You are on page 1of 27

Network Model

อาจารย์อดิศยา เจริญผล
สาขาวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
มนุษย์สามารถสื่อสารกันได้โดยใช้ภาษาเดียวกัน เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อีก
เครื่องหนึ่งได้จาเป็นต้องใช้ “ภาษา” เดียวกัน ภาษาที่ว่านี้ศัพท์ทางคอมพิวเตอร์จะเรียกว่า
“โปรโตคอล” (Protocol) เช่น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตใช้ โปรโตคอล
TCP/IP ส่วนคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการเครือข่ายเน็ตแวร์ (NetWare) ใช้โปรโตคอล
IPX/SPX ในการสื่อสารกัน
โปรโตคอล คือ กฎ ขั้นตอน และรูปแบบของข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์สอง
เครื่องใดๆ ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
โปรโตคอลของเครือข่าย อาจเรียกว่า “สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture)”
จุดประสงค์คือ เพื่อให้การพัฒนาระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและง่ายขึ้น จึงมีการแบ่ง
โปรโตคอลออกเป็นชั้นๆ หรือเลเยอร์ (Layer) การทางานในแต่ละเลเยอร์จะไม่ซ้าซ้อนกัน
โดยเลเยอร์ที่อยู่ต่ากว่าจะทาหน้าที่ให้บริการ (Service) กับชั้นที่อยู่สูงกว่าโดยที่เลเยอร์ที่อยู่สูง
กว่าไม่จาเป็นต้องทราบรายละเอียดว่า เลเยอร์ที่อยู่ต่ากว่ามีวิธีให้บริการอย่างไร เพียงแค่รู้ว่ามี
บริการอะไรบ้าง และแต่ละบริการคืออะไรก็เพียงพอ ซึ่งแนวคิดนี้เรียกว่า “เทคโนโลยีเลเยอร์
(Layer Technology)”
OSI Model
องค์การที่ชื่อว่า The International Organization for Standardization เป็นผู้กาหนด
มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย โดยได้สร้างแบบจาลอง OSI Model (Open System
Interconnection Reference Model) แบ่งชั้นเลเยอร์การสื่อสารในระบบเครือข่าย
OSI Model
Layer Description
Layer 1 : Physical ครอบคลุมในส่วนของการออกแบบสายสัญญาณและอุปกรณ์เครือข่าย เช่น hubs,
repeaters, network interface card
Layer 2 : Data Link การติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์จะใช้หมายเลข MAC Address ของอุปกรณ์ เช่น Bridges,
Switches Layer2
Layer 3 : Network จัดการเส้นทางการเชื่อมต่อจากเครื่องต้นทางไปยังเครื่องปลายทางโดยใช้หมายเลย IP
Address ในการติดต่อสื่อสาร
Layer 4 : Transport แบ่งข้อมูลออกเป็น Segment ในเลเยอร์บนให้เหมาะสมกับการส่งต่อไปยังเลเยอร์ลา่ ง
ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของการส่งข้อมูล
Layer 5 : Session เชื่อมต่อควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทาง ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูลให้สอดคล้อง
กัน
Layer 6 : Presentation ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้านหนึ่งในชั้นเดียวกันเพื่อการรับ-ส่งข้อมูลจาก
โปรแกรมประยุกต์ กาหนดรูปแบบการสื่อสาร
Layer 7 : Application ทาหน้าทีติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้งานและแปลความหมายให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แปล
ความหมายการกดแป้นคีย์บอร์ด คลิกเมาส์ เป็นต้น ซึ่งต้องทางานผ่านโปรแกรมประยุกต์
แนวความคิดในการแบ่งชั้นสื่อสาร
สามารถสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้
1. เพื่อลดความซ้าซ้อน ทาให้เรียนรู้และทาความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
2. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสาร มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน และแตกต่างกัน
3. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสารปฏิบัติงานตามฟังก์ชั่นหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและสอดคล้องกับ
มาตรฐานสากล
4. จากขอบเขตความรับผิดชอบในแต่ละชั้นสื่อสาร ทาให้การสื่อสารเกิดความคล่องตัว และเป็น
การป้องกันกรณีเกิดการเปลี่ยนแปลงบนชั้นสือ่ สารหนึ่งๆ แล้วส่งผลกระทบต่อชั้นสื่อสาร
อื่นๆ
5. จานวนชั้นสื่อสารจะต้องมีจานวนมากเพียงพอ และเหมาะสมต่อการจาแนกหน้าที่ทางาน
ให้กับแต่ละชั้นสื่อสาร และไม่ควรมากเกินความจาเป็น
แนวความคิดในการแบ่งชั้นสื่อสาร
“แบบจาลอง OSI เป็นเพียงกรอบการทางานทีเ่ ป็นทฤษฎีที่ช่วยสร้างความ
เข้าใจเกี่ยวกับ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ แต่แบบจาลองดังกล่าวไม่ได้
ผนวกกรรมวิธีของการสือ่ สารเอาไว้ ซึ่งการสื่อสารจริงๆ นั้น จะเกิดขึ้นจาก
โปรโตคอลที่ใช้สื่อสารกัน โดยแต่ละชั้นสื่อสารจะมีโปรโตคอลประจาชัน้ ที่คอย
บริการตามส่วนงานของตนที่ได้รับมอบหมาย และชั้นสื่อสารหนึง่ ๆ อาจมี
โปรโตคอลไว้คอยบริการมากกว่าหนึ่งตัวก็เป็นได้”
Peer-to-Peer Processes
การจัดองค์ประกอบของชั้นสื่อสาร
ชั้นสื่อสารทั้ง 7 บนแบบจาลอง OSI ยังสามารถแบ่งการทางานออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มย่อยที่ 1 : ชั้นสื่อสารที่สนับสนุนด้านเครือข่าย (Network Support Layers)
ประกอบด้วยชั้นสื่อสารชั้นที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งก็คือ Physical Layer, Data Link Layer,
Network Layer กลุ่มย่อยส่วนนี้จะทางานเกี่ยวข้องกับรายละเอียดทางไฟฟ้า การเชื่อมต่อ
ทางกายภาพ physical address และเวลาที่ใช้ในการขนส่งข้อมูล ซึ่งต้องมีความแน่นอนและ
เชื่อถือได้
กลุ่มย่อยที่ 2 : ชั้นสื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูล (Transport Layers)
คือ ชั้นสื่อสารชั้นที่ 4 ซึ่งก็คือ Transport Layer ทาหน้าที่ในการลิงค์เชื่อมโยงระหว่างกลุ่ม
ย่อยที่ 1 และกลุ่มย่อยที่ 3
กลุ่มย่อยที่ 3 : ชั้นสื่อสารที่สนับสนุนงานผู้ใช้ (User Support Layers)
ประกอบด้วยชั้นสื่อสารชั้นที่ 5, 6 และ 7 ซึ่งก็คือ Session Layer, Presentation Layer,
Application Layer ในกลุ่มนี้จะอนุญาตให้ระบบซอฟต์แวร์ที่มีความแตกต่างกัน สามารถ
ปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างไม่มีปัญหา
การจัดองค์ประกอบของชั้นสื่อสาร

7 Application
3 User Support 6 Presentation
5 Session
2 Transport 4 Transport
3 Network
1 Network Support 2 Data Link
1 Physical
Encapsulation การสื่อสารบนแบบจาลอง OSI

Decapsulation
การสื่อสารบนแบบจาลอง OSI
Encapsulation เป็นการจัดเตรียมข้อมูลให้มี่ความเหมาะสมสาหรับการสื่อสารของ
protocol ในแต่ละระดับชั้น เปรียบเสมือนเรามีจดหมายฉบับหนึ่งที่ต้องการส่งไปให้เพื่อนที่อยู่
ต่างประเทศ เราจะต้องทาการนาจดหมายนี้พับใส่ซองและเขียนที่อยู่ของเพื่อนลงบนหน้าซอง
การนาจดหมายใส่ซองและเขียนที่อยู่ปลายทางนี้ก็คือการทา encapsulation นั่นเอง และเมื่อ
เรานาจดหมายนี้ไปใส่ไว้ในตู้จดหมายและบุรุษไปรษณีย์มาทาการเก็บจดหมายนี้ไปที่ที่ทาการ
ไปรษณีย์ ที่ทาการไปรษณีย์ทาการนาจดหมายทั้งหมดมัดรวมกันแล้วใส่ไว้ในถุงเมล์อากาศแล้ว
ทาการปิดฉลากระบุที่ทาการไปรษณีย์ของเมืองในประเทศปลายทางที่เราต้องการส่ง การนา
จดหมายมัดใส่ถุงเมล์และทาการปิดฉลากระบุก็คือการทา encapsulation ในอีกระดับหนึ่ง
ของอีก protocol ที่อยู่ต่ากว่า ซึ่งเราจะเห็นว่าใน protocol แต่ละระดับชั้นจะใช้ข้อมูลเพื่อ
ระบุปลายทางไม่เหมือนกัน พนักงานขนส่งเมล์อากาศจะใช้ฉลากที่อยู่บนถุงเมล์ระบุที่ทาการ
ไปรษณีย์ปลายทาง ในขณะที่บุรุษไปรษณีย์จะใช้ที่อยู่บนซองจดหมายในการระบุปลายทาง ซึ่ง
หลักการทางานของ encapsulation ใน internet protocol ก็เป็นเช่นเดียวกับตัวอย่าง
ข้างต้น ซึ่งจะได้อธิบายในรายละเอียดต่อไป
การสื่อสารบนแบบจาลอง OSI
Decapsulation คือการนาข้อมูลออกจากการทา encapsulation และทาการตรวจสอบที่
อยู่ปลายทางของข้อมูล จากนั้นจึงทาการส่งต่อข้อมูลไปยังปลายทางที่ถูกต้องต่อไป
เปรียบเสมือนที่ทาการไปรษณีย์ทาการนาซองจดหมายออกจากถุงเมล์ และทาการคัดแยกส่ง
ต่อไปให้บุรุษไปรษณีย์ทาการนาส่งจดหมายไปยังผู้รับตามที่ระบุบนหน้าซองต่อไป
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 1 : Physical
ทาหน้าที่ในการประสานงานการทางานในเรื่องของการส่งกระแสบิต (Bit Stream) บน
สื่อกลางที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนด
คือ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 2 : Data Link
ทาหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่งข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากชั้นสื่อสารฟิสิคัลและกาหนด
รูปแบบของข้อมูลที่ส่งผ่านภายในเครือข่ายให้อยู่ในรูปแบบของ เฟรม (Frame)
คือ ทาหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 2 : Data Link
- ฟิสิคัลแอดเดรส (Physical Address) เช่น หมายเลขการ์ดเครือข่าย Mac Address ซึ่งใช้
ระบุถึงตาแหน่งของโหนดนั้นๆ บนเครือข่าย คาสั่งที่ใช้หา Physical Address หรือ Mac
Address คือ ipconfig /all หรือ getmac
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 2 : Data Link
- ควบคุมการไหลของข้อมูล
- ควบคุมข้อผิดพลาด หากเกิดการสูญหายระหว่างทางระบบต้องตรวจจับและสามารถ
ส่งข้อมูลรอบใหม่ได้
- การควบคุมการเข้าถึง โปรโตคอลในชั้น Data Link มีการจัดการเกี่ยวกับเรื่องสิทธิ์ในการ
ส่งข้อมูล
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 3 : Network Layer
ทาหน้าที่จัดการกับรูปแบบข้อมูลที่เรียกว่า Packet ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทาง
และปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กาหนด
คือ ทาหน้าที่ในการส่งมอบ Packet จาก Host ต้นทางไปยัง Host ปลายทาง
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 3 : Network Layer
- ลอจิคัลแอดเดรส (Logical Address) ทางานอยู่ในชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก โดยนามาระบุ
ตาแหน่งของอุปกรณ์ แต่ลอจิคัลแอดเดรสจะไม่ยึดติดกับอุปกรณ์สามารถนาไปใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ ตัวอย่างเช่น IP Address คาสั่ง ใช้หา IP Address คือ ipconfig /all

- การเลือกเส้นทาง(Routing) เครือข่าย internet จึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ทเี่ รียกว่าRouter


ซึ่งเป็นอุปกรณ์สาคัญใช้กาหนดเส้นทางการส่งข้อมูลบนเครือข่าย
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 4 : Transport Layer
ทาหน้าที่ตรวจสอบและควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง ให้
ถูกต้อง
คือ ทาหน้าที่ในการส่งมอบข่าวสารจาก Process ต้นทางไปยัง Process ปลายทาง
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 4 : Transport Layer
- ตาแหน่งที่อยู่ของพอร์ต ชั้นสื่อสาร Transport จะมีการใส่ Header ที่เรียกว่า Port
Address เพื่อให้ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กสามารถส่ง Packet ต่างๆ ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้
อย่างถูกต้องและครบถ้วน
- การแบ่งเซกเมนต์และการรวบรวม
- การควบคุมการเชื่อมต่อในลักษณะ process-to-process
- ควบคุมการไหลของข้อมูล ควบคุมการไกลข้อมูลระหว่างฝั่งส่งและรับ
- ควบคุมข้อผิดพลาด (Error Control)
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 5 : Session Layer
ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูล
ระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เช่น

การล็อคอิน การกรอกรหัสผ่าน การใช้โฮสต์ การออกจากระบบ

คือ ทาหน้าที่ในการควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 5 : Session Layer
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 6 : Presentation Layer
ทาหน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการ
จัดรูปแบบและนาเสนอข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของ
เครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล
คือ ทาหน้าที่ในการแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการบีบอัดข้อมูล
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Layer 7 : Application Layer
เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์ จะแปลง
ข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล
คือ ทาหน้าที่ในการจัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้
การทางานของแต่ละเลเยอร์
Summary
To allow access to network
Application resources
To translate, encrypt, and
compress data Presentation
To establish, manage, and
Session terminate sessions
To provide reliable process-
to-process message delivery
and error recovery
Transport
To move packets from source

To organize bits into frames;


Network to destination; to provide
internetworking
to provide hop-to-hop
delivery Data Link To transmit bits over a
medium; to provide mechanical
Physical and electrical specifications
การทางานของแต่ละเลเยอร์
แบบจาลอง OSI ภาระหน้าที่ เปรียบเทียบกับตัวอย่างการ
ดาเนินงานทางธุรกิจ
7. Application Layer โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่อานวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ใช้ตามความต้องการ
สินค้าสาเร็จรูป ที่ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อได้ตาม
ความต้องการ

6. Presentation Layer การนาเสนอข้อมูล ให้เข้าใจ ความหมาย


ตรงกันทั้งสองฝั่ง
เคาน์เตอร์แสดงสินค้า

5. Session Layer ควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและ


ปลายทางให้สามารถสื่อสารได้จนสาเร็จ
เจ้าของร้านโทรศัทพ์ติดต่อกับลูกค้าเพื่อ
สอบถามยืนยันถึงสินค้าที่ได้จัดส่งไป

4. Transport Layer การรับประกันการส่งข้อมูลให้ถึงมือผู้รับอย่าง


แน่นอน
การจัดส่งสินค้า หรือ การส่งพัสดุลงทะเบียน
ไปรษณีย์

3. Network Layer การกาหนดเส้นทางเพื่อการส่งข้อมูลไปยัง


ปลายทาง
การกระจายสินค้าไปตามแต่ละพื้นที่

2. Data Link Layer การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของเฟรม


ข้อมูล
การบรรจุสินค้าลงในหีบห่อพร้อมระบุที่อยู่
ปลายทาง

1. Physical Layer อุปกรณ์ฮาร์ตแวร์ สายสัญญาณ และอุปกรณ์


เชื่อมต่อ
รถบรรทุกส่งของ และ ถนน

You might also like