You are on page 1of 52

TCP/IP

Tranmission Control Protocol


/Internet Protocol
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ TCP/IP
TCP/IP ย่อมาจาก Tranmission Control Protocol / Internet Protocol

โปรโตคอล TCP/IP เป็ นชุดของโปรโตคอลทีม่ ีการพัฒนามาตั้งแต่ ปี 1960 โดยมี


วัตถุประสงค์ ให้ สามารถสื่ อสารจากต้ นทางข้ ามเน็ตเวิร์คไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้ นทางที่
จะส่ งข้ อมูลไปได้ เองโดยอัติโนมัติ ถึงแม้ ว่าในระหว่ างทางอาจผ่ านเน็ตเวิร์คทีม่ ีปัญหา โปรโตคอลก็ยงั
คงหาเส้ นทางส่ งผ่ านข้ อมูลไปให้ ถงึ ปลายทางจนได้ ในระยะเริ่มต้ นโปรโตคอลนีใ้ ช้ กนั ในวงการแคบๆ
เฉพาะราชการและสถานศึกษาของอเมริกา จนในช่ วงปี 90 จึงมีการนำมาใช้ ในทางธุรกิจ และเป็ นจุด
เริ่มต้ นของอินเตอร์ เน็ตในปัจจุบัน
การแบ่ งชั้น (Layering)
• TCP/IP เป็ นชุดของโปรโตคอลทีป่ ระกอบไปด้ วยโปรโตคอลย่ อยหลายตัว
แต่ ละตัวจะทำหน้ าทีใ่ นแต่ ละชั้นหรือเลเยอร์ (layer) ซึ่งรับผิดชอบและแปล
ความหมายของข้ อมูลในแต่ ละระดับของการสื่ อสาร
• ในภาพรวม TCP/IP แบ่ งออกเป็ น 4 เลเยอร์ ดังนี้

Application
Transport
Network
Link
หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละเลเยอร์
1. Link Layer ในเลเยอร์ นีจ้ ะเป็ นดีไวซ์ ไดรเวอร์ ทที่ ำงานอยู่บนระบบปฏิบัติการแต่ ละ
ระบบทำหน้ าทีร่ ับผิดชอบในการรับส่ งข้ อมูลตั้งแต่ ระดับกายภาพ สั ญญาณไฟฟ้ า จนถึงการแปลความ
จากระดับสั ญญาณไฟฟ้าจนเป็ นข้ อมูลทางคอมพิวเตอร์ โปรโตคอลระดับนี้ เช่ น Ethernet และ SLIP
(Serial Line Internet Protocol)
2. Network Layer รับผิดชอบในการรับ ส่ ง ข้ อมูลเน็ตเวิร์ค ส่ งต่ อข้ อมูลไปจนถีงจุดหมาย
ปลายทาง โปรโตคอลระดับนี้ ได้ แก่ IP ICMP IGMP
3. Transport Layer รับผิดชอบในการรับส่ งข้ อมูลระหว่ างเครื่องหนึ่ง(Host)ไปยังอีกโฮสท์
หนึ่ง และจะส่ งข้ อมูลขึน้ ไปให้ Application Layer นำไปใช้ งานต่ อ มีโปรโตคอลทีจ่ ัดอยู่ในเลเยอร์ นีค้ อื
TCP และ UDP ซึ่งมีลกั ษณะในการรับส่ งข้ อมูลทีแ่ ตกต่ างกันออกไป
4. Application Layer เป็ นเลเยอร์ ทเี่ ป็ นแอพลิเคชั่นเรียกใช้ โปรโตคอลระดับล่ างๆลงไป เพือ่
วัตถุประสงค์ แตกต่ างกัน
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบแต่ ละเลเยอร์ (ต่ อ)
SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ใช้รับส่ งจดหมายอิเลคโทรนิคส์
ระหว่างโฮสต์
Telnet ใช้สำหรับการควบคุมเครื่ องระยะไกล
HTTP (Hypertext Transfer Protocol) เป็ นโปรโตคอลที่ใช้รับส่ งข้อมูล
เว็ฟเพจระหว่างบราวเซอร์กบั เว็ฟ
เซิร์ฟเวอร์
POP (Post Office Protocol) ใช้สำหรับดาวน์โหลดอีเมล์จาก
เมล์ เซิร์ฟเวอร์มาไว้ที่เครื่ องเมล์
ไคลเอนด์ (PC) ของผูใ้ ช้
IP : Internet Protocol
IP เป็ นโปรโตคอลที่ท ำหน้าที่รับภาระในการนำข้อมูลไปส่ งยังจุด
หมายปลายทางไม่วา่ ที่ใดๆในอินเตอร์เน็ต โปรโตคอลต่างๆใน TCP/IP Suit ทั้ง
TCP ,UDP, ICMP ต่างก็อาศัยระบบนี้ ท้ งั สิ้ น เนื่องจากตัวโปรโตคอล IP นี้มี
กลไกที่ค่อนข้างฉลาดในการหาเส้นทาง ขนส่ งข้อมูล รู้จกั ที่จะซอกแซกหาช่อง
ทางไปยังจุดหมายทุกทางที่เป็ นไปได้ โปรโตคอลอื่นที่อยูเ่ ลเยอร์สูงขึ้นไปเลย
ไม่ตอ้ งรับภาระปวดหัวในการหาวิธีส่งข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางอีก ขอแค่
เพียงเตรี ยมข้อมูลให้เสร็ จสรรพแล้วส่ งให้ IP ก็นอนใจได้วา่ IP จะพยายามอย่าง
สุ ดความสามารถที่จะหาทางไปให้ถึงจุดหมายให้จงได้
ถึงแม้ ว่า IP จะเป็ นโปรโตคอลทีเ่ ชี่ยวชาญในการขนส่ งข้ อมูลไปได้ ไกลๆ แต่ กม็ จี ุดด้ อยคือ
IP เป็ นโปรโตคอลที่ Unreliable และ connectionless (เปรียบเสมือนเป็ นระบบขนส่ งที่
ชำนาญรวดเร็วแต่ ไม่ รับประกันว่ าข้ อมูลจะถึงปลายทางหรือไม่ ) การที่ IP มีข้อด้ อย 2
ประการนี้ ดังนั้น โปรโตคอลเลเยอร์ อนื่ ทีใ่ ช้ IP เป็ นตัวส่ งข้ อมูลทีจ่ ำเป็ นต้ องหาหนทางใน
การลดข้ อด้ อยเหล่ านีล้ งไป เพือ่ ให้ การรับส่ งข้ อมูลมีเสถียรภาพและเชื่อถือได้ ซึ่งก็คอื จะ
ต้ องมีกลไกในการรับประกันการรับส่ งข้ อมูลอีกชั้นนั่นเอง การส่ งข้ อมูลด้ วย IP เปรียบ
เสมือนการส่ งจดหมาย ทัว่ ไปทีเ่ ราจ่ าหน้ าซองเรียบร้ อย ติดแสตมป์ แล้ วนำไปหย่ อนลงตู้
ไปรษณีย์ โดยส่ วนใหญ่ แล้ วบุรุษไปรษณีย์นีก้ จ็ ะทำหน้ าทีอ่ ย่ างสม่ำเสมอคือ นำจดหมาย
ไปทีบ่ ้ านเลขทีต่ ามจ่ าหน้ าซอง แล้ วก็หย่ อนลงไปในตู้รับจดหมายของผู้รับซึ่งจะเห็นว่ า
ด้ วยการทำงานปกติจดหมายน่ าจะถึงปลายทางเสมอ แต่ โอกาสทีจ่ ะเกิดอุปสรรคทำให้
จดหมายไม่ ถงึ ปลายทางก็เป็ นไปได้
หมายเลข IP หรือบางทีเรียกว่ าแอดเดรส IP นั้นถูกจัดเป็ นตัวเลขชุดหนึ่ง
ขนาด 32 บิตใน 1 ชุดจะมีตวั เลขถูกแบ่ งออกเป็ น 4 ส่ วน ส่ วนละ 8 บิตเท่ าๆกัน เวลา
เขียนก็แปลงให้ เป็ นเลขฐานสิ บก่ อนเพือ่ ความง่ ายแล้ วเขียนโดยคัน่ แต่ ละชุดด้ วยจุดดัง
นั้นในตัวเลขแต่ ละส่ วนนีจ้ ึงมีค่าได้ ต้งั แต่ 0 จนถึง 28-1 =255 เท่ านั้นเช่ น192.10.1.101
เป็ นต้ น ตัวเลข IP Address ชุดนีจ้ ะเป็ นสิ่ งทีส่ ำคัญคล้ ายเบอร์ โทรศัพท์ ทเี่ รามีใช้ อยู่และ
ไม่ ซ้ำกัน เพราะสามารถกำหนดให้ เป็ นตัวเลขรวมได้ ท้งั สิ้นกว่ า 4 พันล้ านเลขหมาย แต่
การกำหนดให้ คอมพิวเตอร์ มเี ลขหมาย IP Address นีไ้ ม่ ได้ เริ่มต้ นจาก 1 และนับขึน้ ไป
เรื่อยๆหากแต่ จะมีการแบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ส่ วนแรกเป็ นหมายเลขของเครือข่ าย
(Network Number) ส่ วนทีส่ องเรียกว่ า หมายเลขของคอมพิวเตอร์ ทอี่ ยู่ในเครือข่ าย
นั้น(Host Number) เพราะเครือข่ ายใดๆอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่ ออยู่ได้
มากมาย ในเครือข่ ายทีอ่ ยู่คนละระบบอาจมีหมายเลขโฮสต์ ซ้ำกันก็ได้ แต่ เมือ่ รวมกับ
หมายเลข Network แล้ วจะได้ เป็ น IP Address ทีไ่ ม่ ซ้ำกันเลย
การแบ่ งคลาส (Class) ของ IP Address
• มีการแบ่งจากคลาส A ถึงคลาส E เพื่อจะได้ท ำการจัดสรร IP Addres ได้
อย่างเหมาะสมกับขนาดของเน็ตเวิร์ก
7 bits 24 bits
Class A 0 netid hostid
14 bits 16 bits
Class B 10 netid hostid
21 bits 8 bits
Class C 110 netid hostid
28 bits
Class D 1110 Multicast group id
28 bits
Class E 1111 Reserved for future use
โครงสร้างของแอดเดรสที่ใช้ใน CLASS ต่างๆของเครื อข่ายซึ่ ง
ทั้งหมดยาว 32 บิต
มีการจัดคลาสแบ่ งออกเป็ น 5 ระดับ แต่ ทใี่ ช้ งานทัว่ ไปจะมีเพียง 3 ระดับ คือ Class A
Class B ,Class C ซึ่งก็แบ่ งตามขนาดความใหญ่ ของเครือข่ ายนั่นเอง ถ้ าเครือข่ ายใดมีจำนวนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่ ออยู่มาก ก็จะมีหมายเลขอยู่ใน Class A ถ้ ามีจำนวนเครื่องต่ อลดหลัน่ กันลงมาก็
จะอยู่ใน Class b และ Class C ตามลำดับ หมายเลข IP ของ Class A มีตัวเลขเป็ น 0 และหมายเลข
ของเครือข่ าย (Network Number) ขนาด 7บิต และ มีหมายเลขของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Host
Number) ขนาด 24 บิต ทำให้ ในหนึ่งเครือข่ ายของ Class A สามารถเชื่อมต่ ออยู่ในเครือข่ ายได้ ถงึ
224= 16 ล้ านเครื่อง เหมาะสำหรับองค์ กร หรือบริษทั ยักษ์ ใหญ่ แต่ ใน Class A นีจ้ ะมีหมายเลข เครือ
ข่ ายได้ 128 ตัว เท่ านั้นทัว่ โลก ซึ่งหมายความว่ าจะมีเครือข่ ายยักษ์ ใหญ่ แบบนีไ้ ด้ เพียง 128 เครือข่ าย
เท่ านั้น สำหรับ Class B จะมีหมายเลขเครือข่ ายแบบ 14 บิต และหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบ
16 บิต(ส่ วนอีก 2 บิตทีเ่ หลือบังคับว่ าต้ องขึน้ ต้ นด้ วย 102) ดังนั้นจึงสามารถมีจำนวนเครือข่ ายทีอ่ ยู่
ใน Class B ได้ มากกว่ า Class A คือมีได้ ถงึ 214 = 16000 เครือข่ าย
และก็สามารถมีเครื่ องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันในเครื อข่าย Class B แต่ละเครื อข่ายได้
ถึง 216 หรื อ มากกว่า 65000 เครื่ อง สุ ดท้าย คือ Class C ซึ่งมีหมายเลขเครื่ อง
คอมพิวเตอร์แบบ 8 บิต และมีหมายเลขเครื อข่ายแบบ 21 บิต ส่ วนสามบิตแรกบังคับว่า
ต้องเป็ น 1102 ดังนั้นใน แต่ละเครื อข่าย Class C จะมีจ ำนวนเครื่ องต่อเชื่อมได้เพียงไม่
เกิน 254 เครื่ องในแต่ละเครื อข่าย(28= 256 เครื อข่าย แต่หมายเลข 0 และ 255 จะไม่ถูก
ใช้งาน จึงเหลือเพียง 254) ดังนั้น วิธีการสังเกตได้ง่ายๆ ว่าเราเชื่อมต่ออยูท่ ี่เครื อข่าย
Class ใดก็สามารถดูได้จาก IP Address ในส่ วนหน้า( ส่ วน Network)โดย

Class A จะมี Network address ตั้งแต่ 0 ถึง 127 (บิตแรกเป็ น 0 เสมอ)


Class B จะมี Network address ตั้งแต่ 128 ถึง 191 (เพราะขึ้นต้น
ด้วย102เท่านั้น)
Class C จะมี Network address ตั้งแต่ 192 ถึง 223(เพราะขึ้นต้น
ด้วย1102เท่านั้น)
ช่ วงของ IP Address แต่ ละคลาส

Class Range
A 0.0.0.0 – 127.255.255.255
B 128.0.0.0 – 191.255.255.255
C 192.0.0.0 – 223.255.255.255
D 224.0.0.0 – 239.255.255.255
E 240.0.0.0 – 255.255.255.255
เช่น ถ้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ในอินเตอร์เน็ตมีหมายเลข IP ดังนี้ 181.11.82.22
ตัวเลข 181.11 แสดงว่าเป็ นเครื อข่ายใน Class B ซึ่ งหมายเลขเครื อข่ายเต็มๆ
จะใช้ 2 ส่ วนแรกคือ 181.11 และมีหมายเลขคอมพิวเตอร์คือ 82.22 หรื อถ้ามี
IP Address เป็ น 192.131.10.101 ทำให้ทราบว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์น้ นั เชื่อม
ต่ออยูใ่ น Class C มีหมายเลขเครื อข่าย 3 ส่ วนแรก คือ 192.131.10 และ
หมายเลขประจำเครื่ องคือ 101เป็ นต้น
โครงสร้ างของโปรโตคอล TCP/IP
• TCP : (Tranmission Control Protocol) - อยูใ่ น Transport Layer ทำ
หน้าที่จดั การและควบคุมการรับส่ งข้อมูล และมีกลไกความคุมการ รับ
ส่ งข้อมูลให้มีความถูกต้อง และมีการสื่ อสารอย่างเป็ นกระบวนการ

• UDP : (User Datagram Protocol) - อยูใ่ น Transport Layer ทำหน้าที่


จัดการและควบคุมการรับส่ งข้อมูล แต่ไม่มีกลไกควบคุมการรับ ส่ ง
ข้อมูลให้มีเสถียรภาพและเชื่อถือได้
โครงสร้ างของโปรโตคอล TCP/IP (ต่อ)
• IP : (Internet Protocol) - อยูใ่ น Internetwork Layer เป็ นโปรโตคอล
หลักในการสื่ อสารข้อมูล มีหน้าที่คน้ หาเส้นทางระว่างผูร้ ับและผูส้ ่ ง
ใช้ IP Address ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นเลขสี่ ชุด แต่ละชุดมีค่าตั้งแต่ 0-255 เช่น
172.17.3.12 ในการอ้างอิงโฮสต์ต่างๆ และกลไกการ Route เพื่อส่ งต่อ
ข้อมูลไปจนถึงจุดหมายปลายทาง
• ICMP : (Internet Control Message Protocol) - อยูใ่ น Internetwork
Layer มีหน้าที่ส่งข่าวสารและแจ้งข้อผิดพลาดให้แก่ IP
โครงสร้ างของโปรโตคอล TCP/IP(ต่อ)
• IGMP : (Internet Group Management Protocol) อยูใ่ นเน็ตเวิร์ก
เลเยอร์ ทำหน้าที่ในการส่ ง UDP ดาต้าแกรมไปยัง กลุ่มของโฮสต์ หรื อ
โฮสต์หลายๆตัวพร้อมกัน
• ARP : (Address Resolution Protocol) - อยูใ่ น Link Layer ทำหน้าที่
เปลี่ยนระหว่าง IP แอดเดรส ให้เป็ นแอดเดรสของ Network Interface
เรี ยกว่า MAC Address ในการติดต่อระหว่างกัน MAC Address คือ
หมายเลขประจำของ Hardware Interface ซึ่ งในโลกนี้จะไม่มี MAC
Address ที่ซ้ำกัน มีลกั ษณะเป็ นเลขฐาน 16 ยาว 6 ไบต์ เช่น
23:43:45:AF:3D:78 โดย 3 ไบต์แรกจะเป็ นรหัสของผูผ้ ลิต และ 3 ไบต์
หลังจะเป็ นรหัสของผลิตภัณฑ์
โครงสร้างของโปรโตคอล TCP/IP(ต่อ)
• RARP : (Reverse ARP) - อยูใ่ นลิงค์เลเยอร์เช่นกัน แต่ท ำหน้าที่กลับกัน
กับ ARP คือเปลี่ยนระหว่างแอดเดรสของ Network Interface ให้ เป็ น
แอดเดรสที่ใช้โดย IP Address
เลเยอร์ ของโปรโตคอลต่ างๆในชุด TCP/IP
User User User User
Process Process Process Process Application

TCP UDP Transport

ICMP IP IGMP
Network

Hardware
ARP Interface
RARP Link
IP Header
IP Header
เมื่อข้อมูลถูกส่ งลงมาจากชั้น Transport Layer สู่ ช้ นั Network Layer
กระบวนการ Encapsulate ของ IP Protocol จะทำหารเพิ่มส่ วน Header
ลงไป Header ของ IP datagram มีขนาด 20-32 ไบต์ มีส่วนประกอบ
ต่างๆ ดังแสดงในรู ป
ตาราง IP Header
IP Routing

IP Routing
เป็ นกระบวนการค้นหาเส้นทางในการส่ งผ่านข้อมูลจากต้นทาง
ไปยังปลายทางโดยผ่านการส่ งต่อข้อมูลไปจนกว่าจะถึงปลายทาง นับ
เป็ นกลไกสำคัญที่ท ำให้ IP เป็ นโปรโตคอลที่สามารถส่ งข้อมูลจาก
โฮสต์หนึ่งไปอีกโฮสต์หนึ่งได้แม้วา่ จะอยูไ่ กลแสนไกล
กระบวนการ Routing
กลไกการทำงานของ ARP
• การทำงานของ ARP เป็ นเรื่ องไม่ซบั ซ้อน มีเพียง 2 ขั้นตอนเท่านั้น
คือ
1. เครื่ องที่ตอ้ งการสอบถาม MAC Address ส่ ง ARP packet เรี ยกว่า
ARP Request ซึ่ งบรรจุ IP , MAC Address ของตนเอง และ IP Address
ของเครื่ องที่ตอ้ งการทราบ MAC Address ส่ วน MAC Address ปลายทาง
นั้น จะถูกกำหนดเป็ น FF:FF:FF:FF:FF:FF ซึ่ งเป็ น Broardcast Address
เพื่อให้ ARP packet ถูกส่ งไปยังเครื่ องทุกเครื่ องที่อยูใ่ นเน็ตเวิร์คเดียวกัน
กลไกการทำงานของ ARP
การตอบกลับ
การใช้ งาน ICMP
• 1. Query ใช้สอบถามสถานะ
ระหว่างกัน ในรู ปที่ 4.1 เป็ นการ
ส่ ง Echo request เพื่อถามสถานะ
ของปลายทาง ซึ่ งโฮสปลายทาง
อยูใ่ นสถานะปกติ สามารถ
ทำการสื่ อสารได้จะส่ ง Echo
Reply กลับมา
Error Report
• Error Report ใช้รายงานข้อผิด
พลาดที่เกิดขึ้น เช่น หากไม่
สามารถส่ งดาต้าแกรมไปถึง
ปลายทางได้ เราเตอร์จะส่ ง
ICMP Message Host
Unreachable กลับมารายงานโฮส
ต้นทาง (รู ปที่ 4.2)
TCP/IP NETWORK

• ปกติอินเตอร์เน็ตจะมีหมายเลขเครื่ องทุกเครื่ องเรี ยกว่า IP


Address ในระบบเครื อข่ายเดียวกันหมายเลขนี้จะไม่ซ้ำกันโดย
ศูนย์บริ การอินเตอร์เน็ตจะทำหน้าที่แจก IP Address มาให้
• การแจก IP Address ขององค์การใหญ่จะมี 3 คลาส คือ
Class A , Class B, Class C
การแจก IP ADRESS เป็ น CLASS

• รู ปที่ 1 แสดงการแจกไอพีแอดเดรส
เป็ นคลาส
การแจกไอพีแอดเดรสแบบเดีย่ ว

• รู ปที่ 2 การแจกไอพีแอดเดรสแบบ
เดี่ยว
• การกำหนดไอพีแอดเดรสของเรา
เตอร์ ในการเชื่อมต่ อแบบลีสไลน์
• ในการเชื่อมต่อแบบลีสไลน์น้ นั
ศูนย์บริ การอินเทอร์เน็ตจะให้
หมายเลขไอพีแอดเดรสมาสองชุด
นะครับไม่ใช่ชุดเดียวคือ
• ไอพีแอดเดรสของแลน (เป็ นคลาส
รู ปที่ 3 แสดงไอพีแอดเดรสในการเชื่อมต่อ กำหนดที่เครื่ องลูกข่าย)
แบบลีสไลน์ •
ไอพีแอดเดรสของแวน (เป็ นไอพี
เดี่ยว กำหนดที่เราท์เตอร์ )
การกำหนดไอพีแอดเดรสของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ในระบบเครือข่ าย

ไอพีแอดเดรสของเราท์เตอร์น้ ันศูนย์บริ การจะ


ต้องเป็ นผูก้ ำหนดมาให้ เราไม่สามารถกำหนดเองได้
แต่สำหรับไอพีแอดเดรสของเครื่ องลูกข่ายนั้นเรา
สามารถกำหนดเองได้ ซึ่งมีการกำหนดอยูส่ องวิธี
ไอพีแอดเดรสจริง
ไอพีแอดเดรสจริ งคือไอพีแอดเดรสที่มีอยูใ่ นตารางเราติ้งเทเบิลของ
ระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่ งจะถูกกำหนดให้เฉพาะแต่ละระบบเครื อข่ายโดยที่ไม่
ซ้ำเพื่อให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ สามารถติดต่อถึงกันได้
การกำหนดให้เป็ นไอพีแอดเดรสจริ งนั้นมีขอสังเกตุที่ควรพิจารณาการใช้
งานดังนี้
สะดวกในการใช้งานเนื่องจากไอพีแอดเดรสจริ งสามารถติดต่อระบบ
อินเทอร์เน็ตได้โดยตรง
เป็ นอันตรายต่อการบุกรุ กเนื่องจากเชื่อมต่ออินเทอร์เนตโดยตรง
ไอพีแอดเดรสจริ งในปั จจุบนั ไม่เพียงพอต่อการแจกจ่าย
ไอพีแอดเดรสสำรอง

"ไอพีแอดเดรสสำรอง" บางคนจะเรี ยกว่า "ไอพีปลอม"


ไอพีน้ ีไม่ใช่ของปลอมสามารถใช้งานได้จริ ง โดยมาจากคำว่า
"Private IP Address" บางท่านก็เรี ยกว่า ไอพีส่วน
ตัว .เนื่องจากไอพีแอดเดรสจริ งไม่พอแจกจ่าย ศูนย์บริ การ
อินเทอร์เน็ตจึงมีวธิ ีหลีกเลี่ยงโดยการให้ผทู้ ี่เชื่อมต่อกับระบบ
อินเทอร์เน็ตใช้หมายเลขไอพีสำรองแทนหมายเลขจริ ง
• รู ปที่ 4 การใช้ไอพีแอดเดรสสำรอง
• หมายเลขไอพีแอดเดรสสำรอง จะมี
ทั้งหมด 273 ชุดประกอบไปด้วย
คลาส A 10.0.0.0 -
10.255.255.255 (1 ชุด)
คลาส B 172.168.0.0 -
172.31.255.255 (16 ชุด)
คลาส C 192.168.0.0 -
192.168.255.255 (256
ชุด)

ไอพีแอดเดรสสำรองก็คือไอพีแอดเดรสที่ไม่มี
เราติ้งเทเบิลอยูใ่ นระบบอินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนที่ 1 สำรวจดูวา่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ของคุณได้ท ำการติดตั้ง protocal
TCP/IP ไว้แล้วรึ ยงั โดย เข้าไปที่ Start -> Settings -> Control
Panal -> Network ถ้ายังไม่มี TCP/IP ก็ให้ click ที่ปุ่ม Add
เลือก Protocal
เลือก microsoft ทางด้านซ้าย แล้วเลือก TCP/IP ทางด้านขวา Click ปุ่ ม OK
เลือกแถบไปที่ TCP/IP แล้วกดปุ่ ม Properties เพื่อตามค่าต่างๆ ข้างในตามนี้
Gateway : 203.148.248.1
ใส่ ค่าตามที่เห็นในรู ปนี้
Host : rangsit
Domain : rsu.ac.th
DNS Server Search : 203.148.248.2
Add เพิม่ ไปอีกตัวก็ได้นะ 203.148.248.3 Domain
Suffix Search : rsu.ac.th
เมื่อตั้งค่าได้ตามนี้ แล้วก็ กดปุ่ ม OK
แล้วเครื่ องของคุณจะทำการ Restart windows อีกครั้ง
ขั้นตอนที่ 2ติดตั้ง Dial-up Networking
Start -> Program -> Accessories -> Dial-up Networking
ถ้าไม่มีแสดงว่าคุณไม่ได้ท ำการติดตั้งลงโปรแกรมนี้ จาก windows95
ให้น ำแผ่น windows 95 ใส่ ไว้ที่เครื่ อง แล้วไปทำการติดตั้งโปรแกรมตามนี้ Start ->
Control Panel -> Add/Remove Programs -> Windows Setup -
> Communications
-> Details -> Click Checkbok Dial-up Networking แล้วเลือก OK แล้ว
ก็ Ok เมื่อทำการติดตั้งโปรแกรม Dial-up Networking พร้อมแล้ว ก็ไปเปิ ดไปที่โปรแกรม
Dial-up Networking เลือก make new connection
เลือก configure....
แล้วเลือก Option ทำเครื่ องหมายถูกที่ Bring up terminal window
after dialing
แล้วกด OK แล้ว Next ไปในขั้นตอนต่อไป
กดปุ่ มขวาของmouseบน icon เพื่อไปเลือก properties
หลังจากเลือกที่ properties จะได้ตามรู ปนี้ ให้กดไปที่ปุ่ม server type
ในนี้จะใส่ หรื อว่าไม่ใส่ โดยใช้ Server Assigned ก็ได้ แต่วา่ ใช้ Server assign
IP Address จะดีกว่า
double click ที่ icon ที่เราสร้างขึ้นแล้วกด connect เพื่อ connect ไปที่
server
เมื่อ Connect ได้แล้วจะเห็นกรอบสี่ เหลี่ยมเล็กๆขึ้ นมา ให้ เคาะปุ่ ม Enter ไปประมาณ 3 - 4 ที เมื่อ
เห็น login: ก็ใส่ ใส่ login ของคุณเข้าไปกด enter Password : ก็ใส่ password ของคุณ
กด enter จากนั้น ใช้mouse กดไปที่ปุ่ม Continue หรื อกด F7 เมื่อการ connect สมบูรณ์
แล้วก็สามารถไปเปิ ดโปรแกรมต่างๆมาใช้ได้เลย เช่น netscape , mirc , ws_ftp , Telnet
คณะผู้จัดทำ
• 1. นางสาวรังสิ นาฎ สุ ขสว่ าง รหัสประจำตัว 46-3506-008-2

• 2. นางสาวสมหญิง บุตรพันธ์ รหัสประจำตัว 46-3506-013-2

• 3. นายประดิษฐ์ สุ ภัคตระกูล รหัสประจำตัว 46-3506-035-5

You might also like