ยุควงจรรวม"

วงจรรวม Integrated-Circuit : IC Data Base Management Systems : DBMS


ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 4 ค.ศ.1971-1980 "ยุควีแอลเอสไอ"
ลักษณะของเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก หรือเรียกว่าไมโครคอมพิวเตอ
ทางานเร็ว ไม่ร้อน มีประสิทธิภาพสูง
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI : Large Scale Integrated
Circuit) และ (VLSI : Very Large Scale Integration) เป็นอุปกรณ์หลัก
ความเร็วในการทางาน Nanosecond (หนึ่งในพันล้านของวินาที)
สื่อข้อมูล เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ลดการใช้บัตรเจาะรู
ภาษาคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้ ภาษาเบสิค, ปาสคาล, ซี
Very Large Scale Integrated : VLSI
ตัวอย่างเครื่อง IBM 370, IBM 3033, CDC 7600, IBM PC
(XTและ AT), UNIVAC 9700
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 4 ค.ศ.1971-1980 "ยุควีแอลเอสไอ"
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 5 ค.ศ.1980 - ปัจจุบัน "ยุคเครือข่าย"
ลักษณะของเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก เร็ว ประสิทธิภาพสูง
วัสดุที่ใช้สร้าง ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่มาก (VLSI : Very Large
Scale Integration) มีหน่วยความจาหลักและรองที่มีขนาดใหญ่
ความเร็วในการทางาน Picosecond (หนึ่งในล้านล้านของวินาที)
สื่อข้อมูล เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
ภาษาคอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ ภาษาเชิงวัตถุ Object-Oriented เช่น C++ Java
Visual programming
ตัวอย่างเครื่อง PC desktop และ Notebook ในปัจจุบัน
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 5 ค.ศ.1980 - ปัจจุบัน "ยุคเครือข่าย"
พัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถ สูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับปัญญา
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มี
ความรู้สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามขนาด

Super Computer Mainframe Computer Mini Computer Micro Computer


ประเภทของคอมพิวเตอร์
Super Computer
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Mainframe Computer
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Mini Computer
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Micro Computer
หัวข้อการบรรยาย

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและความแตกต่างระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ

ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ


สิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมาย และการประมวลผล
ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัดข้อมูล
เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลข ภาพ เสียง หรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญ
จะต้องมีความเป็นจริง และต่อเนื่อง ซึ่งตัวอย่างของข้อมูล เช่น
คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สารสนเทศ คือ
การนาเอาข้อมูล (Data) ที่มีการเก็บรวบรวมไว้จากส่วนนาเข้า นามาจัดเรียง วิเคราะห์ แปรรูป
หรือประมวลผลใหม่ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย มีคุณค่า มีสาระและสามารถนาไปใช้งานอย่างใด
อย่างหนึ่งได้ หรืออีกความหมายหนึ่งก็คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วนั่นเอง
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network

หมายถึง การนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า


ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared
Resource) ในเครือข่าย
WAN
ครอบคลุม
ทั่วโลก
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network
MAN
ประมาณ 50 Km
LAN
ไม่เกิน 10 Km
ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2489-2501) "ยุคหลอดสุญญากาศ"
PAN
ไม่เกิน 5 m
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Internet
Intranet
Extranet
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Internet
เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็น
ตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอล
เดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet
Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถ
สื่อสารระหว่างกันได้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Intranet
ระบบเครือข่ายภายในองค์กร การเชื่อมต่อเหมือนอินเทอร์เน็ต
แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของ
ธนาคารแต่ละแห่ง ระบบเครือข่ายกองทัพอากาศทีเ่ ชื่อมหน่วยขึ้นตรง
ต่างๆ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสารซึ่งเปิดบริการ
คล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนใน
องค์กรเท่านั้น เป็นการจากัดขอบเขตการใช้งาน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Extranet
ระบบเครือข่ายแบบเอกซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะ
อนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กร หรือผู้ที่ได้รับ
สิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อ
เข้ามาผ่านเครือข่ายเอกซ์ทราเน็ต อาจถูกแบ่งเป็น
ประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิกคูค่ ้า หรือผู้สนใจ
ทั่วๆไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้า
ใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ข้อแตกต่าง
พิจารณาที่การใช้งานโดยใช้ผู้ใช้งานเป็นตัวเปรียบเทียบ
Internet เปิดโอกาสให้ใครก็ได้เข้ามาใช้งาน
Intranet เปิดโอกาสให้เฉพาะคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้น เช่น
เฉพาะพนักงานในบริษัท
Extranet เปิดโอกาสให้พนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
องค์กรนั้นใช้งานได้
หัวข้อการบรรยาย

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

แนวทางการใช้งานบัญชีของ
กองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

ระบบสารสนเทศของกองทัพอากาศ หมายถึง
ระบบสารสนเทศด้านการสนับสนุนของกองทัพอากาศ

บุคคลและหน่วยงาน หมายถึง
1. บุคคลในสังกัดกองทัพอากาศ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง นรท. ฯลฯ
2. หน่วยงานในสังกัดกองทัพอากาศ เช่น สมาคม คณะกรรมการ
3. บุคคลภายนอก ได้แก่ ข้าราชการที่เกษียณอายุ ปลดประจาการ ประชาชนทั่วไป
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

ผู้ใช้งาน หมายถึง
บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรให้ใช้บัญชีผใู้ ช้ของกองทัพอากาศ

ข้อมูลผู้ใช้งาน หมายถึง
ข้อมูลด้านกาลังพลทีม่ ีรายละเอียดอ้างอิงถึงผูใ้ ช้งานโดยมีรายละเอียดพื้นฐาน เช่น ยศ ชื่อ สกุล
ตาแหน่ง สังกัด
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

บัญชีผู้ใช้งาน (User Accouunt) หมายถึง

รายชื่อที่ประกอบด้วยข้อมูลเฉพาะเจาะจงที่
สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานในรูปแบบดิจิทัล
ประกอบด้วย ชื่อผู้ใช้งาน (Username)
รหัสผ่าน(Password) , องค์ประกอบระบุตัวตน
อื่นๆ เช่น 2FA
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

กาหนดสิทธิ์บัญชีผู้ใช้ของ ทอ. แบ่งเป็น 3 กลุ่ม


1. กลุ่ม A : ระบบที่ให้บริการสาธารณะบนอินเทอร์เน็ต ไม่ต้องมีการพิสูจน์ตัวตนในการเข้าใช้งาน
2. กลุ่ม B : ระบบกึ่งสาธารณะต้องมีการพิสูจน์ตัวตนด้วยการใช้บัญชีผู้ใช้งาน
3. กลุ่ม C : ระบบงานเฉพาะให้บริการบนอินทราเน็ต ต้องมีการพิสูจน์ตัวตน 2 ชั้น คือ
เมื่อเข้าถึงระบบ VPN และ ใช้ Multi-Factor Authentication

อ้างอิง : แนวทางการใช้งานบัญชีผู้ใช้ของ ทอ. ตามอนุมัติ ผบ.ทอ. เมื่อ 6 ก.ย. 61


การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การสร้างบัญชีผู้ใช้งานในกองทัพอากาศ
กรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศจะต้อง
กาหนดให้ผู้ใช้งานมีบัญชีผู้ใช้งานซึ่งสามารถระบุ
ตัอย่าง
ตัวตนของผู้ใช้งาน กาหนดให้ใช้ชื่อจริงของ
ผู้ใช้งานเป็นภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ชื่อซ้ากับ
ผู้ใช้งานผู้อื่น ให้ใช้ชื่อจริง ตามด้วย (_) และอักษร
teerawat_jr
นามสกุลอย่างน้อย 2 ตัว
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การสร้างรหัสผ่าน
รหัสผ่าน (Password) กาหนดให้ใช้กลุ่มอักขระที่
เรียงติดต่อกัความยาวมากกว่าหรือเท่ากับ ๘ อักขระ ตัอย่าง
และต้องมีการผสมกันด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษที่
เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลขและอักขระ
พิเศษ และมีการเปลี่ยนรหัสทุกๆ
4#L7@3k1
180 วัน ต้องไม่ใช้รหัสผ่านซึ่งเคยใช้มาแล้ว อย่าง
น้อย 5 รหัสผ่าน
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้
กาหนดให้ใช้บัญชีผู้ใช้ของกองทัพอากาศ ในการพิสูจน์ตัวตนของผู้ใช้งานก่อนเข้าสู่เครือข่ายไร้สาย
(Wireless LAN) เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) และระบบสารสนเทศของกองทัพอากาศ มีการบริหาร
จัดการบัญชีผู้ใช้ ดังนี้
๑ สิทธิ์ในการใช้งานระบบต่าง ๆ จะต้องถูกกาหนดผ่านบัญชีผู้ใช้ ตามความจาเป็น
ต่อการใช้งานเท่านั้น
๒ กาหนดจานวนครั้งที่ยอมให้ผู้ใช้งานใส่รหัสผ่านผิดพลาด ได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง
เพื่อป้องกันบุคคลอื่นที่พยายามลักลอบนาบัญชีผู้ใช้ของผู้ใช้งานคนอื่นไปใช้งาน
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การบริหารจัดการบัญชีผู้ใช้
๓. หน่วยงานผู้รับผิดชอบระบบสารสนเทศ มีหน้าที่ ตรวจสอบการอนุมัติและการกาหนดสิทธิ์ในการใช้งานระบบ
รวมทั้งจัดเก็บเป็นบันทึกรายการการกาหนดสิทธิ์ของผู้ใช้งาน จัดให้มีการบันทึกการเข้าใช้งานระบบของผู้ใช้งาน ตลอดจนการเฝ้า
ระวังการใช้งาน ไม่ให้ผู้ใช้งานละเมิดความปลอดภัย รวมทั้งสิทธิ์การใช้งานที่ได้รับอนุญาต และสิทธิ์ของผู้ใช้งานอื่น ๆ ครั้ง หรือ
เมื่อเกิดการ ทบทวนบัญชีผู้ใช้ทั้งหมดอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
เปลี่ยนแปลงสิทธิ์ของผู้ใช้งาน เช่น การลาออก และการย้ายหน่วย เป็นต้น อีกทั้งการทบทวนสิทธิ์ต้องพิจารณา
ถึงพฤติกรรมการทางานของผู้ใช้งาน รวมทั้งถ้ามีการเปลี่ยนแปลงระบบงานใหม่จะต้องมีการทบทวนสิทธิ์การใช้งาน
เพื่อป้องกันการเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับอนุญาตโดยดาเนินการปรับปรุงแก้ไขการกาหนดในการใช้งานระบบให้ตรงกับสถานภาพ
การปฏิบัติงานจริง
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การใช้งานบัญชีผู้ใช้
๑. ต้องใช้บัญชีผู้ใช้ในการพิสูจน์ตัวตนทุกครั้งก่อนเข้าใช้งานระบบ
๒. ผู้ใช้งานต้องไม่อนุญาตให้ผู้อื่นใช้บัญชีผู้ใช้ของตนเอง
๓. ต้องใช้งานรหัสผ่านอย่างปลอดภัย
๔. ต้องเก็บรหัสผ่านของตนเองให้เป็นความลับ
๕. ต้องไม่กาหนตรหัสผ่านจากวันเดือนปีเกิด จากชื่อ - นามสกุลของ
ตนเอง หรือบุคคลในครอบครัว
๖. ต้องไม่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการจารหัสผ่านส่วนบุคคล
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

พื้นที่จัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ RTAF Mail


๑. บุคคลสังกัดกองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

พื้นที่จัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ RTAF Mail


๒. บุคคลภายนอก (ให้บริการเฉพาะบางประเภท)
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

พื้นที่จัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ RTAF Mail


๓. หน่วยงาน
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

ระบบ Virtual Private Network (RTAF VPN)


ระบบ VPN เป็นระบบบริการเข้าสู่เครือข่ายอินทราเน็ตกองทัพอากาศโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ส่วนระบบพิสูจน์ตัวตนก่อนเข้าสู่เครือข่ายกองทัพอากาศ เป็นระบบบริการเข้าสู่เครือข่ายและการเชื่อมต่อ
กับอุปกรณ์ไร้สายกองทัพอากาศ ทั้งสองระบบดาเนินการโดย กรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศ
ให้บริการ
เฉพาะผู้ใช้ที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ โดยใช้ชอื่ ผู้ใช้
(Username) และรหัสผ่าน (Password) ที่ได้รับของตนเองในการพิสูจน์ตวั ตนก่อนเข้าใช้ และต้องมีระบบ
ยืนยันตัวตนหลายปัจจัย (Multi - Factor Authentication)
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

ระบบ Virtual Private Network (RTAF VPN)


แนวทางการใช้งาน
๑ ผู้ใช้ต้องระมัดระวังในการใช้งนระบบฯ เพื่อไม่ให้เกิดความ
เสียหายต่อกองทัพอากาศทาการลบข้อมูลที่จดจาบนเว็บ
เบราว์เซอร์ (Cookie) บนเครื่องคอมพิวเตอร์หลังการใช้งานทุก
ครั้ง
๒ ผู้ใช้ต้องทาการออกจากระบบ (Logout) ทุกครั้ง เพื่อป้องกัน
บุคคลอื่นลักลอบเข้าใช้งานระบบ Virtual Private Network
(VPN) และระบบพิสูจน์ตัวตนก่อนเข้าสู่เครือข่ายกองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

การรักษาความปลอดภัย
ระบบสารสนเทศและ
PDPA
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

PDPA คืออะไร
เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร
Social Network
Social Network
ข้อยกเว้นของกฎหมาย PDPA

• ข้อมูลที่ใช้เพื่อประโยชน์ของคนในครอบครัว
• การดาเนินการของเจ้าหน้าทีร่ ัฐเพือ่ รักษาความมั่นคงหรือสืบสวน
• ข้อมูลเพื่อใช้ในสภาผู้แทนราษฎร
• ข้อมูลเพื่อการพิจารณา พิพากษาคดีของศาล
• การดาเนินการข้อมูลของบริษัทบัตรเครดิต และระบบสมาชิก
• การเก็บและรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ประกอบในวิชาชีพสื่อมวลชน
ศึกษาเพิ่มเติม : พระราชบัญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
เราได้อะไรจาก PDPA
การใช้งานข้อมูลร่วมกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในกองทัพอากาศ

แนวทางการรักษาความปลอดภัย
ระบบสารสนเทศที่ควรนามา
ประยุกต์ใช้งานบัญชีผู้ ของ ทอ.
กิจกรรม
จับฉลาก หาข้อมูล OWASP TOP 10 หัวข้อตามที่ได้รับจากการจับฉลาก ทาในรูปแบบ POWER POINT พร้อม
ปริ้น powerpoint ส่งให้กับอาจารย์ผู้สอน ก่อนนาเสนอผลงาน แต่ละสัมมนา / หมู่ ให้เวลา เสนอ 5 – 7 นาที ใน
เนื้อให้ power point กาหนดหัวข้อ ดังต่อไปนี้
1. หัวข้อช่องโหว่ที่ได้รับ บอกความหมายของหัวข้อช่องโหว่
2. สาเหตุการเกิดช่องโหว่จากหัวข้อที่ได้รับการเลือก
3. วิธีแนวทางการป้องกัน การแก้ไขช่องโหว่
ถาม – ตอบ

You might also like