You are on page 1of 19

เสนอ

ผศ.บุญทรัพย ไวคํา

จัดทําโดย

นางสาวณัฐนรี เตชะจารุวิทย รหัส 483020536-1

นายนนทวุฒิ ทาน้ําเที่ยง รหัส 483020533-7

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา NETWORK ARCHITECTURE 322461

ประจําปการศึกษา 2550 ภาคปลาย


คํานํา
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําขึ้นเพื่อ เสนอเปนหัวขอรายงานในวิชา สถาปตยกรรมของระบบเครือขายหรือ
Network Architecture โดยมีเนื้อหากลาวถึงเทคโนโลยี RTP หรือ Real Time Protocol และRTSP
หรือ REAL-TIME STREAMING PROTOCOL (RTSP: RFC 2326)

ซึ่งเทคโนโลยีดังกลาวนี้คือ RTP ซึ่งเทคโนโลยีที่เปนการสงขอมูลในทิศทางเดียว แบบเซิรฟเวอร


ไปยังไคลเอนต และเทคโนโลยี RTSP เปนโปรโตคอลที่ใชรับสงขอมูลมัลติมีเดียระหวางเซิรฟเวอรกับ
คอมพิวเตอรปลายทาง ซึ่งจะทําใหการรับสงขอมูลตอเนื่องผานอินเตอรเน็ต

เนื้อหาในรายงานฉบับนี้จะนําเสนอถึงความเปนมาของRTPและ RTSP ความหมาย และหลักการ


ทํางานตลอดจน ขอเสีย และประโยชนของการใชงานเทคนิคนี้ ซึ่งทางผูจัดทํามีความคาดหวังวา ผูที่ศึกษา
รายงานฉบับนีแ้ ลว จะมีความเขาใจถึงหลักการทํางาน และประโยชนของเทคโนโลยีของการสื่อสารแบบ
RTP และRTSP

ผูจัดทํา

สารบัญ
เรื่อง หนา

RTP( Real Time Protocol ) 4

1.ความเปนมา RTP( Real Time Protocol ) 4

2.ความหมายของ RTP 4

3.หลักการทํางานของ RTP 4

3.1สถาปตยกรรมโปรโตคอล RTP (Real Time Protocol) 5

3.2 หนาที่หลักของ RTP 7

4.โปรโตคอลที่ทํางานรมกับ RTP 8
4.1 RTCP (Real-Time Transport Control Protocol) 8

4.2 โปรโตคอล H.323 8

4.3โปรโตคอล SIP (SIP: Session Initial Protocol) 9

5.ขอดี-ขอเสีย ของ RTP 9

5.1 ขอดีของRTP 9

5.2ขอเสียของ RTSP 9

6.ประโยชนของ RTP 10

7.สรุป RTP 10

เรื่อง หนา

REAL-TIME STREAMING PROTOCOL (RTSP: RFC 2326) 11

1.ความเปนมา REAL-TIME STREAMING PROTOCOL (RTSP: RFC 2326) 11

2.ความหมาย RTSP 11

3.เทคโนโลยีสตรีมมิ่งมีเดีย (Streaming Media Technology) 12

3.1 การแบงStreaming Media 12

3.2 โปรโตคอลที่ใชงานในการทําสตรีมมิ่งมีเดีย 13

4. หลักการทํางานของ RTSP 14

5.ปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับการรับ-สงขอมูล 16

6.ประโยชนของRTSP 17

7.สรุปของ RTSP 17

RTP( Real Time Protocol )


1.ความเปนมา RTP( Real Time Protocol )

RTP ใชกําหนดรูปแบบ packet ในการสงภาพและเสียงผานอินเตอรเน็ต ถูกพัฒนาโดย Audio-


Video Transport Working Group ของ IETF และไดตีพมิ พครั้งแรกในป 1996 (พ.ศ.2539) โดย RTP จะไมมี
พอรต TCP หรือ UDP มาตรฐานในการสื่อสาร แตจะใชพอรต UDP ที่เปนเลขคูในการสื่อสารและพอรต
UDP เลขคี่ถัดไปเปน RTP Control Protocol (RTCP) เลขพอรตมักจะอยูระหวาง 16384-32767 RTP
สามารถรับสงขอมูลอะไรก็ไดแบบ real-time เชน ภาพและเสียง โดยใชโปรโตคอล SIP ในการตั้งคาและ
ยกเลิก

2.ความหมายของ RTP

RTP ยอมาจาก Real Time Protocol เปนโพรโตคอลที่ใชรูปแบบการทํางานของ UDP ซึ่ง


จะเปนการสงขอมูลในทิศทางเดียว แบบเซิรฟเวอรไปยังไคลเอนต โดยจะไมมกี ารตรวจสอบความถูกตอง
ของขอมูล ดังนั้นจึงสามารถสงขอมูลไดอยางรวดเร็ว และไดถูกนํามาใชในการสงขอมูลมัลติมีเดีย RTP ถูก
ใชโดย SIP และ H.323 เพื่อทํางานดานของการสื่อสารแบบเรียลไทม เชน ออดิโอและวีดีโอ

3.หลักการทํางานของ RTP

หลักการทํางานของ RTP (Real Time Protocol) คือ จะทํางานในระบบ end-to-end network การ
ทํางานของ RTP จะทํางานไมคํานึงถึง Qos (Quality of Service) โดยใชกับการสงแบบ real-time ขอมูลที่สง
จะถูกจัดการโดย RTCP (Real-time Control Protocol) เพื่อที่จะสงในระบบ network RTP สามารถสงขอมูล
ไดแบบ Unicast และ Multicast RTP ถูกออกแบบมาโดยไมขึ้นกับ transport และ network layers ความ
สามารถใชในการสงขอมูลผานเครือขายสําหรับการสงขอมูลพวกใชเวลาจริง (Real Time)เชนทางวีดิทัศน
(Video) เปนโปรโตคอลที่ใชสําหรับสงขอมูล audio และ audio แบบ real-time ซึ่งไมมีขอกําหนดที่แนนอน
สามารถใชไดทั้ง TCP และ UDP ซึ่งโดยทั่วไปจะใช UDP นอกจากนั้นยังไมมีชวงของ port ที่แนนอน ข
อมูลที่สงจะถูกควบคุมดวย Real Time Control Protocol (RTCP) RTP เปนแบบ Connectionless ไมมี
การรับประกันคุณภาพของขอมูลที่สง หมายความวาไมไดมีกลไกใดๆ ในการยืนยันขอมูลวาสงไดสําเร็จ
หรือไม ไมมีความผิดพลาดในการเรียงลําดับขอมูล ซึ่งแตกตางจากโปรโตคอล UDP เมื่อทําการสงแลวมี
ปญหาในการลําดับกอนหลังของเฟรม

RTP header, version 2:


00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

Ver P X CC M PT Sequence Number

Timestamp

SSRC

CSRC [0..15] :::

P = Padding, X = Extension, CC = CSRC, M = Marker, PT = Payload Type

รูปที่1 แสดงหลักการทํางานของRTP

( http://campus.en.kku.ac.th/project/2006/coe2006-18/Logbook3.doc)

รูปที่ 2 แสดง RTP network organization

( http://campus.en.kku.ac.th/project/2006/coe2006-18/Logbook3.doc)

3.1สถาปตยกรรมโปรโตคอล RTP (Real Time Protocol)

รูปที่ 3 แสดงสถาปตยกรรมโปรโตคอล

(http://www.nectec.or.th/NTJ/No10/papers/No10_tutor_1.pdf)

รูปที่ 4 แสดงการติดตอของ RTP(http://web.acc.chula.ac.th/~yexec101/MIT-


WU/download/mmds/RTSP.PDF)

3.2 หนาที่หลักของ RTP

RTP ถูกใชโดย SIP และ H.323 เพื่อทํางานดานของการสื่อสารแบบเรียลไทม เชน ออดิโอและ


วีดีโอบนเครือขายแพ็กเก็ตสวิตชิง มีหนาที่จัดการเรื่องขอมูลประเภทเวลาไปยังผูรับ โดยสามารถแกไขคาดี
เลยของสัญญาณไดยอมใหผูรับสามารถคนหาแพ็กเก็ตทีส่ ูญหาย และประเมินเสนทางในการสงขอมูลอีก
ดวย
นอกจากนี้แลว RTP จะมีหนาที่จดั การในเรื่องของการสงขอมูลไปยังผูรับ ซึ่งสามารถกูคืนไดใน
กรณีที่แพ็กเก็ตสูญหายหรือ jitter โดย RTP ไดรับการประกาศใชจาก IETF ใน RFC 1889 ซึ่งหนาที่หลักก็
เพื่อใหบริการฟงกชันตาง ๆ เชน การจัดลําดับ การกําหนด payload และ intra-media synchrinization กับ
Real-time Transport Control Protocol (RTCP)

Jitter เปนภาษาเทคนิคหมายถึง คาผิดพลาดทางเวลา (Time-base error) ใชกับ Digital Electronics


ซึ่งเกิดไดจากปจจัยหลายอยาง โดยการสงคาสัญญาณที่ผิดรูปไปจากเดิม อาจจะเกิดไดจากสาเหตุบางสาเหตุ

เชน ระบบฐานเวลาหรือ clock สรางความถี่ที่ผิดพลาด ก็จะทําใหเกิด Jitter ขึ้นได หรือ ระบบสงสัญญาณ


และอุปกรณรบั สงทุกชนิด จะมีการเปลี่ยนคาเวลา ของสัญญาณที่สงผาน ก็จะทําใหเกิด jitter
4.โปรโตคอลที่ทํางานรวมกับ RTP
4.1 RTCP (Real-Time Transport Control Protocol) เปนโปโตคอลที่ทํางานรวมกับ RTP เพื่อ
ควบคุมการทํางานในดาน QoS Feedback การควบคุมเซสซันของการสงขอมูล การกําหนดเกีย่ วกับผูใช และ
Inter-media synchronization เพื่อเขาจังหวะระหวางออดิโอ และวิดีโอสตรีม

4.2 โปรโตคอล H.323

เปนมาตรฐานโปรโตคอลสําหรับการสื่อสารแบบพหุสื่อสาร (multimedia communication) แบบ


เวลาจริงบนเครือขาย IP โปรโตคอล

รูปที่ 5แสดง IP telephony protocol stack http://www.nectec.or.th/NTJ/No10/papers/No10_tutor_1.pdf

เครือขาย H.323 ถูกพัฒนาโดย ITU-T โดยเปนสวนหนึ่งของมาตรฐาน H.32x ที่เปนมาตรฐาน


สําหรับการประชุมแบบพหุสื่อ (multimedia conference) บนเครือขายตางๆ เชน H.320 สําหรับเครือขาย
ISDN (Integrated Service Digital Networks) H.324 สําหรับเครือขาย PSTN (Public Switching Telephone
Networks) H.323 จะครอบคลุมโปรโตคอลอื่นไว คือ H.225.0 สําหรับ call signaling และการจัดรูปแบบ
แพ็กเกตมีเดีย (media packet format) H.245 สําหรับการแลกเปลี่ยนขอมูลความสามารถเกี่ยวกับมีเดีย (media
capability exchange) และการควบคุมชองสัญญาณมีเดีย (media channel control) H.450.x เปนขั้นตอน
สําหรับสรางการบริการเพิ่มเติม (supplementary service) และ H.235 เปนมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภัย

เปนตน รวมทั้งยังไดอางอิงถึงมาตรฐานในการเขารหัสสําหรับสัญญาณเสียง เชน G.711 G723.1 G.729 และ


สัญญาณวีดีโอเชน H.261 และ H.263
4.3โปรโตคอล SIP (SIP: Session Initial Protocol)

SIP เปนโปรโตคอลใชงานสําหรับ IP Telephony ที่กําหนดโดย IETF (Internet Engineering Task


Force) SIP เปนโปรโตคอลในชั้นแอปปลิเคชันซึ่งทําหนาที่ในการสราง สิ้นสุด และเปลี่ยนแปลงแกไข เซส
ชันของพหุสื่อ (multimedia session) หรือ การเรียก ซึ่งรวมถึง Internet telephony การประชุมแบบพหุสื่อ
(multimedia conference) และแอปปลิเคชันอื่นที่คลายคลึงกัน SIP เปนโปรโตคอลไคลเอนท-เซิรฟเวอร
(client-server) โดยใชการสงขอมูลในรูปของตัวอักษร(text based) เชนเดียวกับโปรโตคอล HTTP
(Hypertext Transfer Protocol) รวมทั้งยังมีกลไกที่คลายคลึงกัน ทําใหสามารถใชเฮดเดอรและกลไกที่มีอยู
บางอยางของ HTTP ได สําหรับฟงกชันที่ SIP สนับสนุนมีดังนี้

• User location การกําหนด endpoint ที่ใชในเซสชันการสื่อสาร


• User capabilities การกําหนดมีเดียและพารามิเตอรของมีเดียทีใ่ ชในการสื่อสาร
• User availability การกําหนดความตองการของผูถูกเรียกวาตองการเขารวมในเซสชันหรือไม
• Call setup การสราง การเรียก และกําหนดพารามิเตอรของการเรียก
• Call handling การจัดการกับ การเรียก รวมทั้งการโอนยาย การเรียก และการสิ้นสุดการเรียก

5.ขอดี-ขอเสีย ของ RTP

5.1ขอดี

1.สงขอมูลพวกที่ตองใชเวลาจริง เชน วีดีโอ

2.สามารถใชรวมกับโปรแกรมประยุกตโครงขายมัลติมีเดียอื่นๆได

5.2ขอเสีย

1.ไมมีการเรียงลําดับขอมูล

2.มีปญหาในการลําดับกอนหลังของเฟรม

3.RTP ไมมีการรับประกันของขอมูลที่สง
10 

4.RTP ไมมีกลไกใดๆในรายการยืนยันขอมูลวาสงไดสําเร็จหรือไม

6.ประโยชนของ RTP

1. สงขอมูลที่เปนพวกขอมูลที่ใชเวลาจริง (Real Time)

2. ควบคุมผลขอมูลในทันทีที่ขอมูลถูกสงเขาเพื่อใหไดผลลัพธที่ตองการออกมาไดทนั ที

3. สามารถใชรวมกับโปรแกรมประยุกตโครงขายมัลติมีเดียอื่นๆได

7.สรุป RTP

RTP ใชในการสงขอมูลผานเครือขายสําหรับการสงขอมูลพวกใชทเี่ วลาจริง สามารถใชรวมกับ


โปรแกรมประยุกตโครงขายมัลติมีเดียอื่นๆได และขอมูลที่สงจะถูกควบคุมโดย Real Time Control Protocol
11 

REAL-TIME STREAMING PROTOCOL (RTSP: RFC 2326)


1.ความเปนมา REAL-TIME STREAMING PROTOCOL (RTSP: RFC 2326)

ในยุคของอินเตอรเน็ตเมื่อคอมพิวเตอรติดตอสื่อสารกันไดทั่วโลก การนํามัลติมีเดียมาใชรับสง
ขอมูลก็เปนสิ่งที่ทุกคนตองการ เนื่องจากตัวเครื่องคอมพิวเตอรนนั้ ออกแบบมาใหรอบรับการสงขอมูลใน
รูปแบบของมัลติมีเดียไดอยูแ ลว แตวาเครือขายอินเตอรเน็ตนั้นไมไดถูกออกแบบมาใหรองรับการสงขอมูล
ในรูปแบบของมัลติมัเดีย ทําใหโลกของมัลติมีเดียกับอินเตอรเน็ตยังไปดวยกันไมได ซึ่งขอจํากัดของการใช
งานมัลติมีเดียบนอินเตอรเน็ตก็คือ ความเร็วในการรับสงขอมูลผานอินเตอรเน็ต และโปรโตคอลที่จะใช
รับสงขอมูลมัลติมีเดีย

ความเร็วในการรับสงขอมูลระหวางคอมพิวเตอรของเราจะถูกกําจัดดวยความเร็วของโมเด็มที่ใชซึ่ง
ในปจจุบนั โมเด็มไดรับการพัฒนามาจนมีความเร็วสูงสุดอยูที่ 56 Kbps หรือสามารถรับสงขอมูลไดเกือบ
56000 บิตตอวินาทีเลยทีเดียว แมวาจะมีความเร็วสูงขึ้นมากกวาโมเด็มในสมัยกอนแลว แตความตองการ
รับสงขอมูลทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียงผานอินเตอรเน็ต ความเร็วของโมเด็มที่ใชกนั อยูนนี้ ับวาชาเกินกวาที่
จะนํามาใชงานได เนื่องจากขอมูลมัลติเมีเดียที่ทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียงนัน้ ตองการความเร็วในการรับสง
ขอมูลอยางนอย 50 ลานบิตตอวินาที จึงจะแสดงภาพเคลื่อนไหวเต็มจอพรอมกับเสียง ดดยมีคุณภาพ
ใกลเคียงกับวีดีโอเทปได แมวาเราจะมีเทคนิคการบีบอัดขอมูลอยาง MPEG เพื่อลดขนาดขอมูลของ
ภาพคลื่อนไหวและเสียงลงไดถึง 10 เทาแลว จาก 50ลานบิตตอวนาที เหลือเพียง 5 ลานบิตตอวินาที ความ
เร็ของโมเด็มในปจจุบันกยังไมสามารถรองรับไดอยูดี

2.ความหมายของ RTSP

Real-Time Streaming Protocol หรือ RTSP เปนโปรโตคอลที่ใชรับสงขอมูลมัลติมีเดียระหวาง


เซิรฟเวอรกับคอมพิวเตอรปลายทาง ซึ่งจะทําใหการรับสงขอมูลตอเนื่องผานอินเตอรเน็ต โดยตัวเซิรฟเวอร
ดานผูสงสามารถสงขอมูลไปใหผูรับปลายทางเพียงคนเดียว หรือจะสงไปใหผูรับหลายๆ คนในลักษณะเปน
กลุมก็ได ซึ่ง RTSP ถูกกําหนดใหเปนโปรโตคอลที่นําไปใชในอินเตอรเน็ตโดย Internet Engineering Task
Force (IETF) ในเดือนเมษายน ป ค.ศ. 1998 เรียกวา RFC 232
12 

3.เทคโนโลยีสตรีมมิ่งมีเดีย (Streaming Media Technology)

ปจจุบันนี้สื่อผสม (Multimedia) ไดมีการนํามาใชในงานนําเสนอในหลายรูปแบบ เนื่องจากจะ


สามารถทําใหผูรับชมสามารถเขาใจไดดีกวาการใชสื่ออักษร ภาพ หรือเสียง อยางใดอยางหนึ่งเพียงอยาง
เดียว โดยระบบเครือขายไดถูกนํามาใชในการนําเสนอขอมูลเชนเดียวกัน เนื่องจากประสิทธิภาพการเขาถึง
ผูรับชมจํานวนมากไดในการนําเสนอเพียงครั้งเดียว และการใชสื่อผสม ประเภท Video เพื่อใชในการ
นําเสนอผาน web browser ในระบบ intranet และ internet ซึ่งเปนระบบ network ที่มีการนํามาประยุกตใช
มากที่สุดอยางหนึ่งในปจจุบนั

สําหรับวิธีการสงขอมูล Audio และ Video ผาน web browser มีอยู 2 ประเภทใหญๆคือ การใช Web
Server ในการนําขอมูลสงไปยังโปรแกรมที่ใชนําเสนสื่อ และอีกวิธีหนึง่ คือการใช Streaming Media Server
ซึ่งจะใช Server โดยเฉพาะในการใหบริการขอมูล Audio/Video

ในอดีต การนําเสนอสื่อ Audio/Video บน Web จะใชการ download-and-play ซึ่งการที่จะชมสือ่


นั้นๆไดนนั้ จะตองทําการ download ขอมูลทั้งหมดมากอนจึงจะสามารถเลนได ซึ่งถึงแมจะเปนสื่อที่มี
ระยะเวลาไมมากก็ตาม อาจจะตองใชเวลา Download เปนเวลานานกอนที่จะสามารถนํามาใชฟงหรือชมได
แตปจจุบนั การชม Audio/Video จาก Streaming Media Server แตกตางจากขางตน โดยที่ Streaming Media
file จะแสดงสื่อหลังจากที่เริ่มเลนสื่อไดไมนาน ระหวางที่ขอมูลกําลังถูกสงผูชมสามารถรับฟงหรือชมได
ทันที โดยไมจาํ เปนตองรอให download ขอมูลทั้งหมดกอน โดยมี Buffer เปนตัวชวยในการทํางาน

3.1 Streaming Media หลัก ๆ แบงออกเปน 3 ประเภท

3.1.2 Live Streaming คือ การทํา streaming แบบถายทอดสด โดยผูรับสัญญาณตองเขามาดู


หรือฟงไปพรอมๆ กับการบันทึก

3.1.2. Simulated Live Streaming คือ การทํา streaming ที่เหมือนกับ live แตวามีไฟลที่
ตองการเก็บอยูบนเซิรฟเวอรอยูแลว จะเปดถายทอดโดยผูรับตองดูไปพรอมๆ กัน

3.1.3. On Demand Streaming คือ มีไฟลสื่อเก็บอยูบนเซิรฟเวอรอยูแลว เมื่อผูรับรองขอเขา


มาจะทําการสงสัญญาณไปยังเครื่องผูรับ โดยที่ผูรับสามารถควบคุมสื่อนั้นๆ ได เชนในกรณีของสื่อ
วิดีโอ ผูรับสามารถ play, pause, forwarded ได
13 

รูป 6 แสดงขั้นตอนการถายทอดสดทางอินเตอรเน็ต (Live Streaming)

(http://gftp.csxix.com/files/Wincentz/episode2.doc)

จากรูปขั้นตอนแรกจะเปนการบันทึกภาพและทําการเขารหัส จากนั้นทําการสงเนื้อหาไปยัง
เซิรฟเวอรเพื่อเตรียมทําการแพรภาพแบบ Real-Time ขั้นตอนที่สองจะเปนการจัดการเกี่ยวเนื้อหาที่ถายทอด
และสงคาตางๆ ไปที่ Server ตอมาขั้นที่สาม Streaming Server จะสําการเผยแพรสัญญาณผานไปยังเครือขาย
แลน อินเตอรเนต และเครือขายไรสาย
3.2 โปรโตคอลที่ใชงานในการทําสตรีมมิ่งมีเดีย

3.2.1Hypertext Transfer Protocol (HTTP) เปนโปรโตคอลที่ใชสําหรับรับ-สงขอมูลของ


HTML hypertext page โดยทั่วไปจะใช TCP port 80 และสามารถใชติดตอผาน firewall ทั่วไปได

3.2.2Real-time Streaming Protocol (RTSP) เปนโปรโตคอลที่ client ใชในการควบคุม


streaming media server โดยจะมีคําสั่ง DESCRIBE, SETUP, PLAY, PAUSE, RECORD และ
TEARDOWN

3.2.3Real-time Transport Protocol (RTP) เปนโปรโตคอลที่ใชสําหรับสงขอมูล audio และ


audio แบบ real-time ซึ่งไมมีขอกําหนดทีแ่ นนอนสามารถใชไดทั้ง TCP และ UDP ซึ่งโดยทั่วไปจะ
ใช UDP นอกจากนั้นยังไมมชี วงของ port ที่แนนอน
14 

3.2.4 Real-time Transport Control Protocol (RTCP) เปนโปรโตคอลที่ควบคุมเกีย่ วกับการ


ไหลของ packet ใน RTP (flow control) โดยโปรโตคอลนี้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการสงขอมูล
เชน จํานวนขอมูลที่สง (bytes) จํานวนของ packet ที่สง จํานวนของ packet ที่สูญหาย ซึ่งขอมูล
เหลานี้จะถูกนํามาใชจัดการเกี่ยวกับเรื่อง QoS

3.2.5 Transmission Control Protocol (TCP) จะเปนการสงขอมูลแบบสองทาง คือ มีการ


ติดตอระหวางผูสงและผูรับตลอดเวลา ซึ่งจะตองทําการ establish connection แบบ three-way
handshake และจะมีการตรวจสอบความถูกตอง, ครบถวนของขอมูลที่รับ-สง ถาหากมีการสูญหาย
หรือเสียหายก็จะทําการสงใหม (re-transmit)

3.2.6 User Datagram Protocol (UDP) จะเปนการสงขอมูลทิศทางเดียว คือ ขอมูลจะสงจาก


server ไปยัง client โดยไมตองทําการ establish connect และไมมีการตรวจสอบความถูกตอง,
ครบถวนของขอมูล ดังนั้นจึงสามารถสงขอมูลไดเร็วกวา TCP protocol จึงไดถูกนํามาใชในการสง
ขอมูลมัลติมีเดียขอมูลอื่นๆ

4.หลักการทํางานของ RTSP

RTSP เปนการกําหนดมาตรฐานโปรโตคอลที่สําคัญมากในการรับสงขอมูลมัลติมีเดียผาน
อินเตอรเน็ต เนื่องจากการรับสงขอมูลมัลติมีเดียในแบบตอเนื่องนั้นจะมีสวนตางๆ ที่เกี่ยวโยงกันถึง 3 สวน
คือ เซิรฟเวอรที่เก็บขอมูล , Encoder ที่ใชเขารหัสขอมูล และผูรับขอมูลหรือ Player

รูปที่ 7 แสดง ความสัมพันธของขอมูลมัลติมีเดีย


15 

(ตน ตัณฑสุทธิวงศ, สุพจน ปุณณชัยยะ, สุวัฒน ปุณณชัยยะ,2545)

ตัวเขารหัสขอมูลหรือ Encoder นั้นจะตองเขารหัสขอมูลมัลติมีเดียเก็บลงไฟล โดยมีฟอรแมตที่


เซิรฟเวอรเรียกใชงานได และเมื่อเซิรฟเวอรตองการสงขอมูลนี้ไปใหผูรับ ก็จะตองใชโปรโตคอลรับสง
ขอมูลอยางตอเนื่องที่ผูรับเขาใจ และสามารถรับขอมูลไดอยางถูกตอง จากนัน้ เมื่อไดรับขอมูลมาแลวก็
จะตองถอดรหัสขอมูลออกแสดงผลได โดยใชมาตรฐานเดียวกับตัวเขารหัส การทํางานทั้งหมดจึงผูกกัน
ตามที่แสดงในรูป ซึ่ง RTSP จะอยูใ นสวนของโปรโตคอลที่ใชรับสงขอมูลจากเซิรฟเวอรผูรับ

แมวา RTSP จะมีความสําคัญในการรับสงขอมูลมัลติมีเดียผานอินเตอรเน็ตก็ตาม แตก็ไมใชสิ่งเดียว


ที่ทําใหการรับสงขอมูลสมบูรณได เรายังตองกําหนดฟอรแมตมาตรฐานของไฟลมราใชเก็บขอมูลมัลติมีเดีย
อีกดวย เชน Active Streaming Format (ASF) ของไมคีซอฟท, Quick Time หรืออื่นๆ เพื่อเก็บขอมูลรวมถึง
มาตรฐานการเขารหัส เชน MPEG สําหรับใชเขารหัสขอมูลมัลติมีเดียเก็บลงไฟลอีกดวย

RTSP จะทําหนาที่ควบคุมการรับสงขอมูลมัลติมิเดียอยางตอเนื่องระหวางเซรฟเวอรที่เก็บขอมูลกับ
คอมพิวเตอรผูรับขอมูล โดยมีไฟลฟอรตแมตสําหรับเก็บขอมูล เชน ASF ,QuickTime หรืออื่นๆซึ่งการสราง
ไฟลขอมูลมัลติมีเดียนี้ก็ไดมาจากการนําขอมูลมาทําการเขารหัสโดยใชตัวเขารหัสรับสงขอมูลแทบทั้งสิ้น
เชน QuickTime Player,RealOne Player และ Window Media Player เปนตน

รูปที่ 8 แสดงหลักการทํางานพื้นฐานของระบบ สตรีมมิ่งมีเดีย

(http://gftp.csxix.com/files/Wincentz/episode2.doc)
16 

รูปที่9RTSP Operation
(http://www2.nayoktech.ac.th/sompot/nu/multimediaTechnologies/pptTheory/ch12.pps)

5. ปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับการรับ-สงขอมูล

5.1 Delay (ความลาชา) ความลาชาในการสงขอมูลแบบแพ็จเกจ เกิดจากการรวบรวมสัญญาณ


ที่สุมตัวอยางจากสัญญาณเสียง, เวลาในการเขารหัส/ถอดรหัส, เวลาในการเขาแพ็จเกจ , Jitter buffer
delay, และความลาชาของเน็ตเวิรค, ปญหาการลาชาจากการรอในแถวคอยและ ปญหาที่เกิดจากความ
ลาชาของสัญญาณจากปลายสายหนึ่งถึงอีกปลายสายหนึ่ง ในเครือขาย

5.2 Jitter (การกระตุกหรือสั่น) เกิดจากความไมแนนอนของระยะเวลาระหวางแพ็คเกจที่มาถึง


ซึ่งเกิดจากความลาของการสงสัญญาณในเครือขาย

5.3 Packet Loss (การสูญหายของแพ็คเกจ) เครือขาย IP ไมสามารถรับประกันไดวา แพ็คเกจที่


สงไปครบและถูกตองตามลําดับ แพ็คเกจสวนใหญศูนยหายไปในชวงที่มีการใชงานมาก ซึ่งเกิดจาก
ความจุไมเพียงพอ และการรับสงขอมูล ตองการความตอเนื่องของเวลา
17 

5.4 ปญหาเนื่องจากการใช IP masque ring เกิดจาก IP masque ring เปนการใช Terminal หลาย
ตัวเพื่อเขาสู เครือขาย IP ดวย Public IP Address เพียงตัวเดียว โดยใชวิธที ี่เรียกวา NAT (Network
address translation)

6.ประโยชนของ RTSP

- ทํางานบน Transmission Control Protocol (TCP) จึงทําใหขอมูลไมมีการสูญหายระหวางรับ/สง


ขอมูล ระหวาง server กับ client

- RTSP สามารถเลือกการทํางานใหเหมาะสมกับความเร็วของการใชงาน Internet

- RTSP สามารถทํางานไดตอเนื่อง ซึ่งอาศัย Buffer ในการเก็บขอมูลในการทํางาน

- RTSP สามารถควบคุมการนําเสนอ ในกรณีใหบริการแบบ On-demand RTSP

- RTSP สามารถใหบริการกับผูใชบริการจํานวนมากได

7.สรุปของ RTSP
1. RTSP ทํางานบน Transmission Control Protocol (TCP)จึงทําใหขอมูลไมสูญหายขณะมีการรับ/สง
ระหวาง Server / Client เมื่อเทียบกับการทํางานดวย User Datagram Protocol(UDP)
2. RTSP สามารถเลือกการทํางานใหเหมาะสมกับความเร็วของการใชงาน Internet
3. RTSP สามารถทํางานไดตอเนื่อง ซึ่งอาศัย Buffer ในการเก็บขอมูลในการทํางานใชงาน RTSP
18 

บรรณานุกรม
1. หลักการทํางานของ RTP สืบคนเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 จาก
http://campus.en.kku.ac.th/project/2006/coe2006-18/Logbook3.doc

2.ขอดี-ขอเสีย RTP สืบคนเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 จาก


http://wiki.nectec.or.th/ngiwiki/bin/viewfile/Main/SUT-
TelecommunicationAndNetworks?rev=1;filename=RTP.ppt

3.เทคโนโลยีที่ใชรวมกับ RTSPสืบคนเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 จาก


http://gftp.csxix.com/files/Wincentz/episode2.doc

4. RTSP Operation สืบคนเมื่อวันที่25 มกราคม 2551 จาก


http://www2.nayoktech.ac.th/sompot/nu/multimediaTechnologies/pptTheory/ch12.pps

5.โปรโตคอลที่ทํางานรวมกับ RTP สืบคนเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551


http://www.nectec.or.th/NTJ/No10/papers/No10_tutor_1.pdf

6.ตน ตัณฑสทุ ธิวงศ, สุพจน ปุณณชัยยะ, สุวัฒน ปุณณชัยยะ(2545).REAL-TIME STREAMING


PROTOCOL (RTSP: RFC 2326)กรุงเทพฯ: Provision.

You might also like