You are on page 1of 19

EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

การทดลองที่ 1
การตั้งคาและเชื่อมตอเครือขายแลนไรสาย
(WLAN Configuration and Connection)

1.1 วัตถุประสงค
1.1.1 เพื่อเรียนรูการติดตั้งและเชื่อมตอเครือขายไรสาย IEEE 802.11 ขั้นพื้นฐาน
1.1.2 เพื่อเรียนรูการพิสูจนตัวตนของลูกขายในระบบเครือขายไรสาย เบื้องตน
1.1.3 เพื่อวิเคราะหโพรโทคอลที่ใชในการเชื่อมตอเครือขายไรสาย IEEE 802.11 แบบเปด

1.2 เครือขายแลนไรสาย (Wireless Local Area Network: WLAN)


ศาสตราจารยนอรแมน แอบรามสัน (Norman Abramson) อาจารยป ระจํามหาวิท ยาลัยฮาวาย ไดเริ่มพัฒนา
เครือขายการสื่อสารแบบไรสายขึ้นเปนครั้งแรกใชชื่อวา ALOHAnet ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) โดยระบบนี้มีการใช
คอมพิวเตอร 7 ตัวกระจายไปยังเกาะทั้งหมด 4 เกาะ แลวทําการสื่อสารผานคลื่นวิทยุคลายคอนแบบตนทุนต่ํา มายังศูนย
คอมพิวเตอรกลางที่เกาะโออาฮู โดยไมมีการใชสายโทรศัพท [2]
หลังจากนั้น ในป พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ฟริทซ อาร จีเฟลเลอร (Fritz R. Gfeller) และ เออรส เฮนริช บาปสต
(Urs Heinrich Bapst) ไดเผยแพรงานวิจัยในการทดลองระบบการสื่อสารไรสายโดยใชอินฟราเรดในวารสาร IEEE [3]
จากนั้น ในป พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) พี เฟอรเริรต (P. Ferrert) ไดรายงานผลการทดลองระบบการสื่อสารไรสายโดยใช
คลื่นวิทยุแบบแผสเปกตรัมรหัสเดี่ยว (Single Code Spread Spectrum) ในการประชุมโทรคมนาคมระดับ ชาติของ IEEE
ในป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) คาเวห พาหลาวัน (Kaveh Pahlavan) ไดทําการเปรียบเทียบระหวางการใชอินฟราเรดและ
คลื่นวิทยุแบบแผสเปกตรัมโดยใชชองสัญ ญาณรวมแบบเขารหัส (Code Division Multiple Access: CDMA) สําหรับ
เครือขายการสื่อสารแบบไรสายในสํานักงาน และมีการนําเสนอในวารสาร Computer Networking Symposium ของ
IEEE [4] รวมถึงตีพิมพในนิตยสาร Communications Magazine ของ IEEE [5] อีกดวย
สําหรับ การใชงานในเชิงพาณิชยนั้น ไมเคิล มารคุส (Michael Marcus) หนึ่งในทีมงานของ คณะกรรมการการ
สื่อสารแหงชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Commission : FCC) ไดนําเทคโนโลยีการแผสเปกตรัมมา
ทดลองใชในยานความถี่สําหรับ กิจการดานอุต สาหกรรม วิทยาศาสตรและการแพทย (The Industrial, Scientific and
Medical band : ISM band) ซึ่งเปนยานความถี่ที่สามารถใชงานไดโดยไมตองมีใบอนุญ าต [6] จากนั้น โมหเซ็น เคฟฮราด
(Mohsen Kavehrad) ไดรายงานผลของการทดลองระบบตูโทรศัพทสาขา (Private Branch Exchange : PBX) แบบไร
สายโดยใชชองสัญญาณรวมแบบเขารหัส แสดงใหเห็นถึงความพยายามในการนําเทคโนโลยีพื้นที่สวนทองถิ่นไรสายไปใชใน
เชิงอุตสาหกรรม
ในป พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) บริษัท เอ็นซีอาร/เอทีแอนดที (NCR Corporation/AT&T) ไดทําการสรางตนแบบ
ของมาตรฐานเทคโนโลยีพื้นที่ทองถิ่นไรสายขึ้นคือมาตรฐาน 802.11 ในเมืองนิวเวเกน (Nieuwegein) ประเทศเนเธอรแลนด
โดยตองการที่จะนํามาใชสําหรับ ระบบเก็บ เงิน ซึ่งผลิตภัณฑไรสายตัวแรกที่ถูกนําออกสูตลาดชื่อ WaveLAN มีอัต ราการสง
ขอมูลที่ 1 เมกะบิตตอวินาที และ 2 เมกะบิตตอวินาที หลังจากนั้นมาตรฐาน 802.11b และ 802.11a ไดถูกออกแบบและ
กํา หมดมาตรฐานโดยสถาบั นวิช าชีพ วิศ วกรไฟฟ าและอิ เล็ กทรอนิ ก ส (Institute of Electrical and Electronics
Engineers: IEEE) [6] ซึ่งมี วิก เฮยส (Vic Hayes) เปนประธาน

1-1
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

1.2.1 มาตรฐานเครือขายพื้นที่ทองถิ่นไรสาย
มาตรฐานสําหรับเครือขายพื้นที่ทองถิ่นไรสายนั้นถูกกําหนดขึ้นโดยสถาบันวิชาชีพ วิศวกรไฟฟาและอิเ ล็กทรอนิกส
โดยประกอบดวยมาตรฐานตาง ๆ ดังตอไปนี้

- IEEE 802.11b
เปนมาตรฐานที่ไดรับ การยอมรับ และนิยมใชกันอยางแพรหลาย โดยการกํา หนดมาตรฐานนั้นเสร็จสมบูรณเ ปน
มาตรฐานแรกในป พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) โดยใชเ ทคโนโลยีการมอดูเ ลตเชิงเลขทางรหัสแบบอิสระ (Complimentary
Code Keying: CCK) รวมกับ เทคโนโลยีการแผสเปกตรัมแบบลําดับ ตรง (Direct Sequence Spread Spectrum: DSSS)
ทํา ให สามารถสง ข อมูลด วยอัต ราการสง ขอมูล สูง สุด ที่ 11 เมกะบิต ตอวิ นาที โดยมี ระยะทางใช งานสูง สุด ภายในอาคาร
ประมาณ 35 เมตร และภายนอกอาคารประมาณ 140 เมตร ผานคลื่นวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่
อนุญ าตใหใ ชง านสํา หรั บ กิ จการดา นอุ ต สาหกรรม วิ ทยาศาสตร และการแพทย โดยไม ตอ งขอใบอนุญ าต อยา งไรก็ต าม
อุป กรณที่ใชงานบนยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ นั้นนอกจากเทคโนโลยีเครือขายพื้นที่ทองถิ่นไรสายแลวยังมีอุป กรณเชน เตา
ไมโครเวฟ อุป กรณบ ลูทูธ โทรศัพทไรสายภายในบาน รวมถึงอุป กรณอื่นที่ใชคลื่นวิทยุอีกดวย จึงทําใหการใชงานนั้นอาจมี
ปญหาในเรื่องของสัญญาณรบกวนของอุปกรณเหลานี้

- IEEE 802.11a
เปนมาตรฐานที่มีการกําหนดมาตรฐานเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) เชนเดียวกันกับ มาตรฐาน IEEE
802.11b แตมีการเผยแพรชากวา มาตรฐาน IEEE 802.11a ใชเทคโนโลยีการมัลติเพล็กซแบงความถี่แบบตั้งฉากหรือโอเอฟ
ดีเอ็ม (Orthogonal Frequency Division Multiplexing: OFDM) มีอัตราการสงขอมูลสูงสุดที่ 54 เมกะบิตตอวินาที ซึ่งสูง
กวามาตรฐาน IEEE 802.11b โดยมีระยะทางใชงานสูงสุดภายในอาคารประมาณ 35 เมตร และภายนอกอาคารประมาณ
120 เมตร โดยใชคลื่นวิทยุยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่ไมไดรับอนุญ าตใหใชงานโดยทั่วไปในประเทศไทย
เนื่องจากสงวนไวสําหรับ กิจการทางดานดาวเทียม ทําใหมาตรฐาน IEEE 802.11a ไมพบปญ หาของสัญ ญาณรบกวน [7]
เนื่องจากไมมีอุป กรณที่ใชงานในยานความถี่เ ดียวกันมากนักสงผลใหมีอัตราการสงขอมูลสูง อยางไรก็ต ามการสงขอมูลดวย
ความถี่ สูงนี้ทํ าใหการสงข อมูลนั้น ไมสามารถทะลุท ะลวงโครงสร างของตึกได มากนัก อีกทั้ งอุป กรณที่รองมาตรฐาน IEEE
802.11a ไมสามารถใชงานรวมกับ อุป กรณที่รองรับ มาตรฐาน IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g อีกทั้งยังมีราคาแพง
ดังนั้นจึงไมคอยไดรับ ความนิยมเทาที่ควร

- IEEE 802.11g
เปนมาตรฐานที่นิยมใชงานกันมากในปจจุบันและไดเขามาทดแทนอุป กรณที่รองรับ มาตรฐาน IEEE 802.11b โดย
การกําหนดมาตรฐานนั้นเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) โดยนําเอาเทคโนโลยีโอเอฟดีเอ็มของมาตรฐาน IEEE
802.11a มาใชงานบนย านความถี่ 2.4 กิก ะเฮิ รตซ โดยมีอัต ราการสง ขอมูลสูงสุ ด ที่ 54 เมกะบิต ตอวินาที [8] ซึ่งสู งกว า
มาตรฐาน IEEE 802.11b ที่ใชงานบนยานความถี่เดียวกัน นอกจากนั้นยังมีระยะทางการใชงานที่มากกวา IEEE 802.11a
คือ มีระยะทางใชงานสูงสุดภายในอาคารประมาณ 38 เมตร และภายนอกอาคารประมาณ 140 เมตร สามารถใชงานรวมกัน
กับ อุป กรณที่รองรับ มาตรฐาน IEEE 802.11b ได (Backward-Compatible) อยางไรก็ตามอุป กรณที่รองรับ มาตรฐาน IEEE
802.11g ก็จะพบปญหาของสัญญาณรบกวนจากอุป กรณอื่นที่ใชงานบนยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ เชนเดียวกับ มาตรฐาน
IEEE 802.11b

1-2
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

- IEEE 802.11n
เปนมาตรฐานที่มีก ารกํ าหนดมาตรฐานเสร็จสมบูร ณในป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ซึ่ง พัฒนามาตรฐาน IEEE
802.11 ที่มีอยูเดิมโดยการเพิ่มสายอากาศแบบหลายเอาทพุต หลายอินพุตหรือเรียกวาสายอากาศแบบไมโม (Multiple-
input Multiple-output: MIMO) ซึ่งสามารถรองรับ การสงขอมูลไดสูงสุด 4 ชุด ขอมูล (Spatial Stream) มาตรฐาน IEEE
802.11n ทํางานบนยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ และ 5 กิกะเฮิรตซ โดยมีอัตราการสงขอมูลสูงสุดใน 1 ชุด ขอมูลคือ 150 เม
กะบิตตอวินาที หรืออัตราการสงขอมูลสูงสุดคือ 600 เมกะบิตตอวินาที มีระยะทางใชงานสูงสุดภายในอาคารประมาณ 70
เมตร และภายนอกอาคารประมาณ 250 เมตร นอกจากนั้นยัง สามารถใชงานรว มกั บ อุป กรณที่ร องรับ มาตรฐาน IEEE
802.11b และ IEEE 802.11g ได

- IEEE 802.11ac
เปนมาตรฐานที่มีการกําหนดมาตรฐานเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) พัฒนามาจากมาตรฐาน IEEE
802.11n [9] โดยปรับเปลี่ยนใหมีแบนดวิดทที่กวางขึ้นคือ 80 และ 160 เมกะเฮิรตซ ทํางานบนยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ
โดยใชสายอากาศแบบไมโมเชนเดียวกับ มาตรฐาน IEEE 802.11n แตสามารถรองรับ การสงขอมูลไดสูงสุด 8 ชุด ขอมู ล
นอกจากนั้นยังเพิ่มคุณสมบัติของการรองรับหลายผูใชงานแบบไมโม (Multi-User MIMO: MU-MIMO) ดังแสดงในรูป ที่ 6.5
และสามารถมอดูเลทสัญญาณในลําดับ ชั้นที่สูงกวาคือ 256-QAM
อุป กรณที่รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11ac ที่แบนดวิดท 80 เมกะเฮิรตซในชวงแรกนั้น จะสามารถรองรับ การสง
ขอมูลไดสูงสุด 3 ชุดขอมูล โดยมีอัตราการสงขอมูลสูงสุดใน 1 ชุดขอมูลคือ 433.3 เมกะบิต ตอวินาทีหรืออัตราการสงขอมูล
สูงสุดคือ 1,300 เมกะบิตตอวินาที [10] หลังจากนั้นผูผลิตไดพัฒนาอุป กรณซึ่งมีชื่อวา Wave 2 ซึ่งสามารถรองรับแบนดวิด ท
160 เมกะเฮิรตซ สงขอมูลไดสูงสุด 4 ชุดขอมูล และสามารถรองรับหลายผูใชงานแบบ MIMO ได [11]-[13]

รูปที่ 1.1 ภาพเปรียบเทียบ SU-MIMO และ MU-MIMO [14]

- IEEE 802.11ad
เปนมาตรฐานที่มีการกําหนดมาตรฐานเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) โดยใชงานบนยานความถี่ 60 กิ
กะเฮิรตซ ซึ่งสงผลใหคุณลักษณะการแพรกระจายของคลื่นมีความแตกตางกับการใชงานบนยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซและ
5 กิกะเฮิรตซ อยางเห็นไดชัด อุปกรณที่รองรับ มาตรฐาน IEEE 802.11ad จะใชชื่อวา WiGig โดยมีอัต ราการสงขอมูลสูงสุด
คือ 6,912 เมกะบิตตอวินาที หรือ 6.75 กิกะบิต ตอวินาที ซึ่งบริษัททีพี-ลิงค (TP-LINK) ไดทําการสรางอุป กรณเราเตอรที่
รองรับมาตรฐาน IEEE 802.11ad ตัวแรกขึ้นคือ TP-Link Talon AD7200 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016)

1-3
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

รูปที่ 1.2 เราเตอร TP-Link Talon AD7200 [15]

1.2.2 โครงสรางการเชื่อมตออุปกรณ
การสื่อสารในแลนไรสายเปนการกระจายคลื่นวิทยุ เครื่องรับ จะตองอยูภายใตขอบเขตพื้นที่ใหบ ริการของเครื่องสง
โดยใชชื่ออางอิงกลุมบริการ (Service set identifier (SSID)) ที่มีขนาดไมเกิน 32 ตัวอักษร ฉะนั้น อุป กรณไรสายทุกเครื่อง
ที่ตองการเชื่อมตอจะตองระบุ SSID เปนชื่อเดียวกับ ชื่อของพื้นที่ใหบ ริการ สามารถแบงรูป แบบโครงสรางการเชื่อมตอ
อุป กรณได 2 รูปแบบ คือ แบบ Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer และแบบโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure)
1. แบบ Ad-Hoc สถานีบ นเครือขายสามารถสื่อสารถึงกันโดยตรงโดยติดตั้งอุป กรณ NIC (Network Interface
Cards) ที่สามารถสื่อสารแบบไรสายได
2. แบบ Infrastructure เป นการเชื่อมตอที่ ใชอุป กรณควบคุมการทํางานศูน ยกลางที่เรียกว า “สถานีแมขา ย
(Access Point (AP))” สถานีลูกขาย (Client) ไมสามารถสื่อสารกับ สถานีอื่นไดโดยตรงจะตองสื่อสารผานสถานีแมขายที่ทํา
หนาที่สงตอขอมูลไปยังสถานีปลายทาง โดยทั่วไปสถานีแมขายจะเชื่อมตอกับ ระบบที่เรียกวา Distribution System ซึ่งเปน
ระบบที่ใหบริการขอมูลแกผูใชในเครือขาย ตัวอยางเชน อีเทอรเน็ต (Ethernet) เปนตน

(a) (b)

รูปที่ 1.3 โครงสรางการเชื่อมตออุป กรณบ นเครือขาย


(a) การเชื่อมตอแบบ Ad-Hoc (b) การเชื่อมตอแบบ Infrastructure
ปจจุบ ันนิยมวางโครงสรางแลนไรสายเปนแบบ Infrastructure โดยเลือกตําแหนงในการติดตั้งสถานีแมขายให
สามารถใชงานเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปจะมีการติด ตั้งสถานีแมขายไวในตําแหนงตางๆ เช น ติดตั้งหอยไว
กับ เพดานหรือขางฝาพนัง เทคนิคในการวางสถานีแมขายใหครอบคลุมมากที่สุด เปนการวางไวที่ตําแหนงศูนยก ลางที่จะใช
งาน เพราะสัญญาณจะเดินทางไปยังตําแหนงตางๆ ไดดี ลดโอกาสที่จะเกิดจุดอับสัญญาณ

1-4
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

1.2.3 การติดตั้งสถานีแมขาย (Access Point: AP)


โดยทั่วไปจะมีการติดตั้งสถานีแมขายไวในตําแหนงตางๆ ไดแก ติดตั้งหอยไวกับ เพดานหรือขางฝาพนังซึ่ งเปนวิธีที่
ยุงยากเนื่องจากตองเดินสายไฟและตองมีการเจาะยึด อุป กรณ รวมถึงฝาผนังนั้นเปนตัวที่กีด ขวางการเดินทางของคลื่ นวิท ยุ
ทําใหคลื่นเดินทางไปไดไมไ กล สําหรับ วิธีการติดตั้งสถานีแมขายที่งายที่สุด จะเปนการติด ตั้งบนตูหรื อโตะซึ่งเหมาะสมกับ
พื้นที่ใชงานขนาดเล็กๆ เทานั้น อยางไรก็ตามในการติดตั้งสถานีแมขายสิ่งที่ควรคํานึงถึงคือ ตําแหนงที่ติดตั้งสถานีแมขายนั้น
ควรเปนตําแหนงที่อยูในแนวสายตา (Line of Sight) ของเครื่องรับ หรือสถานีลูกขายและควรเปนบริเวณที่มักจะมีการใชงาน
ของผูใชดวย เทคนิคในการวางสถานีแมขายใหครอบคลุมมากที่สุดเปนการวางไวที่ตําแหนงตรงจุด ศูนยกลางของจุดที่ใ ชงาน
เพราะสัญ ญาณจะเดินทางไปยังจุดตางๆ ไดดี ลดโอกาสที่จะเกิด จุดอับ สัญ ญาณเนื่องจากสถานีแมขายสวนใหญจะใชเสา
อากาศแบบรอบทิศทาง (Omni Directional Antenna) ที่แพรกระจายคลื่นมีรูป รางลักษณะคลายวงกลมและจะมีความแรง
ลดลงเมื่อหางจากจุดศูนยกลางออกไปเพราะฉะนั้นการเลือกการวางที่ตําแหนงตรงกลางจึงเหมาะสมที่สุด ปจจุบั นสถานีแม
ขายไดรับ การพัฒนาออกมาหลากหลายในทองตลาดการเลือ กใชงานนั้นตองเลือกใหเหมาะสมกับ งานแตละประเภทที่จ ะ
นํามาใชเชน ใชในระดับองคกร (Enterprise) หรือใชงานตามบาน

รูปที่ 1.4 ตัวอยาง AP และสายอากาศ

1.2.4 การติดตั้งสถานีลูกขาย (Client)


สถานีลูกขายที่จะใชงานแลนไรสายตองติด ตั้งอุป กรณที่เรียกวา Wireless LAN Card ทําหนาที่แปลงขอมูลที่ได
จากคอมพิ ว เตอร ไ ปเป น คลื่ น วิ ท ยุ แ ล ว สง ผ า นสายอากาศแพร กระจายออกไป กลั บ กั นยั งทํ าหน า ที่ รั บ เอาคลื่ นวิ ท ยุ ที่
แพรกระจายออกมาจากอุปกรณไรสายอื่นๆ แปลงกลับ เปนขอมูลสงใหคอมพิวเตอรป ระมวลผลเชนกัน ปจจุบันมีการผลิต
อุป กรณชนิดนี้หลายรูป แบบตามลักษณะชองเชื่อมตอคอมพิวเตอรหรือพอรต (Port) ไดแก
1. แบบพีซีไอ (PCI) ติดตั้งบนคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (Desktop PC) มีชองเชื่อมตอเปนแบบ PCI สามารถเสียบ
ลงบนชองเชื่อมตอในเมนบอรดและดานหลังมีสายอากาศสําหรับรับสงคลื่นวิทยุ
2. แบบพีซีเอ็มซีไอเอ (Personal Computer Memory Card International Association (PCMCIA)) ชนิด นี้
ถูกออกแบบมาสําหรับติดตั้งบนคอมพิวเตอรแบบพกพา (Notebook)
3. แบบยูเอสบี (USB) เปนชนิดที่สามารถใชงานไดทั้งคอมพิวเตอรตั้งโตะหรือแบบพกพาที่มีพอรตยูเอสบี
ปจจุบ ันไดมีการพัฒนาผนวกเอาตัวประมวลผลกลาง (Central Processing Unit (CPU)) ที่รองรับ เทคโนโลยีแลน
ไรสายรวมไวดวยกันบนเมนบอรดภายในคอมพิวเตอร ทําใหคอมพิวเตอรสามารถเชื่อมโยงและสื่อสารขอมูลกับ แลนไรสายได
โดยไมตองติดตั้ง Wireless LAN Card เพิ่มเติม

1.3 การสรางเครือขายแลนไรสายแบบ Infrastructure


องคประกอบพื้นฐานของเครือขายแลนไรสายแบบ Infrastructure มีสวนประกอบหลัก 2 สวนคือ สถานีแมขาย
ทําหนาที่เปนศูนยกลางเชื่อมโยงคอมพิวเตอรไรสาย และเครือขายอีเธอรเน็ต สําหรับ เชื่อมตอสถานีแมขายเขาสูเครือขาย
หลัก โดยการสรางแลนไรสายแบบ Infrastructrure มาใชงานมีขั้นตอน ดังนี้

1-5
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบและเขียน Network Diagram


การกําหนดโครงสรางการสื่อสารและพารามิเตอรตางๆ สําหรับ ตั้งคาใหสถานีแมขายและลูกขายภายในเครือขา ย
ดังตัวอยางการออกแบบแสดงดังรูป 2.3

รูปที่ 1.5 ตัวอยาง Network Diagram

จากตัวอยางออกแบบใหสถานีแมขายเชื่อมตอกับ ระบบ DS ที่เปนระบบอินเตอรเน็ตและกําหนดพารามิเ ตอรตางๆ


ดังนี้
1. กําหนดหมายเลข IP ใหกับ อุป กรณ ดังตัวอยางกําหนดใหใชเครือขาย 192.168.1.0/24
Access Point IP : 192.168.1.1
Client 1 (PC) IP : 192.168.1.50
Client 2 (Notebook) IP : 192.168.1.51
2. กําหนดโหมดการทํางานของสถานีแมขาย เชน กําหนดใหรองรับ ทั้งมาตรฐาน IEEE 802.11a/b/g
3. กําหนดชื่อ SSID ใหกับเครือขาย เชน “ICE-WLAN”
4. กําหนดชองความถี่ที่ใชงาน เชน กําหนดเปน “Channel 1”
5. กําหนดใหมีกลไกรักษาความปลอดภัยในการเขาใชงาน (ตัวเลือก)

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งคาใชงานสถานีแมขาย
ตั้งคาพารามิเตอรที่จําเปนที่กลาวมาแลวใหแกสถานีแมขาย สามารถตั้งคาผานหนาเว็บ (Web Browser) ได

ขั้นตอนที่ 3 ตั้งคาสถานีลูกขายใหเชื่อมตอกับ เครือขาย


ติดตั้ง Wireless LAN Card ใหเชื่อมตอกับ สถานีแมขายที่มีชื่อ SSID ที่ตองการ

ขั้นตอนที่ 4 ทดสอบการสื่อสารขอมูล
ทดสอบการเชื่อมตอระหวางสถานีแมขายกับ สถานีลูกขาย โดยใชคําสั่ง ping <IP Address เครื่องปลายทาง>
รวมถึงหาขอบเขตการใหบ ริการเครือขายและจุดอับ สัญญาณในพื้นที่ตางๆ เพื่อนําไปใชในการเลือกตําแหนงติดตั้งสถานีแม

1-6
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

ขา ยใหมใ ห ครอบคลุ ม พื้ นที่กว า งไกลกว า เดิ มหรือ นํา มาใช สํา หรั บ วางแผนการเพิ่ มจํา นวนสถานี แม ขา ยเพื่ อ ขยายพื้ นที่
ใหบ ริการในอนาคต

1.4 Channels and Association


ในเครือขายไรสาย IEEE802.11 กอนที่จะมีการรับ -สงขอมูล อุป กรณไรสายจําเปนตองทําการ Association กับ
อุป กรณกระจายสัญ ญาณ (Access Point หรือ Wireless Router) กอน เมื่อผูดูแลระบบทําการติดตั้งอุป กรณกระจาย
สัญ ญาณจะทําการกําหนดชื่อเครือขายไรสาย (Service Set Identifier: SSID) รวมทั้งกําหนดชองทางในการรับ สงขอมูล
(Channel) ในการกําหนดชองทางในการรับสงขอมูลนั้นเพื่อไมใหเกิดการคาบเกี่ยวกันของชองสัญ ญาณ (Non-overlapping
channel) ผูดูแลระบบจะทําการเลือกหางกันอยางนอย 5 ชองสัญ ญาณ ยกตัวอยางเชน 1, 6, 11 เปนตน เปาหมายของการ
กําหนดชองสัญญาณ คือ เพื่อลดการรบกวนของสัญญาณรบกวน ดังนั้นเมื่อมีชองสัญญาณมากขึ้นที่ใชงานในบริเวณเดียวกัน
ความแรงของสัญญาณรบกวนจะเพิ่มสูงขึ้นทันที กระบวนการในการเชื่อมตอของอุป กรณไรสายกับ อุป กรณกระจายสัญ ญาณ
มีอยู 2 วิธีคือ Passive Scanning และ Active Scanning

1.4.1 Passive Scanning


อุป กรณกระจายสัญ ญาณจะสง Beacon frames เปนชวงเวลา แตละ Beacon frames จะประกอบไปดวย SSID
ของ AP และ MAC address อุป กรณไรสายจะทําการสแกนทุกชองสัญ ญาณและคนหา Beacon frames ที่สงมาจาก
อุป กรณกระจายสัญ ญาณทุกตัว โดยอุปกรณไรสายจะเลือกอุปกรณกระจายสัญญาณที่จะทําการ Association เพียงตัวเดียว

รูปที่ 1.6 Passive Scanning

1.4.2 Active Scanning


อุป กรณไร สายจะทําการสงเฟรม Probe Request ไปยังอุป กรณกระจายสัญ ญาณ จากนั้นอุป กรณกระจาย
สัญ ญาณจะตอบรับ กลับ มาดวย Probe Response จากนั้นอุป กรณไรสายจะสง Association Request ไปยังอุป กรณ
กระจายสัญญาณเพื่อรองขอที่จะเชื่อมตอ

รูปที่ 1.7 Active Scanning

1-7
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

1.5 การพิสูจนตัวตน (Authentication)


การพิสูจนตัวตนของอุปกรณไรสายในมาตรฐาน IEEE 802.11 มี 2 วิธี คือ

1.5.1 การพิสูจนตัวตนแบบเปด (Open System Authentication) เปนวิธีการพิสูจนตัวตนในแบบ 2 ทาง


ซึ่งจะเริ่มตนจากการที่อุป กรณไรสายสง Authentication Request และรอรับ คําตอบที่เปนการตอบรับ มาจากอุป กรณ
กระจายสัญญาณ

รูปที่ 1.8 Open System Authentication

1.5.2 การพิสูจนตัวตนแบบแบงปน รหัสลับ (Shared Key Authentication) เปนวิธีการพิสูจนตัวตนในแบบ


4 ทาง โดยใชวิธีการแบงปนรหัสลับ (Secret Key) และมีหลักการทํางานที่ดีกวาการพิสูจนตัวตนแบบเปด

รูปที่ 1.9 Shared Key Authentication

จากรูปที่ 1.9 สามารถอธิบ ายรายละเอียดการทํางานไดดังนี้


1) อุป กรณไรสายสงเฟรม Authentication Request
2) อุป กรณกระจายสัญญาณตอบกลับ ดวย Challenge text ซึ่งเกิดจากการสุมคา
3) อุป กรณไรสายเขารหัส Challenge text โดยใชวิธีแบงปน Secret Key และสงกลับ ไปที่อุป กรณกระจาย
สัญญาณ
4) อุป กรณกระจายสัญ ญาณถอดรหัสโดยใชวิธีการแบงปน Secret Key และเปรียบเทียบกับ Challenge text
เดิ ม ก อ นที่ จ ะส ง ไป ให อุ ป กรณ ไ ร ส ายถ า Challenge text ตรงกั น อุ ป กรณ ก ระจายสั ญ ญาณจะให ก ารตอบรั บ
Authentication Request ของอุปกรณไรสายนั้น

1-8
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

1.6 การเชื่อมตอเครือขายไรสายแบบเปด
ในการเชื่อมตอเครือขายไรสายแบบเปดจะถูกแบงออกเปน 3 กระบวนการดวยกันคือ
1.6.1 Discovery Phase เปนกระบวนการในการคนหาอุป กรณไรสายรวมถึงอุป กรณกระจายสัญ ญาณที่ตองการ
ติดตอ โดยทั่วไปอุป กรณกระจายสัญญาณจะทําการสง Beacon Frames ออกมา อุปกรณไรสายที่ตองการติดตอหากทําการ
สแกนแบบเชิงรุกก็จะสง Probe Request ไปยังอุปกรณกระจายสัญญาณ หากอุป กรณกระจายสัญญาณพรอมที่จะสรางการ
เชื่อมตอก็จะทําการสง Probe Response กลับ ไป เพื่อทําการพิสูจนตัวตนในกระบวนการตอไป
1.6.2 Authentication Phase เปนกระบวนการในการพิสูจนตัวตนของอุป กรณไรสาย อุป กรณไรสายจะทําการ
พิสูจ นตั วตนโดยสง Authentication Request ไปยัง อุป กรณ กระจายสั ญ ญาณ หากกระบวนการพิสูจนตั วตนถูกตอง
อุป กรณกระจายสัญ ญาณจะทําการสง Authentication Response กลับ ไป เพื่อทําการสรางการเชื่อมตอในกระบวนการ
ตอไป
1.6.3 Association Phase เปนกระบวนการในการเชื่อมตอระหวางอุป กรณไรสายและอุป กรณกระจายสัญ ญาณ
อุป กรณไรสายจะทําการรองขอเพื่อเชื่อมตอโดยสง Association Request ไปยังอุป กรณกระจายสัญ ญาณ หากอุป กรณ
กระจายสัญ ญาณพรอมที่จะใหเชื่อมตอจะทําการสง Association Response กลับ ไป เมื่อเชื่อมตอเรีย บรอยแลวก็จ ะ
สามารถสงขอมูลไปยังอุป กรณไรสายอื่น ๆ ได

รูปที่ 1.10 การเชื่อมตอเครือขายไรสายแบบเปด

1-9
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

การทดลอง

การทดลองที่ 1 การสรางเครือขายแลนไรสาย

ทดลองสรางเครือขายแลนไรสายที่เปนการเชื่อมตอแบบโครงสรางพื้นฐาน ดังรูป 2.9

รูปที่ 1.11 เครือขายที่ใชในการทดลอง

ตารางที่ 1.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง


อุปกรณการทดลอง
1 Access Point และ Adapter 1 ชุด
2 คอมพิวเตอรตั้งคาสถานีแมขาย (PC A) 1 เครื่อง
3 คอมพิวเตอรผูใชงาน (Client) 1 เครื่อง
4 Wireless Lan (Card) 1 การด
5 Wireless Lan (USB) 1 อัน
6 สาย UTP 1 เสน

ในการทดลองจะใช PC A ตั้งคาพารามิเตอรและควบคุ มการทํางาน (Configure) ของ AP สวนคอมพิวเตอร


Client ทําหนาที่เปนสถานีลูกขายที่ไดติดตั้ง Wireless LAN Card หรือ Wireless LAN USB เพื่อเชื่อมตอกับ AP โดยแบง
การทดลองออกเปน 3 ขั้นตอน

ตอนที่ 1.1 ออกแบบและเขียน Network Diagram

1. กําหนดหมายเลข IP Address ใหกับ อุป กรณ


2. กําหนดโหมดการทํางานของสถานีแมขาย กําหนดเปน “Mixed Mode”
3. กําหนดชื่อ Service Set ID (SSID) เปน “Telco-X”
4. กําหนดชองความถี่สื่อสารที่ใชงานเปน “Channel X”
5. ไมใชกลไกรักษาความปลอดภัยในการเขาใชงานเครือขาย (Security Disable)

1-10
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

รูปที่ 1.12 Network Diagram ที่ใชในการทดลอง

ตารางที่ 2.2 หมายเลข IP และพารามิเตอรที่ใชในการทดลอง


กลุม PC A Access Point SSID Channel Client Gateway Subnet Mask
1 192.168.1.10 Telco-1 1 192.168.1.11
2 192.168.1.20 Telco-2 2 192.168.1.22
3 192.168.1.30 Telco-3 3 192.168.1.33
4 192.168.1.40 Telco-4 4 192.168.1.44
5 192.168.1.50 192.168.1.1 Telco-5 5 192.168.1.55 192.168.1.1 255.255.255.0
6 192.168.1.60 Telco-6 6 192.168.1.66
7 192.168.1.70 Telco-7 7 192.168.1.77
8 192.168.1.80 Telco-8 8 192.168.1.88
9 192.168.1.90 Telco-9 9 192.168.1.99
10 192.168.1.100 Telco-10 10 192.168.1.111

ตอนที่ 1.2 ตั้งคาสถานีแมขาย (Configure AP)

1. เชื่อมตอสาย UTP (Unshielded Twisted Pair) จาก PC A เขาสูพอรตของ AP


2. เสียบ Adapter เพื่อจายไฟใหกับ AP พรอมทั้งตรวจสอบการทํางานจาก LED
3. กําหนดพารามิเตอร TCP/IP ใหกับ PC A
4. ตรวจสอบการเชื่อมตอระหวาง PC A และ AP โดยใชคําสั่ง ping ดังนี้
- ping หมายเลข IP ของ PC A @PC A
- ping หมายเลข IP ของ AP @PC A

1-11
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

5. เปด Browser แลวพิมพหมายเลข IP default ของ AP ในชอง URL (http://192.168.1.1)


6. จากนั้นจะเขาสูหนาตางตรวจสอบผูใช: พิมพชื่อผูใช (User Name) เปน root และพิมพรหัสผาน (Password)
เปน admin

พิมพ์ User Name: root

พิมพ์ Password: admin

รูปที่ 1.13 หนาตางตรวจสอบผูใช


7. ตัง้ คาพารามิเตอรเบื้องตนดังตารางที่ 1.3

ตารางที่ 1.3 พารามิเตอรในการตั้งคา AP


พารามิเตอร คาที่กําหนด
Wireless Network Mode Mixed
Wireless Network Name (SSID)
ดูในตาราง 2.2
Wireless Channel
Wireless SSID Broadcast Enable

8. เมื่อกําหนดพารามิเตอรเรียบรอยกดปุม Save Settings เพื่อยอมรับ การกําหนดคา

รูปที่ 1.14 หนาตางตั้งคาพารามิเตอร

ตอนที่ 1.3 ตั้งคาสถานีลูกขาย (Configure Client)

1. คลิกขวา My Network Places  Properties  Wireless Network Connection  Properties 


General  Internet Protocol (TCP/IP)  Properties  General กําหนดพารามิเตอรตาม Network Diagram

1-12
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

กําหนดค่า
IP Address
ให้ Client

รูปที่ 1.15 การกําหนดหมายเลข IP ให Client

2. ตรวจสอบหมายเลข IP ของ Client ไปที่ Start Run  พิมพ cmd  กด Enter  พิมพคําสั่ง
ipconfig /all

รูปที่ 1.16 การตรวจสอบหมายเลข IP ของ Client

3. เชื่อมตอกับ AP ดวยการคลิกขวา My Network Place  properties  Wireless Network


Connections  View Available Wireless Networks

เลือกเชือมต่อกับ SSID ทีกําหนดไว้

รูปที่ 1.17 การเชื่อมตอกับ AP

4. ตรวจสอบสถานะการเชื่อมตอโดยคลิกขวา My Network Places  Properties  Wireless Network


Connection Status General

1-13
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

สถานะการ
เชือมต่อปั จจุบนั

รูปที่ 1.18 การตรวจสอบสถานะการเชื่อมตอกับ AP

คําถามทายการทดลองที่ 1

1. หากในการตั้งคาสถานีแมขาย (AP) นั้น เครื่อง PC A มีการตั้งคาหมายเลข IP เปน 203.188.61.130 นักศึกษา


จะสามารถเขาไปตั้งคาสถานีแมขายไดหรือไม เพราะเหตุใด

2. เครื่อง Client ของกลุมนักศึกษาสามารถเชื่อมตอ สถานีแมขาย (AP) ของกลุมอื่นไดหรือไม เพราะเหตุใด

1-14
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

การทดลองที่ 2 การพิสูจนตัวตนแบบเปด (Open authentication system)

ในการทดลองนี้จะเป น การเชื่ อมต อเครือ ข ายไร สาย IEEE 802.11 โดยใชก ารพิ สูจน ตั วตนแบบเป ด (Open
authentication system) โครงสรางของการทดลองแสดงดัง รูป ที่ 1.19 ใหนักศึกษาดักจับแพ็คเกตทีใ่ ชในการพิสูจนตัวตน
แบบเปดและการสรางการเชื่อมตอระหวาง PC A และ Access Point
- เฟรมที่ใชการคนหาเครือขาย คือ Beacon, Probe Request และ Probe Response
- เฟรมที่ใชการพิสูจนตัวจริง คือ Authentication Request และ Authentication Response
- เฟรมที่ใชการเชื่อมตอเครือขาย คือ Association Request และ Association Request
- เฟรมขอมูล 1 เฟรม

รูปที่ 1.19 เครือขายที่ใชในการทดลองที่ 2

ตัวอยาง : Beacon Frame

ตัวอยาง : Probe Request Frame

ตัวอยาง : Probe Response Frame

1-15
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

ตัวอยาง : Authentication Request Frame

ตัวอยาง : Authentication Response Frame

ตัวอยาง : Association Request Frame

1-16
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

ตัวอยาง : Association Response Frame

2.1 เริ่มตนการใชงานของ Backtrack 5 ดังรูป ที่ 1.20

# startx

รูปที่ 1.20 การเริ่มตนใชงาน Backtrack 5

2.2 ตรวจสอบอินเตอรเฟซทั้งหมดที่มีในเครื่องคอมพิวเตอร ดังรูปที่ 1.21

# iwconfig

1-17
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

รูปที่ 1.21 การตรวจสอบอินเตอรเฟซทั้งหมดโดยใชคําสั่ง iwconfig

2.3 เปดการใชงานอินเตอรเฟซสําหรับ Wireless Card (or Wireless USB)

# ifconfig wlan0 up

2.4 เปดการทํางาน Monitor Mode เพื่อสังเกตขอมูลที่ผานชองสัญ ญาณ (Channel) ที่ตองการ โดยใชอินเตอร


เฟซ wlan0

# airmon-ng start wlan0 ch_number

การกําหนดคา ch_number นั้นใหกําหนดเปนหมายเลขชองสัญญาณที่ตองการดักจับ เชน 1, 6 หรือ 11 เปนตน

รูปที่ 1.23 การเปดการใชงานอินเตอรเฟซ wlan0 และเปดการทํางาน Monitor Mode

จากรูปที่ 1.23 จะเห็นไดวา เมื่อใชคําสั่ง airmon-ng start wlan0 ch_number แลว ในสวนทายจะมีการแสดง
ขอมูลของอินเตอรเ ฟซ รวมถึงอินเตอรเฟซที่ใชในสวนของการทํางาน Monitor Mode (monitor mode enabled on
mon0) ซึ่งเปนอินเตอรเฟซที่จะใชในการดักจับ แพ็คเกต

1-18
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

2.5 ดักจับ แพ็คเกตโดยใชโปรแกรม Wireshark ซึ่งในการดักจับ แพ็คเกตนั้นตองทําการเลือกอินเตอรเฟซเปน


mon0 ดังรูปที่ 1.24

# wireshark &

รูปที่ 1.24 การดักจับแพ็คเกตผานอินเตอรเฟซ mon0

1-19

You might also like