You are on page 1of 27

Protocol

Protocol

• Protocol คือ ข้อกำหนด หรือ ข้อตกลง หรือวิธีการที่ใช้ในการ


สื่อสารระหว่างสิ่งสองสิ่ง เช่น ภาษาที่คนใช้พูดสื่อสารกัน , การติ
ตต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ,Router กับ
Router ,Switch กับ Switch ,Server กับ Client
• ซึ่งทำให้สามารถติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงระหว่างกันได้อย่างสะดวก
ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นๆจะเป็ นรุ่นเดียวกันหรือไม่ ในระบบเครือข่าย
Protocol

• โปรโตคอลมีความสำคัญอย่างมาก เพราะเป็ นเหมือนภาษา


และการสื่อสารที่ทำให้อุปกรณ์ในเครือข่ายสามารถติดต่อ
สื่อสารกันได้ไม่ว่าจะมีจำนวนเท่าไหร่หรือรุ่นไหนก็ตาม
• โปรโตคอลนั้นมีหลากมายชนิดมีความสามารถที่แตกต่างกัน
สามารถนำมาใช้งานได้หลากหลายประเภทตามความเหมาะ
สม
• หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่
สามารถเกิดขึ้นได้
Protocol

• 1. Protocol HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะ


ใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) ซึ่งเราจะพบเห็นได้
ทุกครั้งที่เราเว็บไซต์ เวลาเราเข้าเว็บไซต์เราจะพิมพ์ http://
ส่วนนี้เองที่เรียกว่า Protocol HTTP
• 2. Protocol TCP/IP หรือ Transfer Control
Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลที่สำคัญ
มากที่สุด เพราะว่าเป็ น Protocol ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอย่าง
อินเตอร์เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้แยกออกได้มาเป็ น
โปรโตคอลTCPและโปรโตคอล IP
Protocol

• 3. Protocol SMTP หรือ Simple Mail Transfer


Protocol คือ โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ง E – mail ในระบบ
อินเตอร์เน็ต
• 4. Protocol FTP หรือ File Transfer Protocol คือ
โปรโตคอลที่ใช้ในการการโอนย้ายแฟ้ มระหว่างกัน จะใช้
งานบ่อยในการอัพโหลดไฟล์ขึ้น Server
• 5. Protocol NNP หรือ Network News Transfer
Protocol คือโปรโตคอลในการโอนย้ายข่าวสารระหว่างกัน
Protocol

• 6. Protocol ICMP หรือ Internet Control Message Protocol


คือโปรโตคอลที่ใช้ในการสอบถามข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน
• 7. Protocol POP3 (Post Office Protocol 3) คือโปรโตคอลที่
ใช้ในการรับอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์ โดยมุ่งเน้นให้ในการอ่านอีเมล์
แบบOffline โดยให้ผู้ใช้โหลดอีเมลมาเก็บไว้ และอ่านได้ในภาย
หลัง โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
• 8. Protocol DHCP (Dynamic Host Configuration
Protocol)คือโปรโตคอลที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำงานแบบ
แม่ข่าย-ลูกข่าย
Protocol

• 9. Protocol IMAP (Internet Message Access


Protocol)คือโปรโตคอลที่ใช้ในการรับอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์
โดยมุ่งเน้นให้ในการอ่านอีเมล์แบบ Online ซึ่งแตกต่าง
จาก Protocol POP3 ที่มุ่งเน้นในการอ่านอีเมล์
แบบOffline
• 10. IRC : ย่อมาจากคำว่า Internet Relay Chat เป็ น
โปรโตคอลที่ทำหน้าที่ในการสื่อสารผ่านตัวอักษร โดย
Software Client จะใช้ในการสื่อสารไปยังเซิร์ฟเวอร์ หรือ
ส่งข้อความหาลูกข่าย (Client) อื่น ๆ
Protocol

• โปรโตคอลด้านการจัดการที่นิยมใช้งานกันก็จะมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ


• SNMP : ย่อมาจากคำว่า Simple Network Management
Protocol ใช้ในการตรวจสอบ และบริหารจัดการอุปกรณ์เครือข่าย
ทำงานบนพื้นฐานของโปรโตคอล TCP สามารถแก้ไขข้อมูล และ
ตั้งค่าการทำงานของอุปกรณ์ที่เป็ น Endpoint ภายในเครือข่ายได้
• ICMP : ย่อมาจากคำว่า Internet Control Message Protocol
จุดประสงค์หลักของโปรโตคอลตัวนี้ คือใช้ในการวินิจฉัยปั ญหา
โดยใช้โปรโตคอลตัวนี้เพื่อเรียกดูข้อมูลข้อผิดพลาด และข้อมูล
ปั ญหาการเชื่อมต่อที่เกิดขึ้นในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์
Protocol

• โปรโตคอลในกลุ่มนี้ที่ได้รับความนิยม ได้แก่
• SSL : ย่อมาจากคำว่า Secure Socket Layer เป็ น
โปรโตคอลหลักที่นิยมใช้ในการปกป้ องข้อมูลบน
อินเทอร์เน็ตที่ต้องการความปลอดภัยสูง ข้อมูลที่ใช้
โปรโตคอลนี้จะผ่านการเข้ารหัสระดับสูง ไม่สามารถอ่าน
ได้โดยบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้ทั้งการ
เชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์ กับไคลเอนท์, เซิร์ฟเวอร์
กับเซิร์ฟเวอร์
Protocol

• โปรโตคอลในกลุ่มนี้ที่ได้รับความนิยม ได้แก่
• HTTPS : ย่อมาจากคำว่า Secure Hypertext
Transfer Protocol เป็ นโปรโตคอล HTTP ที่ได้รับการ
เพิ่มระบบรักษาความปลอดภัยเข้าไป นิยมใช้ในการป้ อง
ป้ องข้อมูลที่ส่งระหว่างเบราว์เซอร์ กับเซิร์ฟเวอร์
• SFTP : ย่อมาจากคำว่า Secure File Transfer
Protocol โปรโตคอลตัวนี้มีคุณสมบัติตรงตามชื่อของ
มันเลย ใช้ในการปกป้ องไฟล์ที่ส่งผ่านระบบเครือข่าย
Protocol
TCP/IP
TCP/IP

• TCP เกิดจาก IEEE : (Institute of Electrical and Electronic


Engineers) ได้ตีพิมพ์บทความที่เขียนขึ้นโดย Vint Cerf และ Bob
Kahn ซึ่งได้อธิบายการแบ่งทรัพยากร โดย Packet-Switching
ระหว่างอุปกรณ์ควบคุมโดย Transmission Control Program
• พัฒนาต่อโดยให้ Module TCP ทำหน้าที่ในระดับ connection-
oriented layer (Transport layer) และ IP ทำหน้าที่ในระดับ
internetworking layer (Network layer) ซึ่งได้กลายมาเป็ น
TCP/IP ในปั จจุบัน
TCP/IP

• TCP/IP ย่อมาจาก Transmission Control Protocol /


Internet Protocol โดย TCP เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ใน Internet
Protocol Suite มันคือโปรโตคอลหรือข้อกำหนดในการสื่อสาร
ระหว่างอุปกรณ์บนอินเตอร์เน็ตซึ่งถูกใช้กันอย่างแพร่หลายใน
ปั จจุบัน
• การทำงาน TCP ทำหน้าที่จัดการข้อมูล เรียงลำดับ ตรวจสอบข้อ
ผิดพลาด ระหว่างการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกันด้วย IP
Network
TCP/IP

TCP และ IP มีหน้าที่ต่างกัน คือ


• 1. TCP จะทำหน้าที่ในการแยกข้อมูลเป็ นส่วน ๆ หรือที่
เรียกว่า Package ส่งออกไป ส่วน TCP ปลายทาง ก็จะ
ทำการรวบรวมข้อมูลแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน เพื่อนำไป
ประมวลผลต่อไป โดยระหว่างการรับส่งข้อมูลนั้นก็จะมีการ
ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย ถ้าเกิดผิดพลาด TCP
ปลายทางก็จะขอไปยัง TCP ต้นทางให้ส่งข้อมูลมาใหม่
• 2. IP จะทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยัง
เครื่องปลายทางโดยอาศัย IP Address
TCP/IP

• ชุดโปรโตคอล TCP/IP แบ่งโปรโตคอลออกเป็ น 4


เลเยอร์คือ
• ชั้นประยุกต์ใช้งาน (Application Layer)
• ชั้นเชื่อมต่อระหว่างโฮสต์ (Host-to-Host Layer)
• ชั้นอินเทอร์เน็ต (Internet Layer)
• ชั้นเข้าใช้เครือข่าย (Network Access Layer)
วัตถุประสงค์
พอร์ท
(Port Concept)
Port

• Application ในชั้น layer สูงๆ ที่ใช้ TCP (Transmission


Control Protocol) หรือ UDP (User Datagram Protocol) จะมี
หมายเลข Port หมายเลขของ Port จะเป็ นเลข 16 bit เริ่มตั้งแต่ 0
ถึง 65535
• หมายเลข Port ใช้สำหรับตัดสินว่า service ใดที่ต้องการเรียกใช้ ใน
ทางทฤษฎี หมายเลข Port แต่ละหมายเลขถูกเลือกสำหรับ service
ใดๆ ขึ้นอยู่กับ OS (operating system) ที่ใช้ ไม่จำเป็ นต้องเหมือน
กัน แต่ได้มีกำหนดขึ้นให้ใช้ค่อนข้างเป็ นมาตรฐานเพื่อให้มีการติดต่อ
การส่งข้อมูลที่ดีขึ้น
Port

• ทาง Internet Assigned Numbers Authority (IANA) เป็ น


หน่วยงานกลางในการประสานการเลือกใช้ Port ว่า Port
หมายเลขใดควรเหมาะสำหรับ Service ใด
• ละได้กำหนดใน Request For Comments (RFC') 1700
ตัวอย่างเช่น เลือกใช้ TCP Port หมายเลข 23 กับ Service
Telnet และเลือกใช้ UDP Port หมายเลข 69 สำหรับ Service
Trivial File transfer Protocol (TFTP)
Port

• หมายเลข Port ถูกจัดแบ่งเป็ น 2 ประเภท ตามที่ได้กำหนดใน RFC'


1700
• Well Known Ports คือจะเป็ น Port ที่ระบบส่วนใหญ่ กำหนดให้ใช้
โดย Privileged User (ผู้ใช้ที่มีสิทธิพิเศษ) โดย port เหล่านี้ ใช้
สำหรับการติดต่อระหว่างเครื่องที่มีระบบเวลาที่ยาวนาน วัตถุประสงค์
เพื่อให้ service แก่ผู้ใช้ (ที่ไม่รู้จักหรือคุ้นเคย) แปลกหน้า จึงจำเป็ น
ต้องกำหนด Port ติดต่อสำหรับ Service นั้น ๆ
• Registered Ports จะเป็ น Port หมายเลข 1024 ขึ้นไป ซึ่ง IANA ไม่
ได้กำหนดไว้
ตัวอย่างการใช้ Port

• แต่ละ Transport layer segment จะมีส่วนย่อยที่ประกอบไป


ด้วยหมายเลข Port ของเครื่องปลายทาง โดยที่เครื่องปลายทาง
(Destination host) จะใช้ Port นี้ในการส่งข้อมูลให้ไหลกับ
Application ได้ถูกต้อง
ตัวอย่างการใช้ Port

• หมายเลข Port จะอยู่ใน 32 bit แรกของ TCP และ UDP


header โดยที่ 16 bit แรกเป็ นหมายเลข Port ของเครื่องต้นทาง
ขณะที่ 16 bit ต่อมาเป็ นหมายเลข Port ของ เครื่องปลายทาง
ตัวอย่างการใช้ Port
ตัวอย่างการใช้ Port

พอร์ต 20 :File Transfer Protocol (FTP) เพื่อเริ่มต้นการถ่ายโอน


ข้อมูลกลับไปยังไคลเอ็นต์ ซิร์ฟพอร์ต 21 :File Transfer Protocol
(FTP) เพื่อจัดการด้านเซิร์ฟเวอร์ (Command Control)
พอร์ต 22 :Secure Shell (SSH) Secure Loginเพื่อขอเข้าสู่ระบบ
ขาเข้าจากไคลเอ็นต์ระยะไกล
พอร์ต 23 :Telnet remote login service
พอร์ต 25 :Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) E-mail
routing
พอร์ต 53 :Domain Name System (DNS) service
พอร์ต 67,68 UDP : Protocol Host Configuration
Protocol /DHCP
ตัวอย่างการใช้ Port

พอร์ต 80 : Hypertext Transfer Protocol (HTTP) WWW


พอร์ต 110 :Post Office Protocol (POP3)
พอร์ต 123 : Network Time Protocol (NTP) การตั้งค่าวันที่และ
เวลา การเชื่อมเซิร์ฟเวอร์เวลาเครือข่าย
พอร์ต 143 : Internet Message Access Protocol (IMAP)
Management of digital mail
พอร์ต 443 : HTTP Secure (HTTPS) HTTP over TLS/SSL
พอร์ต 1433 : Microsoft SQL Server database management
system (MSSQL) server
พอร์ท
(Port Concept)

You might also like