You are on page 1of 15

บทที่ 1

ความรู้เบือ้ งต้นเครือข่ายคอมพิ วเตอร์


(Introduction to Computer Network)

วัตถุประสงค์
 สามารถเข้าใจความหมาย และอธิบายประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 สามารถอธิบายองค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่าย
 สามารถอธิบายหน้าทีแ่ ละรูปแบบของเครือข่ายแบบเพียร์ทเู พียร์
 สามารถอธิบายหน้าทีแ่ ละรูปแบบของเครือข่ายแบบเซิรฟ์ เวอร์เบส
 สามารถอธิบายหน้าทีแ่ ละรูปแบบของเครือข่ายแบบไคลเอนต์ และเซิรฟ์ เวอร์
 สามารถเข้าใจและอธิบายโครงรูปเครือข่ายแบบต่าง ๆ
 สามารถอธิบายเครือข่ายประเภทต่าง ๆ รวมทัง้ ข้อดีและข้อเสีย
2

1.1 เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ (Computer Network)


ระบบเครือข่ายถือได้ว่าเป็ นเครือ่ งมือทางธุรกิจของบริษทั องค์กรต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน
ซึง่ ใช้เป็ นเครือ่ งมือเสริมสร้างจุดแข็งให้กบั องค์กรในการแข่งขัน และพัฒนาในการให้บริการกับลูกค้า
คูค่ า้ หรือองค์กรทีต่ ดิ ต่อด้วย ตัวอย่างเช่น ธนาคารสามารถทาการโอนเงินสดระหว่างสาขาโดยผ่าน
ระบบเครือข่าย เพือ่ ทาให้ลกู ค้าของธนาคารได้รบั ความสะดวกในการติดต่อหรือทาธุรกรรมกับธนาคาร
นอกจากนี้ลกู ค้ายังสามารถทีจ่ ะโอนหรือชาระค่าบริการต่าง ๆ ผ่านเครือ่ งเอทีเอ็ม (ATM) ซึง่ เชือ่ มโยง
ระบบเครือข่ายของธนาคารหรือต่างธนาคารได้ ทางด้านธุรกิจการให้บริการสามารถทีจ่ ะนาระบบ
เครือข่ายมาเสริมสร้างจุดแข็งของธุรกิจได้ เช่น บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ วสามารถใช้ระบบ
เครือข่ายเพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถทาการจองตั ๋วเครือ่ งบิน โรงแรมและห้องพัก ได้ในคราวเดียว นอกจากนี้
ระบบเครือข่ายยังถือได้ว่าเป็ นเครือข่ายหลักในการดาเนินธุรกรรมต่างๆ เกีย่ วกับการซือ้ ขายสินค้า
ออนไลน์ (Online) ผ่านทางอินเทอร์เน็ต กล่าวได้ว่าในปั จจุบนั เทคโนโลยีระบบเครือข่ายถูกออกแบบ
และพัฒนาอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทางด้านการศึกษาระบบเครือข่ายทาให้นกั เรียน นักศึกษา
สามารถใช้อนิ เทอร์เน็ต ณ ทีใ่ ดภายในโรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือสถานทีซ่ ง่ึ ให้บริการอินเทอร์เน็ต
โดยสามารถใช้งานได้ทงั ้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์พกพา
ในระบบเครือข่ายทีม่ กี ารนาเครือ่ งคอมพิวเตอร์มาทาการต่อเชือ่ มกันหลาย ๆ เครือ่ งเรียกว่า
เครือข่ายคอมพิวเตอร์1 อาจกล่าวได้ว่าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ทร่ี วมอุปกรณ์
เชือ่ มต่อต่างๆ ให้เชือ่ มโยงกันเพือ่ ใช้ในการติดต่อสือ่ สารและสามารถทีจ่ ะใช้ขอ้ มูลร่วมกันได้ อุปกรณ์
เชือ่ มต่อเหล่านี้ได้แก่ เครือ่ งพิมพ์ (Printer) แฟกซ์ (Fax) และโมเด็ม (Modem) เป็ นต้น
ประโยชน์ของการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์มหี ลายด้าน เช่น
- ด้านการใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resource Sharing) กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทอ่ี ยูใ่ นเครือข่าย
สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น การใช้ขอ้ มูลและฐานข้อมูลร่วมกัน การใช้โปรแกรมประยุกต์
ต่างๆ ร่วมกัน และ สามารถใช้ทรัพยากรของระบบ เช่น เครือ่ งพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive) และ
สแกนเนอร์ (Scanner) ร่วมกัน เป็ นต้น
- ด้านความน่าเชือ่ ถือ (Reliability) กล่าวคือ ในกรณีทค่ี อมพิวเตอร์เครือ่ งใดเครือ่ งหนึ่งเกิด
ปั ญหาขึน้ คอมพิวเตอร์เครือ่ งอืน่ ในเครือข่ายยังสามารถทางานทดแทนได้ หรือทาการคัดลอกข้อมูล
จากคอมพิวเตอร์ทเ่ี กิดปั ญหามาทาการสารอง (Backup)2 ระบบไว้ในเครือ่ งอืน่
- ด้านค่าใช้จ่าย (Cost) เนื่องจากในปั จจุบนั อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น ไมโครคอมพิวเตอร์ มี
ราคาถูกกว่าเครือ่ งคอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe) มาก ดังนัน้ การทางานทีใ่ ช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมภายในเครือข่ายนัน้ ผูใ้ ช้งานสามารถทีจ่ ะใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูงทาหน้าที่
เป็ นเซิรฟ์ เวอร์(Server)หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทใ่ี ห้บริการงานต่างๆ แทนเครือ่ งเมนเฟรมได้ และใช้
เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งไคลเอนต์ (Client)ทาการเชือ่ มต่อกับเซิรฟ์ เวอร์ โดยความสัมพันธ์
แบบนี้เรียกว่าความสัมพันธ์แบบไคลเอนต์และเซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server) ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายใน
การซือ้ คอมพิวเตอร์ทม่ี รี าคาแพงอย่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์เมนเฟรมได้
- ด้านการติดต่อสือ่ สาร (Communication) กล่าวคือ ผูใ้ ช้งานสามารถทีจ่ ะแลกเปลีย่ นข้อความ
หรือข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายได้ เช่น การรับส่งไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์หรืออีเมล (e-mail) นอกจากนี้
ผูใ้ ช้งานยังสามารถส่งต่อแฟ้ มข้อมูลไปยังทีต่ ่าง ๆ ทัง้ ในและนอกเครือข่ายได้

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
3

จากตัวอย่างข้างต้นพบว่าระบบเครือข่ายเข้ามามีบทบาทในด้านต่างๆ ของการติดต่อสือ่ สาร


มากขึน้ ทัง้ นี้ในโลกของการสือ่ สารปั จจุบนั ซึง่ เน้นเรือ่ งของข้อมูลข่าวสารเป็ นสาคัญนัน้ ทาให้การศึกษา
ด้านระบบเครือข่ายจึงมีความสาคัญเป็ นอย่างมาก

1.2 ตัวแบบเครือข่าย (Network Model)


คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถทาหน้าทีไ่ ด้ทงั ้ เซิรฟ์ เวอร์หรือไคลเอนต์ กรณีทค่ี อมพิวเตอร์
ทาหน้าทีเ่ ซิรฟ์ เวอร์ จะเก็บแฟ้ มทีใ่ ช้งานร่วมกัน (Shared Files) โดยมีระบบปฏิบตั กิ ารเครือข่าย
(Network Operating System: NOS) ทาหน้าทีจ่ ดั การการทางานภายในเครือข่าย ส่วนไคลเอนต์เป็ น
คอมพิวเตอร์ทร่ี อ้ งขอการใช้ทรัพยากรต่างๆของเซิรฟ์ เวอร์โดยเมือ่ ไคลเอนต์รอ้ งขอข้อมูลหรือบริการ
เซิรฟ์ เวอร์จะทาการส่งข้อมูลกลับมาตามคาขอนัน้
ตัวแบบเครือข่ายโดยทัวไปได้
่ แก่
1.2.1 ตัวแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer Model)
ตัวแบบเพียร์ทเู พียร์ (Peer-to-Peer Model) เป็ นเครือข่ายทีอ่ ปุ กรณ์หรือคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครือ่ งสามารถใช้งานทรัพยากรของอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์เครือ่ งอืน่ ในเครือข่ายได้ ลักษณะพิเศษ
ของตัวแบบนี้ คือ แต่ละอุปกรณ์สามารถเป็ นได้ทงั ้ เซิรฟ์ เวอร์และไคลเอนต์ในเวลาเดียวกัน หรือ
สามารถทางานได้ทงั ้ สองแบบ แต่ดว้ ยข้อจากัดของเครือข่ายแบบนี้คอื ผูใ้ ช้งานต้องรับผิดชอบในการ
จัดการเครือข่ายและปรับปรุงซอฟต์แวร์ (Software) ของตนเอง โดยไม่มอี ปุ กรณ์ศนู ย์กลางทีท่ าหน้าที่
เป็ นอุปกรณ์จดั การเครือข่าย ดังนัน้ ตัวแบบเพียร์ทเู พียร์นนั ้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะสามารถรองรับ
การเชือ่ มต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ดว้ ยกันได้ไม่เกิน 10 เครื่อง1 ดังรูปที่ 1.1 ซึง่ แสดงตัวแบบเครือข่าย
แบบเพียร์ทเู พียร์

รูปที่ 1.1 ตัวแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer Model)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.1

1.2.2 ตัวแบบเซิ รฟ์ เวอร์เบส (Server-Base Model)


ตัวแบบเซิรฟ์ เวอร์เบส เป็ นเครือข่ายทีเ่ ซิรฟ์ เวอร์จะทาหน้าทีใ่ นการเก็บแฟ้ มทีใ่ ช้งานร่วมกัน
(Shared Files) และมีโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เก็บและทางานอยูภ่ ายในเซิรฟ์ เวอร์ เช่น การประมวล
คา (Word Processing) ตัวแปลโปรแกรม (Compiler) โปรแกรมประยุกต์ดา้ นฐานข้อมูล (Database
Application) และระบบปฏิบตั กิ ารเครือข่าย (NOS)1 เป็ นต้น ทาให้ผใู้ ช้งานในตัวแบบเครือข่าย

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


4

ประเภทนี้สามารถเข้าใช้แฟ้ มและโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ร่วมกัน ซึง่ แฟ้ มและโปรแกรมประยุกต์ยงั


เก็บอยูไ่ ว้ทเ่ี ครื่องเซิรฟ์ เวอร์
รูปที่ 1.2 แสดงเครือข่ายทีป่ ระกอบด้วยเซิรฟ์ เวอร์ 1 เครือ่ ง และไคลเอนต์ 3 เครือ่ ง ซึง่ แต่ละ
ไคลเอนต์สามารถเข้าใช้ทรัพยากรของเซิรฟ์ เวอร์และทรัพยากรของไคลเอนต์เครือ่ งอืน่ ได้ขณะเดียวกัน
ไคลเอนต์ทเ่ี ชือ่ มต่อในเครือข่ายสามารถทาการแลกเปลีย่ นข้อมูลกันได้

Client Client

Client

Server
รูปที่ 1.2 ตัวแบบเซิ รฟ์ เวอร์เบส (Server-Base Model)
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.3

ประเภทของเซิรฟ์ เวอร์ทไ่ี ด้รบั ความนิยมในเครือข่ายแบบนี้ได้แก่


- เมลเซิรฟ์ เวอร์ (Mail Server) เป็ นเซิรฟ์ เวอร์ทท่ี าหน้าทีใ่ นการจัดเก็บข้อมูล และ อีเมลของ
ไคลเอนต์ทุกตัว โดยไคลเอนต์สามารถเข้าใช้งานเซิรฟ์ เวอร์และสามารถทีจ่ ะรับอีเมลมาทีเ่ ครือ่ งของ
ตนเองได้ นอกจากนัน้ ไคลเอนต์ยงั สามารถใช้เมลเซิรฟ์ เวอร์เพือ่ ส่งเมลออกไปยังเครือข่ายภายนอกได้
- เซิรฟ์ เวอร์เครือ่ งพิมพ์ (Printer Server) เป็ นเซิรฟ์ เวอร์ทใ่ี ห้สทิ ธิกบั ไคลเอนต์ในการส่งแฟ้ ม
ไปทีเ่ ซิรฟ์ เวอร์เพือ่ ทาการพิมพ์แฟ้ มนัน้ ออกมาโดยผ่านเครือข่าย
- คอมมิวนิเคชันเซิรฟ์ เวอร์ (Communication Server) เป็ นเซิรฟ์ เวอร์ทใ่ี ห้ไคลเอนต์สามารถ
ทาการเชือ่ มต่อกับระบบเครือข่ายอืน่ ได้ โดยเชือ่ มต่อมายังเซิรฟ์ เวอร์หลักทีต่ ดิ ตัง้ โมเด็มหรือมีการ
เชือ่ มต่อการติดต่อสือ่ สารไปยังเครือข่ายอืน่ ๆ เช่น บริษทั ทีใ่ ห้บริการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต เป็ นต้น
1.2.3 ตัวแบบไคลเอนต์ เซิ รฟ์ เวอร์ (Client /Server Model)
ในตัวแบบไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server Model) ไคลเอนต์จะส่งการร้องขอไปที่
เซิรฟ์ เวอร์ และเซิรฟ์ เวอร์จะทาการตอบสนองการร้องขอของไคลเอนต์และส่งผลลัพธ์ของการร้องขอ
กลับไป วิธกี ารใช้งานข้อมูลแบบนี้เรียกว่า ไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server) ดังรูปที่ 1.3 กล่าวคือ
เป็ นการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ ซึง่ จะมีประสิทธิภาพการทางานทีด่ กี ว่าแบบ
เครือข่ายทีท่ างานบนเซิรฟ์ เวอร์แฟ้ ม (File Server Model) เพียงอย่างเดียว

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
5

Client Client

Server
รูปที่ 1.3 ตัวแบบไคลเอนต์เซิ รฟ์ เวอร์ (Client /Server Model)
ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.3

1.3 องค์ประกอบของเครือข่าย (Network Components)


ในเครือข่ายหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยส่วนประกอบหลายอย่างทีท่ างานร่วมกันเพือ่ ให้เครือข่าย
สามารถทางานได้อย่างมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงจาเป็ นทีจ่ ะต้องทราบถึงส่วนประกอบ
พืน้ ฐานและการทางานในแต่ละส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยทัวไปส่ ่ วนประกอบ
ของเครือข่ายประกอบด้วย
1.3.1 แผ่นวงจรต่อประสานเครือข่าย (Network Interface Card: NIC) คืออุปกรณ์ท่ี
คอมพิวเตอร์ใช้เพือ่ ทาการติดต่อสือ่ สารกันภายในเครือข่ายแผ่นวงจรต่อประสานเครือข่ายเป็ นอุปกรณ์
ทีอ่ นุญาตให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายติดต่อสือ่ สารกันโดยการรับและส่งข้อมูลในเวลาเดียวกัน1
1.3.2 ตัวกลางของการส่งสัญญาณ (Transmission Media) คือตัวกลางทีใ่ ช้สาหรับส่ง
สัญญาณและเชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครือ่ งภายในเครือข่ายเดียวกันและระหว่างเครือข่ายเข้า
ด้วยกัน1 ตัวอย่างประเภทของตัวกลางของการส่งสัญญาณ ได้แก่ สายตีเกลียวคู่ (Twisted Pair
Cable) สายแกนร่วม (Coaxial Cable) และเคเบิลเส้นใยนาแสง (Fiber Optic Cable)
1.3.3 ระบบปฏิ บ ตั ิ ก ารเครือ ข่ าย (Network Operating System: NOS) คือระบบปฏิบ ัติ
การทีใ่ ช้เพื่อรองรับการทางานทางด้านระบบเครือข่าย1 ซึ่งระบบปฏิบตั กิ ารเครือข่ายนี้จะทางานบน
เครื่องเซิรฟ์ เวอร์ โดยสามารถทีจ่ ะให้บริการด้านต่าง ๆ แก่ไคลเอนต์ เช่น การกาหนดล็อกอิน (Login)
และรหัสผ่าน (Password) สาหรับระบบรักษาความมันคงของเครื
่ อข่าย การจัดการด้านงานพิมพ์ผ่าน
เครือข่าย การบริห ารจัด การเครือข่าย (Network Administration) และการใช้แ ฟ้ ม ร่ว มกัน ระหว่ า ง
คอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย

1.4. โครงรูปเครือข่าย (Network Topology)


โครงรูปเครือข่าย (Network Topology) เป็ นการอธิบายถึงเส้นทางการติดต่อสือ่ สารของ
คอมพิวเตอร์ทอ่ี ยูใ่ นเครือข่าย โดยทัวไปการออกแบบโครงรู
่ ปเครือข่ายจะพิจารณาถึงค่าใช้จ่ายและ
ความน่าเชือ่ ถือเป็ นหลัก โครงรูปเครือข่ายทีพ่ บในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่1
1.4.1 โครงรูปแบบดาว (Star Topology)
โครงรูปแบบนี้เป็ นการนาคอมพิวเตอร์ทกุ เครือ่ งทีเ่ ชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ควบคุมทีศ่ นู ย์กลาง
หรือฮับ (Hub) ดังรูปที่ 1.4 ซึง่ คอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะติดต่อสือ่ สารกันโดยคอมพิวเตอร์ตน้ ทางจะ

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


6

ส่งข้อมูลไปทีอ่ ปุ กรณ์ควบคุมทีศ่ นู ย์กลางหรือฮับ จากนัน้ อุปกรณ์ควบคุมทีศ่ นู ย์กลางหรือฮับจะทาการ


ส่งผ่านข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง ตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์เครือ่ งที1่ ต้องการส่งข้อมูลไป
คอมพิวเตอร์เครือ่ งที่ 3 คอมพิวเตอร์เครือ่ งที่ 1 จะทาการส่งข้อมูลไปทีฮ่ บั และฮับจะส่งผ่านข้อมูลไปยัง
คอมพิวเตอร์เครือ่ งที่ 3 ต่อไป

Station 1 Station 2

Hub
dig it al

Station 4 Station 3

รูปที่ 1. 4 โครงรูปแบบดาว (Star Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.4

ข้อดีของโครงรูปแบบดาว
- การติดตัง้ เครือข่ายง่ายและสะดวก
- ราคาในการติดตัง้ และดูแลรักษาค่อนข้างต่า
- ถ้าเส้นทางเชือ่ มโยงตัวใดตัวหนึ่งเสีย จะมีเพียงคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้เส้นทางทีเ่ สียเท่านัน้ ที่ได้รบั
ผลกระทบ
ข้อเสียของโครงรูปแบบดาว
- การทางานในเครือข่ายจะขึน้ อยูก่ บั อุปกรณ์ควบคุมทีศ่ นู ย์กลางหรือฮับ ถ้าอุปกรณ์ควบคุมที่
ศูนย์กลางหรือฮับเสียมีผลให้เครือข่ายไม่สามารถถูกใช้ตดิ ต่อสือ่ สารกันได้
1.4.2 โครงรูปแบบวงแหวน (Ring Topology)
บริษทั ไอบีเอ็ม (IBM) ประดิษฐ์โครงรูปแบบวงแหวนหรือเรียกว่า วงแหวนโทเค็นไอบีเอ็ม
(IBM Token Ring) โดยโครงรูปแบบวงแหวนนี้คอมพิวเตอร์ทกุ เครือ่ งจะเชือ่ มต่อกันในลักษณะ ของวง
แหวน ดังรูปที่ 1.5 การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแบบนี้เริม่ จากคอมพิวเตอร์ตน้ ทางส่งข้อมูลไปยัง
คอมพิวเตอร์เครือ่ งถัดไปทีอ่ ยู่ในวงแหวน คอมพิวเตอร์ทร่ี บั ข้อมูลเข้ามา จะทาการตรวจสอบเลขทีอ่ ยู่
(Address) ปลายทางของข้อมูลว่าตรงกับเลขทีอ่ ยูข่ องคอมพิวเตอร์ทร่ี บั เข้ามาหรือไม่ ถ้าหมายเลขทีอ่ ยู่
ปลายทางของข้อมูลไม่ตรงกับเลขทีอ่ ยูข่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือ่ งนัน้ จะทาการส่งผ่านไปยัง

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
7

คอมพิวเตอร์เครือ่ งถัดไป และจะทากระบวนการแบบนี้ซ้าๆกันทุกคอมพิวเตอร์ทอ่ี ยูใ่ นเครือข่ายแบบนี้


ถ้าหมายเลขทีอ่ ยูป่ ลายทางของข้อมูลตรงกับเลขทีอ่ ยูข่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือ่ งนัน้ จะทาการ
คัดลอกข้อมูลเก็บไว้และมีการกาหนดค่าบางอย่างให้กบั ข้อมูลต่อจากนัน้ จึงส่งผ่านข้อมูลไปยัง
คอมพิวเตอร์เครือ่ งถัดไป จนกระทังข้
่ อมูลไปถึงคอมพิวเตอร์ตน้ ทาง เมือ่ คอมพิวเตอร์ตน้ ทางรับข้อมูล
ทีผ่ า่ นการกาหนดค่าบางอย่างจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ปลายทางแล้วทาการลบข้อมูลนัน้ ออกจาก
เครือข่ายวงแหวน ในรูปที่ 1.5 แสดงทิศทางการส่งข้อมูลโดยส่งไปในทิศทางเดียว

Station 1 Station 2

Station 4 Station 3

รูปที่ 1. 5 โครงรูปแบบวงแหวน (Ring Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.5

ข้อดีของโครงรูปแบบวงแหวน
- การติดตัง้ สะดวก
- ราคาในการติดตัง้ ค่อนข้างต่า
- สามารถประยุกต์ใช้ได้กบั สือ่ ประเภทเคเบิลเส้นใยนาแสง
ข้อเสียของโครงรูปแบบวงแหวน
- เส้นทางการเชือ่ มต่อหรือคอมพิวเตอร์เครือ่ งใดเครือ่ งหนึ่งในวงแหวนเสีย เครือข่ายจะไม่
สามารถติดต่อกันได้
- โครงรูปแบบนี้มคี วามต้องการอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ทีซ่ บั ซ้อน เช่น แผ่นวงจรต่อ
ประสานแบบเครือข่ายวงแหวน ซึง่ มีราคาค่อนข้างแพง
- การเพิม่ ไคลเอนต์เข้าไปใหม่ในเครือข่ายแบบนี้จะกระทบต่อการเชือ่ มต่อของคอมพิวเตอร์
ในเครือข่าย
1.4.3 โครงรูปแบบบัส (Bus Topology)
โครงรูปแบบบัสเมือ่ นามาใช้งานกับเครือข่ายจะมีลกั ษณะของการเชือ่ มต่อเป็ นแบบมัลติพอยต์
(Multipoint) กล่าวคือคอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะเชือ่ มต่อกับสายเคเบิลเส้นเดียวกันทีเ่ รียกว่าบัส (Bus)
โครงรูปแบบบัส เชือ่ มต่อกันดังรูปที1่ .6 โครงรูปแบบบัสนัน้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทงั ้ หมดจะมีสอ่ื ทีใ่ ช้งาน

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


8

ร่วมกัน ในเครือข่ายแบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) ถือได้ว่าเป็ นข่ายงานบริเวณเฉพาะทีห่ รือแลน (LAN)


แบบหนึ่งทีไ่ ด้รบั ความนิยม โดยสามารถใช้โครงรูปแบบบัสทาการเชือ่ มต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ทอ่ี ยู่
ภายในเครือข่ายอีเทอร์เน็ตได้

Station 1 Station 2

Station 3 Station 4

รูปที่ 1.6 โครงรูปแบบบัส (Bus Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.6

ข้อดีของโครงรูปแบบบัส
- การติดตัง้ สะดวก
- ราคาการติดตัง้ ค่อนข้างต่า
- สามารถทีจ่ ะทาการขยายเครือข่ายได้งา่ ย
ข้อเสียของโครงรูปแบบบัส คือ
- ถ้าสายเคเบิลแบบบัส (Bus Cable) เสีย จะทาให้ทงั ้ เครือข่ายไม่สามารถใช้งานได้
1.4.4 โครงรูปแบบตาข่าย (Mesh Topology)
โครงรูปแบบตาข่าย เป็ นรูปแบบของการเชือ่ มต่อทีค่ อมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะเชือ่ มต่อ
โดยตรงเข้ากับคอมพิวเตอร์ทุกเครือ่ งในเครือข่าย ดังรูปที่ 1.7

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
9

Station 1 Station 2

Station 3 Station 4

รูปที่ 1.7 โครงรูปแบบตาข่าย (Mesh Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.6

ข้อดีของโครงรูปแบบตาข่าย
- คอมพิวเตอร์แต่ละเครือ่ งจะเชือ่ มต่อกับคอมพิวเตอร์เครือ่ งอืน่ ๆ โดยตรง โครงรูปลักษณะนี้
จึงทาให้เกิดความน่าเชือ่ ถือและความปลอดภัยทีส่ งู มาก ถ้าช่องทางการสือ่ สารตัวหนึ่งเสีย เครือข่ายยัง
สามารถทางานต่อได้
ข้อเสียของโครงรูปแบบตาข่าย
- ถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะมีผลให้ตอ้ งใช้สายเคเบิลและอุปกรณ์ เพิม่ ขึน้ ด้วย ตัวอย่าง
เช่น เครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ 100 เครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะต้องการเส้นทางการ
เชื่อ มต่ อ ถึง 99 เส้น ทาง ดังนั น้ จ านวนของเส้น ทางการเชื่อ มต่ อ สามารถที่จ ะค านวณได้จ ากสูต ร
N(N-1)/2 โดยที N คือ จ านวนคอมพิว เตอร์ ท่ีเชื่อ มต่ อ ภายในเครือ ข่า ย และโครงรูป ประเภทนี้ ม ี
ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงทัง้ การติดตัง้ และดูแลรักษาเมือ่ เทียบกับโครงรูปแบบต่าง ๆ
1.4.5 โครงรูปแบบต้นไม้ (Tree Topology)
โดยทัวไปโครงรู
่ ปแบบต้นไม้ เมือ่ นามาใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะใช้อปุ กรณ์ทเ่ี รียกว่า
แอกทีฟฮับ (Active Hub) หรือ เครือ่ งทวนสัญญาณ (Repeater) เพือ่ ทาการเชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ใน
เครือข่าย กล่าวได้ว่าฮับเป็ นส่วนประกอบหนึ่งทีส่ าคัญของเครือข่ายแบบนี้ เพราะฮับจะเชือ่ มต่อกับ
คอมพิวเตอร์ทุกเครือ่ งทีอ่ ยูใ่ นเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทัวไปหน้
่ าทีก่ ารทางานของฮับจะทาการรับ
ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครือ่ งหนึ่งและทาการสร้างข้อมูลนัน้ ซ้าและจัดส่งไปยังคอมพิวเตอร์หรือฮับตัว
อืน่ ในเครือข่าย ดังรูปที่ 1.8

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


10

7x 8x 9x 10x 11x 12x 7x 8x 9x 10x 11x 12x

Ethernet
C
7 8 9101112

Station 1 Station 2
A 12 34 56 1x 2x 3x 4x 5x 6x 1x 2x 3x 4x 5x 6x
A B

Active Hub

7x 8x 9x 10x 11x 12x 7x 8x 9x 10x 11x 12x

Ethernet
C
7 8 9101112

A 12 34 56 1x 2x 3x 4x 5x 6x 1x 2x 3x 4x 5x 6x
A B

Hub
Station 3 Station 4 Station 5

รูปที่ 1. 8 โครงรูปแบบต้นไม้ (Tree Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.7

ข้อดีของโครงรูปแบบต้นไม้
- เมือ่ ฮับเสีย คอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือ่ มต่อกับฮับทีเ่ สียเท่านัน้ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ ส่วนคอมพิวเตอร์
เครือ่ งอืน่ ๆ สามารถทางานได้ตามปกติ ฮับทีใ่ ช้อยูใ่ นปั จจุบนั มีหลายชนิดซึง่ สามารถจาแนก ได้ดงั นี้
 ฮับแบบมีการจัดการ (Manageable Hub) คือฮับทีส่ ามารถจัดการการทางานแต่
ละพอร์ต (Port) บนฮับได้ ซึง่ สามารถกาหนดการทางานโดยผูด้ แู ลเครือข่ายผ่านทางซอฟต์แวร์
 สแตนอโลนฮับ (Stand-AloneHub)คือฮับทีใ่ ช้สาหรับกลุ่มร่วมงาน (Workgroup)
ของคอมพิวเตอร์ ซึง่ แยกจากเครือข่ายทีไ่ ม่สามารถต่อเชือ่ มกับเครือข่ายอืน่
 มอดุลาร์ฮบั (Modular Hub) คือมอดูลทีม่ อี ยูใ่ นฮับ หรือการ์ดเคจ (Card Cage)
เป็ นการเพิม่ จานวนของพอร์ตโดยสามารถใส่โมดูลเพิม่ หรืออาจเรียกว่าเป็ นการเพิม่ การ์ดพิเศษ (Extra
card) ให้กบั ฮับ
 สแตกฮับ (Stack Hub) คือฮับทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับสแตนอโลนฮับ แต่สามารถ
นาฮับมาต่อกันเป็ นสแตกเพือ่ เพิม่ จานวนพอร์ตของเครือข่ายได้
1.4.6 โครงรูปแบบลูกผสม (Hybrid Topology)
โครงรูปแบบลูกผสมประกอบด้วยโครงรูปลักษณะต่าง ๆ นามาเชือ่ มต่อกันโดยใช้สายเคเบิล
แกนหลัก (Backbone Cable) ดังรูปที่ 1.9 แต่ละเครือข่ายเชือ่ มต่อกับสายเคเบิลแกนหลัก โดยมี
อุปกรณ์ทใ่ี ช้เชือ่ มต่อระหว่างเครือข่ายคือบริดจ์ (Bridge)

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
11

Bridge
Backbone
Bridge Bridge

7x 8x 9x 10x 11x 12x 7x 8x 9x 10x


Hub
11x 12x

Ethernet
C
7 8 9 101112

A 12 34 56 1x 2x 3x 4x 5x 6x 1x 2x 3x 4x 5x 6x
A B

Ring 7x 8x 9x 10x 11x 12x 7x 8x 9x 10x


Hub
11x 12x

Ethernet
C
7 8 9 101112

A 12 34 56 1x 2x 3x 4x 5x 6x 1x 2x 3x 4x 5x 6x
A B

รูปที่ 1.9 โครงรูปแบบผสม (Hybrid Topology)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.8

1.5. ประเภทของเครือข่าย (Type of Network)


เครือข่ายทีใ่ ช้งานในปั จจุบนั มีหลายประเภท โดยทัวไปสามารถแบ่
่ งประเภทของเครือข่ายได้
จากระยะทางของคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ในการเชือ่ มต่อกันภายในเครือข่าย ได้แก่ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่
(LAN) หรือแลน ข่ายงานบริเวณนครหลวง (MAN) หรือแมน และ ข่ายงานบริเวณกว้าง (WAN) หรือ
แวนและอินเทอร์เน็ต
1.5.1 ข่ายงานบริ เวณเฉพาะที่ หรือแลน (Local Area Network: LAN)
ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ หรือแลน(LAN) เป็ นเครือข่ายความเร็วสูง ทีม่ อี ตั ราการส่งข้อมูล
10,100,1000 เมกะบิตต่อวินาที เครือข่ายประเภทนี้ถกู ออกแบบมาเพือ่ เชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์และระบบ
การสือ่ สารข้อมูลภายในพืน้ ทีข่ นาดไม่กว้างมาก เช่น สานักงาน หรืออาคารเดียวกัน การใช้งานนัน้
สามารถใช้เครือข่ายแลนหลายๆเครือข่ายเชือ่ มต่อเข้าหากันภายในอาคารหรือภายในบริเวณสถานที่
ต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัย โรงเรียน ศูนย์การค้า เพือ่ ขยายการเชือ่ มต่อเครือข่ายแลนให้สามารถใช้ใน
บริเวณกว้างขึน้ ต้องอาศัยอุปกรณ์ในการขยายเครือข่ายร่วมด้วย เช่น สวิตช์ (Switch) หรือ เครือ่ งทวน
สัญญาณเครือข่ายส่วนตัวได้ ประเภทของแลนทีไ่ ด้รบั ความนิยมในการนามาใช้งานคือ อีเทอร์เน็ต
(Ethernet) และ กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) เป็ นต้น
1.5.2 ข่ายงานบริ เวณนครหลวง (Metropolitan Area Network: MAN)
ข่ายงานบริเวณนครหลวงหรือแมน (MAN) เป็ นเครือข่ายครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ห้บริการประมาณ
160 กิโลเมตร เครือข่ายแบบนี้ทาการเชือ่ มโยงเข้ากับเครือข่ายต่างๆ ทีอ่ ยูภ่ ายในเมืองเข้าด้วยกัน

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


12

โดยทัวไปผู
่ ใ้ ห้บริการเครือข่ายแบบนี้จะเป็ นเจ้าของเครือข่ายในการติดต่อสือ่ สารภายในเมืองอยูแ่ ล้ว
เช่น บริษทั ทีไ่ ด้รบั สัมปทานโทรศัพท์พน้ื ฐานในนครหลวง การแพร่ขอ้ มูลภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี การ
ส่งข้อมูลด้วยสัญญาณคลื่นวิทยุ3 หรือ ไวแมกซ์ (Wi-MAX) เป็ นต้น รูปที่ 1.10 แสดงข่ายงานบริเวณ
นครหลวง

Metropolitan

รูปที่ 1.10 ข่ายงานบริ เวณนครหลวง (MAN)


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.9

1.5.3 ข่ายงานบริ เวณกว้าง (Wide Area Network: WAN)


ข่ายงานบริเวณกว้าง หรือแวน (WAN) เป็ นเครือข่ายสาหรับการส่งข้อมูลและสารสนเทศใน
ระยะไกล แวนครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้างกว่าแมนมาก กล่าวคือครอบคลุมในระดับประเทศ หรือทวีป
ประเภทของสือ่ ทีใ่ ช้ในแวน จะใช้เคเบิลเส้นใยนาแสง สายโทรศัพท์ สวิตช์ (Switch) เครือข่ายข้อมูล
สาธารณะ (Public Switched Data Networks: PSDN) และดาวเทียมสาหรับการติดต่อสือ่ สารข้อมูล
โดยแวนส่วนใหญ่จะมีโครงรูปแบบตาข่าย ซึง่ เชือ่ มต่อเป็ นรูปเรขาคณิตทีไ่ ม่แน่นอน 4 และ
การส่งข้อมูลแบบแวนนี้มอี ตั ราการส่งข้อมูลต่า เพราะถูกจากัดในเรือ่ งของความสามารถในการ
ส่งข้อมูล และอัตราความผิดพลาดในการส่งข้อมูลสูง3
1.5.4 อิ นเทอร์เน็ ต (Internet)
อินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็ นเครือข่ายทีค่ รอบคลุมพืน้ ทีท่ วโลกและเป็
ั่ นการเชือ่ มต่อระหว่าง
อุปกรณ์ทเ่ี รียกว่า เกตเวย์ (Gateway) เข้าด้วยกัน ดังรูปที่ 1.11 แต่ละเกตเวย์มตี ารางเส้นทางทีเ่ ก็บ
ข้อมูลเกีย่ วกับเครือข่ายเพือ่ ใช้เชือ่ มต่อเกตเวย์อน่ื ๆ เกตเวย์สามารถเชือ่ มต่อได้หลายเครือข่าย ดังนัน้
เกตเวย์จงึ มีหน้าทีใ่ นการรับข้อมูลจากเครือข่าย แล้วนาข้อมูลมาตรวจสอบกับตารางเส้นทางทีเ่ ก็บอยูใ่ น
เกตเวย์นนั ้ ถ้าปลายทางของข้อมูลอยู่ภายในเครือข่ายทีเ่ กตเวย์รบั ผิดชอบ จะทาการเชือ่ มต่อเส้นทาง
ต้นทางกับปลายทาง แต่ถา้ ปลายทางไม่อยูใ่ นความรับผิดชอบของเกตเวย์ จะส่งข้อมูลไปยังเครือข่าย
ของเกตเวย์ถดั ไป ซึง่ จะทางานในลักษณะแบบนี้ไปเรือ่ ย ๆ จนถึงปลายทาง

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
13

G G
G

G G
G : Gateway G

รูปที่ 1.11 การเชื่อมต่อของเกตเวย์ในอิ นเทอร์เน็ ต


ที่ มา: ดัดแปลงจาก Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson
Learning, 2001), p.10

สรุป
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นเครือข่ายทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานของอินเทอร์เน็ต ซึง่ มีรปู แบบของ
เครือข่ายประเภทต่าง ๆ และโครงรูปสาหรับออกแบบเครือข่าย โดยแต่ละเครือข่ายอาจใช้โครงรูปทีม่ ี
รูปแบบแตกต่างกันทางานร่วมกัน และประเภทของเครือข่ายสามารถแบ่งได้ตามระยะทางหรือขอบเขต
ของการให้บริการได้เป็ นเครือข่าย แลน แมน แวน และอินเทอร์เน็ต ซึง่ ยังใช้อยูใ่ นปั จจุบนั

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์


14

แบบฝึ กหัด
1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คืออะไร
2. ยกตัวอย่าง โปรแกรมประยุกต์ (Application) ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. อธิบายเครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ (Client/Server)
4. จงบอกถึงส่วนประกอบของเครือข่ายได้แก่ แผ่นวงจรต่อประสานเครือข่าย (Network Interface
Card: NIC) ระบบปฏิบตั กิ ารเครือข่าย (Network Operation System : NOS) และตัวกลางส่ง
สัญญาณ (Transmission Media)
5. อธิบายโครงรูปแบบดาว (Star Topology) แบบวงแหวน (Ring Topology) แบบบัส (Bus
Topology) แบบตาข่าย (Mesh Topology) แบบต้นไม้ (Tree Topology) และแบบผสม
(Hybrid Topology)
6. อธิบายประเภทของเครือข่าย แลน (LAN) แมน (MAN) แวน (WAN) และ อินเทอร์เน็ต (Internet)

ผศ.เจษฎา แก้ววิทย์
15

อ้างอิง
1
Elahi, Ata, Network Communications Technology, (Singapore: Thomson Learning,
2001),p.1-10.
2
พิพฒ ั ย์วณิชชากร, ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์, (กรุงเทพฯ:
ั น์ หิรณ
ซีเอ็ดยูเคชัน,่ 2542), หน้า 31.
3
เรือ่ งเดียวกัน, หน้า 41.
4
วาทิต เบญจพลกุล. การสื่อสารข้อมูล. (กรุงเทพฯ: SOPHIA PUBLIAHING, 2541), หน้า 8.

ผศ.เจษฎา แก้ ววิทย์

You might also like