You are on page 1of 137

FTTX

FTTX คืออะไร

การให ้บริการแบบ FTTx ถือเป็ นแนวคิดในการใช ้


ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสือสารผ่ ่ านใยแก ้วนาแสง เพือ ่
ร ับส่งข ้อมูลอัตราเร็วสูงไปยังผูบ้ ริโภค ทังกลุ้ ม ่ ประชาชนตาม
บ ้านเรือน และกลุม ่ ธุรกิจ โดยมองว่าเป็ นทางเลือกใหม่เพือ ่
ทดแทนการเดินคูส ่ ายโทรศัพท ์ทองแดงทีมี ่ ข ้อจากัดในเรือง

ของแบนด ์วิดท ์ไปยังกลุม ้ ในการประยุ
่ ผูบ้ ริโภค ทังนี ้ กต ์ใช ้
งานจะมีชอเรี ื่ ยกรูปแบบในการวางสถาปัตยกรรมคูส ่ ายใยแก ้ว

นาแสงทีแตกต่ างกันออกไปได ้ 4 ประเภท คือ FTTN, FTTC,
FTTB และ FTTH
Fiber To The Node (FTTN) หรือ Fiber To The Cabinet (FTTCab)

้ั
บางครงอาจเรี ยกว่า Fiber To The Neighborhood เป็ นการ
วางสายใยแก ้วนาแสงจากชุมสายโทรศัพท ์ไปสินสุ ้ ดยังตู ้
กระจายสัญญาณโทรคมนาคม (Cabinet) จากนั้นจึงทาการ
กระจายสัญญาณผ่านคูส ่ ายโคแอกเชียลไปยังทีพั ่ กอาศัยของ
ผูใ้ ช ้บริการแต่ละราย ในทางปฏิบต ้ ้กระจาย
ั จิ ะมีการติดตังคู
สัญญาณโดยพิจารณาให ้ครอบคลุมกลุ่มผูใ้ ช ้บริการ
เป้ าหมายภายในร ัศมี 1,500 เมตร อย่างไรก็ตามหากรศั มี
การกระจายสัญญาณของตู ้กระจายมีระยะทางต่ากว่า 300
เมตร ก็จะเรียกสถาปัตยกรรมนี ว่้ า Fiber To The Curb (FTTC)
้ ผู
ทังนี ้ ใ้ ห ้บริการสามารถเลือกให ้บริการสือสารแบบบรอด

แบนด ์ระหว่างตู ้กระจายสัญญาณกับผูใ้ ช ้บริการ
โดยอาศัยโพรโทคอลได ้หลากหลายประเภท เช่น
Broadband Cable Access ตามมาตรฐาน Data Over Cable
Service Interface Specification (DOCSIS) รวมถึงการให ้บริการ
ตามมาตรฐาน DSL ทัวไป ่ สถาปัตยกรรมแบบ FTTN นี มี ้
่ ้ประโยชน์จากคูส
จุดประสงค ์เพือใช ่ ายโคแอกเชียลหรือ

แม้กระทังสายทองแดงที มี่ การติดตังใช้ ้งานอยูแ่ ต่เดิมให ้ได ้
มากทีสุ่ ด เป็ นการลดต ้นทุนในการรือเปลี ้ ่
ยนโครงข่ าย
กระจายสัญญาณใหม่ แต่ก็ถอ ื ว่าเป็ นเทคโนโลยีทมี ี่ อต ั ราเร็ว
ในการร ับส่งข ้อมูลไปยังผูใ้ ช ้บริการต่าสุดเมือเที ่ ยบกับบรรดา
เทคโนโลยีในกลุม ้
่ FTTx ทังหมด ้ เนื
ทังนี ้ ่ องจากเป็ นการพึงพา ่
ขีดความสามารถทีมี ่ อยูจ
่ ากัดของคูส ่ ายกระจายทีมี ่ แต่เดิม
นั่นเอง
Fiber To The Curb (FTTC)

้ั ชอเรี
Fiber To The Curb (FTTC) บางครงมี ื่ ยกว่า Fiber
To The Kurb (FTTK) เป็ นสถาปัตยกรรมทีมี่ ความแตกต่าง
จาก FTTN ตรงทีมี่ การติดตังตู้กระจายสั
้ ญญาณไว ้ใกล ้
กับกลุม ่
่ ผูใ้ ช ้บริการมาก (โดยทัวไปนิ ่
ยามไว ้ทีระยะห่าง
จากกลุม ่ ผูใ้ ช ้บริการไม่เกิน 300 เมตร) และเนื่ องจาก
ยังคงเป็ นการใช ้ประโยชน์จากคูส ่ ายทองแดงและสายโค
แอกเชียลทีมี ่ อยู่แต่เดิมในการกระจายร ับส่งสัญญาณไป
ยังผูใ้ ช ้บริการปลายทาง แม ้จะย่นระยะห่างระหว่างตู ้
กระจายสัญญาณกับผูใ้ ช ้บริการให ้ใกล ้เข ้ามากว่า
สถาปัตยกรรม FTTN แต่สถาปัตยกรรมแบบ FTTC ก็ยงั คง
มีข ้อจากัดในแง่ของอัตราเร็วในการสือสารอั ่ นเนื่ องจาก
คุณลักษณะของคูส ่ ายกระจายสัญญาณอยู่ เพียงแต่มี
่ ่
้ ้กระจายสัญญาณไว ้ ณ จุดใดจุดหนึ่ ง
FTTP จะติดตังตู
ภายในอาคาร จากนั้นจึงกระจายสัญญาณผ่านสายโคแอก
เชียลไปยังผูบ้ ริโภคแต่ละรายภายในอาคาร ในขณะที่
สถาปัตยกรรมแบบ FTTH จะแยกกระจายคูส ่ ายใยแก ้วนาแสง
ไปยังห ้องหรือตาแหน่ งใช ้งานของผูบ้ ริโภคแต่ละราย ซึง่
ภายในแต่ละจุดนั้นจะมีการติดตังกล่ ้ องแปลงสัญญาณ (ONT
– Optical Network Terminator) จากสัญญาณ แสงไปเป็ น
สัญญาณไฟฟ้ าเพือต่ ่ อเข ้ากับอุปกรณ์สอสารต่
ื่ างๆ จึงถือว่า
สถาปัตยกรรมแบบ FTTH มีการร ับประกันอัตราเร็วในการ
่ ดเทียบกับ
ร ับส่งข ้อมูลไปยังผูใ้ ช ้บริการปลายทางได ้สูงทีสุ
สถาปัตยกรรมแบบอืนๆ ่ ในตระกูล FTTx
โครงสร ้างทางเทคนิ คของสถาปัตยกรรมโครงข่าย FTTH

ซึงอาศั ยเทคโนโลยี PON ในการช่วยกระจายสัญญาณไปยัง
ผูใ้ ช ้บริการแต่ละราย โดยในด ้านซ ้ายมือของรูปจะเห็นว่ามี
การรวมสัญญาณหรือบริการหลายๆ ประเภทเข ้าด ้วยกัน
ผ่านทางอุปกรณ์รวมสัญญาณทีต ่ ้นทาง เพือท่ าการส่ง
สัญญาณเข ้าเหล่านั้นผ่านคูส ่ ายใยแก ้วนาแสงก่อนทีจะ ่
กระจายสัญญาณเหล่านั้น ณ จุดปลายทางไปยังผูใ้ ช ้บริการ
แต่ละราย ซึงตั ่ วอย่างบริการทีแสดงนี
่ ้ อเป็ นกลุม
ถื ่ ของบริการ
่ อ
แบบ Triple Play (เสียง, ข ้อมูล และมัลติมเี ดีย) ซึงเมื ่
สัญญาณเหล่านี ถู ้ กส่งผ่านคูส่ ายใยแก ้วนาแสงและกระจาย
ต่อไปยังอุปกรณ์ปลายทางแล ้วก็จะถูกแปลงกลับมาเป็ น
สัญญาณไฟฟ้ าผ่านทางอุปกรณ์ ONU หรือบางครงอาจ ้ั
เรียกว่า ONT ก็ได ้ พร ้อมให ้บริการข ้อมูลแบบ Triple Play
โครงสร ้างของโครงข่าย FTTH จึงประกอบไปด ้วยอุปกรณ์
OLT (Optical Line Terminal) ทีท ่ าการร ับสัญญาณจากแหล่ง
ต ้นทางต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นสัญญาณโทรศัพท ์ทีถู ่ กส่งแบบ
มัลติเพล็กซ ์ (Time Division Multiplexing) มาจาก
ชุมสายโทรศัพท ์และมีโพรโทคอล GR-303 ทีก ่ ากับ
ควบคุมทราฟฟิ คข ้อมูลสัญญาณโทรศัพท ์ระหว่าง
ชุมสายโทรศัพท ์กับอุปกรณ์ OLT นอกจากนี อุ้ ปกรณ์ OLT ยัง
ทาการติดต่อกับเราท ์เตอร ์ซึงท ่ าหน้าทีรวมสั
่ ญญาณที่

เชือมต่ ่
อกับโครงข่ายอินเทอร ์เน็ ตหรือแม้กระทังเครื อข่าย
WAN เฉพาะกิจต่างๆ โดยผ่านทางโพรโทคอล Gigabit
Ethernet (GigE) และในท ้ายทีสุ่ ดหากมีการให ้บริการโทรทัศน์
หรือรายการแบบมัลติมเี ดียใดๆ อุปกรณ์ OLT ก็จะได ้ร ับการ

เชือมต่ ่ ญญาณโทรทัศน์ โดยผ่านทางโพรโท
อเข ้ากับสือสั
้ กรวมส่งผ่านคูส
สัญญาณต่างๆ เหล่านี จะถู ่ ายใยแก ้วนา
แสงซึงมี่ การบริหารจัดการข ้อมูลโดยใช ้เทคโนโลยี PON ไม่วา่
จะเป็ น GPON หรือ EPON เพือให ่ ้สามารถส่งกระจาย
ช่องสัญญาณไปยังผูใ้ ช ้บริการได ้ตามต ้องการ ซึงอุ่ ปกรณ์
ONU หรือ ONT ทีติ่ ดตังอยู
้ ต ่ กอาศัยหรือสานักงานของ
่ ามทีพั

ผูบ้ ริโภคก็จะทาหน้าทีแยกประเภทของสั ญญาณข ้อมูล
(เสียง, ข ้อความ, ภาพ) ออกตามประเภทของการเชือมต่ ่ อ
เช่น เสียงออกทางสายนาสัญญาณโทรศัพท ์แบบ POTS (Plain
Old Telephone Service) หรือสายโทรศัพท ์แบบทองแดงนั่นเอง

ส่วนข ้อมูลต่างๆ จะถูกเชือมต่ อผ่านทางพอร ์ตแบบ
10/100/1000 Base T หรือสาย LAN ทีรู่ ้จักกันทัวไป ่ ในขณะ
่ ญญาณภาพหรือรายการโทรทัศน์จะถูกเชือมต่
ทีสั ่ อผ่านไป
ยังกล่องควบคุม Set Top Box

เมือกล่ ้
าวมาถึงจุดนี จะเห็ นได ้ว่า FTTH เป็ นช่องทางใน
การรวมรูปแบบการให ้บริการทังสื ้ อสารโทรคมนาคม


(Telecommunication) และสือสารมวลชน (Mass
Communication) โดยอาศัยจุดเด่นในเรืองการสื ่ ่
อสาร
ข ้อมูลแบบบรอดแบนด ์และคุณสมบัตข ิ องเทคโนโลยี PON
ในการประหยัดคูส ่ ายใยแก ้วนาแสงโดยสามารถกระจายคู่
สายใยแก ้วออกไปยังผูใ้ ช ้บริการปลายทางจานวนมากได ้ ซึง่
หมายความถึงความสะดวกและประหยัดของผูใ้ ห ้บริการ
เครือข่ายในการพิจารณาลงทุนสร ้างโครงข่าย FTTH และยัง
หมายถึงความสะดวกสบายของผูใ้ ช ้บริการ ก่อนทีจะ ่
กล่าวถึงมุมมองในเชิงกลยุทธ ์การลงทุนในเทคโนโลยี FTTH
(หรือ FTTB ก็สด
ุ แท ้แต่จะเรียก)
Fiber To The Home (FTTH) และ Fiber To The Building (FTTB)

Fiber To The Home (FTTH) และ Fiber To The Building


่ ง้ 2 สถาปัตยกรรมมักได ้ร ับการเรียกชือรวมๆ
(FTTB) ซึงทั ่ กัน
ว่า Fiber To The Premise (FTTP) ล ้วนเป็ นการใช ้ประโยชน์จาก
การวางสายใยแก ้วนาแสงจากชุมสายโทรศัพท ์ตรงไปสินสุ ้ ด
ยังอาคารทีพั่ กอาศัยหรืออาคารสานักงาน เพือลดการ ่

เชือมต่อกับคูส ่ ายทองแดงหรือโคแอกเชียลทีมี ่ อยูแ่ ต่เดิมโดย
้ ง ทังนี
สินเชิ ้ เน้
้ นให ้ใช ้ประสิทธิภาพของการร ับส่งข ้อมูล
อัตราเร็วสูงผ่านคูส่ ายใยแก ้วนาแสงให ้ได ้มากทีสุ่ ด โดยข ้อ
แตกต่างระหว่างเทคโนโลยี FTTH และ FTTB อยูท ี่ าแหน่ งของ
่ ต
จุดกระจายสัญญาณ
แนะนำเทคโนโลยีของ GPON FTTH

่ มขึ
ความต ้องการแบนด ์วิดธ ์ทีเพิ ่ นอย่
้ ้
างไม่หยุดยังของ
การใช ้งานอินเตอร ์เน็ ตความเร็วสูง,Video on Demand, IPTV

และ VoIP ขับเคลือนให ้
อุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีการใช ้อุปกรณ์FTTH (Fiber to
the home) ใน Broadband Access Network กันมากขึน ้ เมือ

เปรียบเทียบทคโนโลยีบรอดแบนด ์แบบต่าง ๆ แล ้วเช่น DSL,
VDSL, Cable/Modem และ PON (PassiveOptical Network)
เทคโนโลยี PON จะมีข ้อดีกว่า เช่นอายุการใช ้งานของไฟเบอร ์

ทียาวนาน ต ้นทุนในการดาเนิ นการทีต ่ ่าเพราะเป็ นการลด
ี่ น “active” รวมถึงการได ้ระยะทางระหว่างโหนดที่
อุปกรณ์ทเป็
ไกลกว่า และทีส ่ าคัญทีสุ่ ดคือมีแบนด ์วิดธ ์ทีสู่ งมาก
่ ้ GE-PON และ G-PON มีแบนด ์วิดธ ์สูงกว่า DSL
FTTH ทีใช

เป็ นพันเท่า กล่าวคือ DSL แบบมาตรฐานทัวไปมี ความเร็วเป็ น
หนึ่ งเมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่ FTTH PON ส่งข ้อมูลได ้สูงถึง
2.5 Gbpsแมว้ า่ จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีทาง DSL ให ้ดีขน ึ้
เช่น VDSL แต่ก็สามารถส่งข ้อมูลได ้แค่ 10-20Mbps เท่านั้น

การเปลียนเทคโนโลยี ่ มี
ไปเป็ น FTTH เป็ นสิงที ่ ประโยชน์
ต่อทังผู้ บ้ ริโภคและผูใ้ ห ้บริการเพราะเป็ นเทคโนโลยีทมี ี่ ความจุ
แทบจะไร ้ขีดจากัดของเครือข่ายหลักระยะไกลทีเชื ่ อมไปยั
่ ง
ผูใ้ ช ้บริการ ในยุคก่อน “last mile” หรือ “first mile” ซึงเป็ ่ น
ระยะจาก Central Office ไปยังบ ้านผูใ้ ช ้จะมีปัญหาเรืองคอ ่
ขวดของเครือข่าย แต่ปัจจุบน ั ปัญหาคอขวดดังกล่าวได ้
หายไปด ้วยการใช ้เทคโนโลยี Gigabit ทีต ่ ้นทุนต่าและมี
ความสามารถในการแอกเซสสูง
การฝ่ าอุปสรรคอันแรกทีเกี ่ ยวกั ่ บ Access Network ทาให ้
เกิดเทคโนโลยี DSL และเคเบิลขึ ้ นมา
้ โดยมีอต ่ มขึ
ั ราข ้อมูลทีเพิ ่ น้
่ ยบกับ “dial-up” modem ซึงได
เป็ นพันเท่าเมือเที ่ ้ช่วยให ้การ
ึ้
เข ้าถึงนเตอร ์เน็ ตของผูใ้ ช ้งานดีขนในระดั บหนึ่ ง ต่อมาเมือเกิ
่ ด
เทคโนโลยี FTTH ซึงเป็่ นทางออกทีมี ่ ความเร็วเหนื อกว่า
DSL/cable modem เป็ นพันเท่าเช่นกัน โดยคาดการณ์กน ั ว่า

สามารถเปลียนแปลงวิ ธก ี ารเข ้าถึงบริการนเตอร ์เน็ ต บริการ
ความบันเทิงแบบวิดโี อ และสนุ กกับบริการสือสารทางเสี ่ ยง
สาหร ับผูใ้ ช ้
เทคโนโลยี PON ทีนิ่ ยมใช ้สาหร ับเครือข่าย FTTH มีหลาย
ชนิ ดด ้วยกันเช่น BPON, GEPON(หรือ EPON) และ GPON ความ
แตกต่างทีเห็่ นได ้ชัดของแต่ละชนิ ดคืออัตราข ้อมูลและชนิ ดของ
การโปรเซสแพ็กเกต โดยถ ้าเป็ น BPON จะสนับสนุ นอัตราข ้อมูล
ที่ 622 Mbps และโปรโตคอลทีใช ่ ้สาหร ับการโปรเซสแพ็กเก็ต
เป็ น ATM ส่วน GE-PON สนับสนุ นอัตราข ้อมูลแบบสมมาตรที่
1Gbps และใช ้โปรโตคอลเป็ น Ethernet และ IP ส่วน GPON
สนับสนุ นอัตราข ้อมูลแบบไม่สมมาตรนั่นคือดาวน์โหลดเป็ น
2.5 Gbps และอัพโหลดเป็ น 1.25 Gbps และใช ้โปรโตคอลเป็ น
ATM, TDMและ Ethernet อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์กน ั ว่า
ในทางปฏิบต ั ิ GPON จะเป็ น Ethernet-oriented
วิว ัฒนำกำรของเทคโนโลยี PON

เทคโนโลยีทใช ี่ ้งานสาหร ับระบบ FTTH ทีแพร่


่ หลายอัน
่ ดขึนในทศวรรษ
แรกคือ BPON ซึงเกิ ้ 1990s โดย BPON ใช ้
โปรโตคอลสาหร ับการโปรเซสแพ็กเกตเป็ น ATM ซึงใช ่ ้งาน
กันมากสาหร ับเป็ นอุปกรณ์เครือข่ายหลักของผูป้ ระกอบการ
โทรคมนาคมโดยทัวไป ่ ี่
เทคโนโลยีBPON เป็ นเทคโนโลยีทมี
ความหมายสาหร ับ FTTH ในขันแรก ้ แต่มรี าคาแพงและส่ง

ข ้อมูลได ้ทีความเร็ วสูงสุดแค่ 655 Mbps เท่านั้นและคาดว่า
จะถูกแทนด ้วยเทคโนโลยี FTTH PON ตัวใหม่เช่น Gigabit EPON
(GE-PON)
GE-PON เป็ นเทคโนโลยี FTTH ชนิ ดแรกทีส่่ งข ้อมูลได ้สูง
เป็ นจิกะบิตต่อวินาทโดยใช ้โปรโตคอล Ethernet และ IP แทน
ATM และ SONET ทีมี ่ ราคาทีต่ ่ามากสาหร ับการอิมพลีเมนต ์
และการนามาใช ้งาน โดยการโปรเซสแพ็กเก็ตของ ATM และ
SONET ต ้องการความแม่นยาอย่างมากและการควบคุมเวลา
ของแพ็กเกตให ้พร ้อมกัน (Synchronized Timing) ดังนั้นจึงต ้อง
มีต ้นทุนสูงในส่วนของวงจรไฟฟ้ า
การโปรเซสแพ็กเกตของ Ethernet มีราคาถูกกว่ามาก
เพราะเทคโนโลยี Ethernet สนับสนุ นการประกอบรวมของ
แพ็กเกตทีไม่ ่ เน้นเรืองเวลา
่ ณ จุดร ับปลายทางทังนี ้ มี
้ การ
อนุ ญาตให ้แพ็กเกตและแพ็กเกตทีแตกเป็ ่ ้ ก (Packet
นชินเล็
Fragment) สร ้างช่องทางข ้ามเครือข่ายโดยไม่ใช ้คุณสมบัต ิ
การซิงโครไนเซชัน วิธก ี ารดังกล่าวนี ก ้ าจัดความต ้องการใน

เรืองของเวลาในอุ ปกรณ์ทท ี่ าหน้าทีโปรเซสเพ็
่ กเกตอีเทอร ์
ี่ เทอร ์เน็ ตเป็ นเทคโนโลยีทนิ
เน็ ต ด ้วยเหตุทอี ี่ ยมใช ้งานกัน
อย่างกว ้างขวางในช่วงสิบปี ทีผ่ ่ านมาสาหร ับระบบ LAN จึงทา
ให ้มีต ้นทุนสาหร ับการดาเนิ นการต่ามาก
้ ระกอบการหลักในญีปุ่่ นและเป็ นหนึ่ งใน
NTT เป็ นผูป
ผูป้ ระกอบการโทรคมนาคมทีใหญ่ ่ ี่ ดของโลก ได ้เริมใช
ทสุ ่ ้งาน
ระบบ GE-PON สาหร ับ FTTH ในปี 2003 และในปี 2004 ทาง
IEEEได ้อนุ มต
ั ม
ิ าตรฐาน
่ ้
“802.3ah Ethernet In the First Mile Specification” ซึงได
กาหนดเทคโนโลยี GE-PON ทีได ่ ้เริมใช
่ ้งานโดย NTT แล ้วให ้
เป็ นมาตรฐานเต็ม และถูกดัดแปลงในภายหลังโดย

ผูป้ ระกอบการรายอืนในญี ปุ่่ นและเกาหลี
ชนิ ดของ PON
ITU (The International telecommunications Union)

มาตรฐาน ITU ได ้พัฒนาและกาหนดข ้อกาหนด BPON


อย่างต่อเนื่ องจนเป็ นมาตรฐาน FTTH และในทีสุ
่ ดก็ได ้
ออกเป็ นมาตรฐาน ITU-TG.984 ในเดือนมกราคม 2003 ซึง่
ต่อมาได ้ปร ับปรุงจนถึงปี 2005 กลุม
่ บริการแอกเซส
เครือข่ายแบบเต็มระบบ
(FSAN : The Full Service Access Network Group)
่ นสภาแห่งผูใ้ ห ้บริการและผูจ้ าหน่ ายอุปกรณ์
ซึงเป็
โทรคมนาคมชันน ้ าของโลกได ้ประชุมในเดือนมีนาคม 2005
และได ้ลงมติในการสร ้างกลุม ่ งานข ้อกาหนดทางเทคนิ คร่วม

(Common Technical Specification (CTS) Task Group)ซึงมี
เป้ าหมายในการจาแนกความสอดคล ้องของข ้อกาหนดระบบ
แพร่กระจายร่วมสาหร ับมาตรฐาน GPON หนึ่ งในข ้อตกลงอัน

หลักกำรทำงำนของ
เทคโนโลยี PON
ิ่ าคัญสองอย่างของของเครือข่ายความเร็วสูง PON
มีสงส
่ นจิกะบิต และสูงกว่า อัน
อันแรกคือสนับสนุ นอัตราข ้อมูลทีเป็

ทีสองคือการเลือกโปรโตคอลสาหร ับการร ับส่งข ้อมูลของผูใ้ ช ้
(Data payload) ผ่านอุปกรณ์ Access Network
เทคโนโลยีการแอกเซสแบบเก่าทีประกอบด ่ ้วย DSL ,
Cable และ BPON FTTH มีการใชCPU-centric
้ ่ ้นทุนต่าใน
ทีต
การควบคุมการไหลของข ้อมูลผ่านอุปกรณ์ Access Network
่ การฝังโปรเซสเซอร ์แบบ 8 หรือ 16 บิต ไว ้ในอุปกรณ์
ทีมี
Access Interface เพือท ่ าหน้าทีควบคุ
่ มและจัดการการไหลของ
ข ้อมูล วิธก ้ าให ้มีต ้นทุนต่าสาหร ับการจัดการ
ี ารดังกล่าวนี ท

เกียวกั บการเข ้าถึงข ้อมูลและฟังก ์ชันควบคุมในระบบแอกเซส
อย่างไรก็ตามวิธก ่
ี าร CPU-centric จะล ้มเหลวเมือความเร็ วของ
ข ้อมูลเป็ นจิกะบิตต่อวินาทีหรือมากกว่า เพราะโปรเซสเซอร ์
่ งไว ้ (embedded)ทางานได ้ไม่เร็วเท่ากับความเร็วของสาย
ทีฝั
ธารข ้อมูล ดังนั้นวิธก ี ารแบบใหม่จะต ้องถูกนามาใช ้งานเช่น
สถาปัตยการของ GigaPASS™ เป็ นต ้น
สถาปัตยกรรม GigaPASS™ จะเชือมต่ ่ อชุดของกลไกการ
โปรเซสฮาร ์ดแวร ์ในสถาปัตยกรรมแบบความเร็วสาย (wire-
speed Architecture) วิธก ้ าให ้สายธารแพ็กเกตทังหมด
ี ารนี ท ้
ถูกโปรเซสและถูกส่งโดยไม่มก ี ารหน่ วงผ่าน Gigabit PON
interface
สถำปั ตยกรรม
Gigabit PASS
• วิธก
ี าร GigaPASS™ ผนึ กเอาสามรูปแบบของเทคโนโลยี
เข ้าด ้วยกัน อันแรกเป็ นเทคโนโลนี การอินเตอร ์เฟสเครือข่าย
ของ PON (PON network interface) และการโปรเซส อันทีสอง ่
เป็ นเทคโนโลยีการโปรเซส IP และ Ethernet และเทคโนโลยีที่
สามคือสถาปัตยกรรม SoC ทีสนั ่ บสนุ นโปรเซสเซอร ์ RISC
แบบ 32 bits ด ้วยระบบปฏิบต ั กิ าร Linux และ Vx Works ซึง่
เป็ นMiddleware และ Application Specific Firmware
สถาปัตยกรรมแบบนี สามารถสนั้ บสนุ นอัตราข ้อมูลของทัง้
GE-PON และ GPON ทีความเร็ ่ วสายจาก 1 ถึง 2.5 Gbps โดย
มีคณ ุ สมบัตท ี่ ดหยุน
ิ ยื ่ สามารถโปรแกรมได ้และสามารถ
อัพเกรดโครงสร ้างของอุปกรณ์ให ้เหมาะสมกับเครือข่ายแอก
เซสในอนาคตได ้
เครือข่ำย PON
การจัดเครือข่ายของ PON เป็ นแบบ Full duplex โดยใช ้
เทคโนโลยีการจัดการเครือข่ายเป็ นแบบ Point to Multipoint
่ ้อุปกรณ์ Optical Splitter ทีมี
ซึงใช ่ ราคาไม่แพงทาหน้าที่

แบ่งแยกไฟเบอร ์เส ้นเดียวทีมาจากแบ็ คโบนของ Enterprise
Network หรือ Metro Network ออกไปเป็ นหลายเส ้นทางไปยัง
ผูใ้ ช ้บริการแต่ละรายใน Access Network ระบบ PON เป็ น
“Passive” เนื่ องจากนอกเหนื อจากที่ Central Office (CO) และ
Customer Premise Equipment (CPE) แล ้วไม่มอ ี ป
ุ กรณ์
อิเล็กทรอนิ กส ์แบบ “Active” อยูภ ่ ายใน Access Network เลย
วิธก ี ารแบบนี ท้ าให ้ง่ายสาหร ับการดาเนิ นการและการ
บารุงรักษาเครือข่าย
่ ส
สิงที ่ าคัญสาหร ับจุดเชือมต่ ่ อของ PON คืออุปกรณ์ทอยู ี่ ่
ที่ Central Office ซึงเรี
่ ยกว่า OLT(Optical Line Terminal) และจุด

เชือมต่ อทีอยู ่ ด ่ ยกว่า ONU : Optical
่ ้านผูใ้ ช ้บริการ (CPE) ซึงเรี
Network Unit (สาหร ับ GE-PON) และ ONT : Optical Network
Terminal (สาหร ับ GPON) ความแตกต่างระหว่างอุปกรณ์ OLT
และ ONT ก็คอื จุดประสงค ์สาหร ับการใช ้งาน กล่าวคือ
อุปกรณ์ทเป็ ี่ น OLT สนับสนุ นฟังก ์ชันการบริหารจัดการได ้สูง
ถึง 128 Downstream Link ซึงในทางปฏิ ่ บต ่
ั โิ ดยทัวไปจะเป็ น
8-32 พอร ์ตต่อหนึ่ ง OLT ส่วนอุกรณ์ ONT (หรือ ONU) จะ
สนับสนุ นเฉพาะ Link ของตัวเองทีเชื ่ อมต่
่ อไปยัง Central
Office เท่านั้น ดังนั้นจึงส่งผลให ้อุปกรณ์ ONT/ONU มีราคาต่า
มาก ในขณะทีอุ ่ ปกรณ์ OLT ซึงรองร ่ ับความจุจานวนมากนั้น
เครือข่ำยแอกเซส FTTH – OLTs และ
ONU
่ ้องการร ับส่ง (Data payload) ถูกคอนฟิ กให ้อยู่
ข ้อมูลทีต
ในรูปของแพ็กเกต ซึง่ GE-PON ใช ้มาตรฐานทีเป็ ่ น Ethernet
่ กกาหนดเป็ น IEEE 802.3ah โดย Ethernet เป็ นมาตรฐาน
ทีถู
สาหร ับFirst Mile ส่วนมาตรฐานสาหร ับ GPON คือมาตรฐาน

ITU-T G.984 ซึงประกอบด ้วย ATM, TDM และ Ethernet แต่
เนื่ องจากต ้นทุนสาหร ับ Ethernet นั้นต่า จึงมีแนวโน้มว่าจะมี
การใช ้งานมาตรฐานทีเป็ ่ น Ethernet กว ้างขวางกว่าแบบอืน ่
จากเหตุผลดังกล่าว จึงทาให ้มีการคาดการณ์กน ั ว่า GPON ที่
ใช ้มาตรฐาน Ethernet จะเป็ นส่วนประกอบหลักของตลาด
GPON

โดยทัวไปความยาวคลื ่ ใช
นที ่ ้งานสาหร ับ GPON จะเป็ น
1310/1490ns โดยอัตราข ้อมูลทีเป็ ่ นดาวน์ลงิ ค ์ของ
ผูใ้ ช ้บริการจะเป็ น 2.4 Gbps ส่วนอัพลิงค ์จะเป็ น 1.2 Gbps
ความยาวของไฟเบอร ์จากผูใ้ ห ้บริการ (CO) ไปยังสถานทีของ ่
ผูใ้ ช ้บริการ (CPE) มีระยะสูงถึง 20 กิโลเมตร ในส่วนของ OLT
จะมีการเชือมต่ ่ อกับระบบอืน่ ๆ เช่น IP Network, Video/Audio
over IP, CATV และระบบอืนๆ ่ จึงทาให ้ข ้อมูลทีผู่ ใ้ ช ้บริการ
สามารถใช ้งานได ้เป็ นทัง้ Voice, Data และ Video แต่ทงนี ้ั ก็
้ จะ

ขึนอยู ก
่ บั ความสามารถของ ONT ทีเลื ่ อกใช ้ด ้วย

รำยละเอียดโดยทัวไปของ
เทคโนโลยี GPON
Ethernet ใน Access Network

โปรโตคอล Ethernet ถูกใช ้งานสาหร ับ Local Area


Network มานานแล ้ว ในปัจจุบน ั ได ้วิวฒ
ั นาการถึงขันที้ ผ่ ่ าน
การพิจารณาแล ้วว่า Ethernet สามารถนามาใช ้ในระบบ
Metro และ Access Network ได ้ โดยเฉพาะการสนับสนุ น
่ น FTTH และได ้พิสจ
Access Network ทีเป็ ู น์ให ้เห็นแลว้ ในการ
ใช ้งานสาหร ับ GE-PON และมีการคาดการณ์วา่ GPON จะนา
ข ้อดีของเทคโนโลยี Ethernet มาปร ับปรุงระดับเทคโนโลยีของ
ผูป้ ระกอบการให ้ดีขนึ้
ึ้ ส
การปร ับปรุง Ethernet ให ้ดีขนที ่ าคัญก็คอื การเพิม ่

CoS (Class of Service) สาหร ับแอพพลิเคชัน เพือประกั น
แบนด ์วิดธ ์และ Latency ของแอพพลิเคชันเช่นภาพและ
เสียง และมีการสนับสนุ น SLAs ( Service Level Agreement)
สาหร ับหลายแอพพลิเคชัน โดยระบบของ Central Office
่ ้ Ethernet และระบบด ้านผูใ้ ช ้บริการ (CPE) ในปัจจุบน
ทีใช ั นี ้
สามารถสนับสนุ น QoS (Quality of Service) แบบ end-to-

end และการแบ่งระดับชันของทราฟฟิ ่ าให ้ Ethernet
ก ซึงท
เป็ นพาหนะนาพาอันดีเลิศสาหร ับการร ับส่งบริการทีมี ่
ความก ้าวหน้า และสามารถฝ่ าอุปสรรคเรืองต ่ ้นทุนและ
ข ้อจากัดในการใช ้งานของ ATM ได ้
สรุป
GPON เป็ นเทคโนโลยีเครือข่ายในส่วนแอกเซสสาหร ับ
่ าสนใจเนื่ องจากสามารถสนองความ
FTTH Broadband ทีน่

ต ้องการของผูป้ ระกอบการได ้ทัวโลก โดย GE-PON เป็ น
่ การใช ้งานกันอย่างแพร่หลาย
ตัวอย่างของความสาเร็จทีมี

แล ้วในเอเซีย ในขณะทีมาตรฐาน GPON สามารถให ้บริการได ้
่ อนกันกับ GE-PON
ในความสามารถทีเหมื
FTTx Business for TOT
ควำมต้องกำรของผู ใ้ ช้งำน
ปั จจุบน

บริกำรต่ำงๆที่ User
ต้องกำร
Home Gateway Concept
ควำมต้องกำรทำงด้ำน
Bandwidth
เปรียบเทียบควำมเร็วในกำร
ร ับข้อมู ล
ข้อจำก ัดของกำรใช้สำย
ทองแดง
Fttx Network
Fttx Network
Fttx Network
Fttx Network
Fttx Network
Fttx Network
Fttx Network
What is PON ?
PON Splitter
Standards /Speed for PON
G-PON VS GE-PON
GPON Protocol Stack
GPON Multiplexing Architecture
GPON Multiplexing Architecture
GPON Frame Structure
T-CONT Bandwidth Terms
Mapping of TDM Service in GPON
Mapping of Ethernet Service in GPON
PON Fundamentals
G-PON Downstream
G-PON Upstream
FTTX Components
FTTX components Splitter
FTTX components Splitter
FTTX components Splitter
FTTX components Splitter

• Passive component
• มีให ้เลือกตาม Application
• 1:2
• 1:4
• 1:8
• 1:16
• 1:32
FTTx Components – Connector
FTTx Optical Splicing Box
FTTx Optical Termination Box
FTTx Fiber Optic Outlet
FTTx Fiber Optic Outlet
FTTx Fiber Termination Enclosure
FTTx Components – Patch Cord
Outside Plant for FTTx
Application for AN5116-06B Equipment
Migration path copper " fiber
โครงสร ้ำงของสำย Fiber
Optic
ส่วนประกอบของ Fiber
Optic

ส่วนประกอบของ Fiber Optic ประกอบด้วยส่วนคัญ


หลัก 2 ประกำร ได้แก่
่ นแกนอยูต
• ส่วนทีเป็ ้
่ รงกลางหรือชันใน แล ้วหุ ้มด ้วยส่วนที่
เรียกว่า Cladding จากนั้นก็จะถูกหุ ้มด ้วยส่วนทีป้่ องกัน
(Coating) โดยทีแต่่ ละส่วนนั้นทาด ้วยวัสดุทมี ี่ คา่ ดัชนี หก
ั เห
ของแสงทีมี ่ คา่ แตกต่างกัน
• แกน เป็ นส่วนตรงกลางของ Fiber Optic และเป็ นส่วนทีใช ่ ้นา
แสงอีกด ้วย โดยมีคา่ ดัชนี ของการหักเหของแสงส่วนนี ้
จะต ้องมากกว่าส่วนของ Cladding แล ้วลาแสงทีผ่ ่ านไปในแกน

จะถูกขังหรือเคลือนที ่
ไปตาม Fiber Optic ด ้วยขบวนการ
สะท ้อนกลับหมดภายใน
ส่วนประกอบของ Fiber
Optic
• ส่วนของการป้ องกัน เป็ นชันที ้ ต่
่ อจาก Cladding เป็ นทีใช ่ ้
ป้ องกันแสงจากภายนอกไม่ให ้เข ้ามาทีเส ่ ้น Fiber Optic อีกทัง้
ยังใช ้ป้ องกันมิให ้แสงจากท่อนาแสง Fiber Optic ภายในให ้
ออกไปสูภ ่ ายนอกได ้อีกด ้วย นอกจากนี ยั ้ งใช ้ประโยชน์เมือมี

การเชือมต่่ อเส ้น Fiber Optic โครงสร ้างภายในอาจ
ประกอบด ้วย ชันของ ้ Plastic หลายๆ ชัน ้ นอกจากนี ส่ ้ วน
ป้ องกันยังทาหน้าทีเป็ ่ นตัวป้ องกันการกระทาจากแรง
ภายนอกได ้อีกด ้วย ตัวอย่างของค่าดัชนี หก ั เห เช่น แกนมีคา่
ดัชนี หก ั เหประมาณ 1.48 ส่วนของ Cladding และส่วนป้ องกัน
่ าหน้าทีป้่ องกันแสงจากแกนออกไปทีภายนอก
ซึงท ่ และ
ป้ องกันแสงจากภายนอกรบกวนจะมีคา่ ดัชนี หก ั เหเป็ น 1.46
และ 1.52 ตามลาดับ (รูปประกอบที่ 2)
ส่วนประกอบของ Fiber
Optic

รูปที่ 2 แสดงโครงสร ้างภายในของ Fiber Optic


ชนิ ดของ Fiber Optic

ภายใน Fiber Optic นั้น จานวนของลาแสงทีเดิ ่ นทางหรือ



เกิดขึนจะเป็ นตัวบอก Mode ของแสงทีเดิ ่ นทางภายใน Fiber
Optic นั้นๆ กล่าวคือ ถ ้ามีแนวของลาแสงอยูใ่ นแนวเดียว
เรียกว่า Single Mode Fiber Optic (SMF) แต่ถ ้าหากภายใน
Fiber Optic นั้นมีแนวของลาแสงอยูเ่ ป็ นจานวนมาก เรา
เรียกว่า Multi-Mode Fiber Optic (MMF)
ชนิ ดของ Fiber Optic

นอกจากการแบ่งชนิ ดของ Fiber Optic ตาม Mode ของ


การทางานแล ้ว ยังสามารถแบ่งตามวัสดุทท ี่ า เช่น เส ้นใยที่
ทาจากแก ้ว Plastic หรือ Polymer และยังสามารถแบ่งได ้ตาม
ลักษณะของรูปร่าง ตามลักษณะของดัชนี หก ั เห เช่น Fiber
ชนิ ด Step Index หรือ Graded Index เป็ นต ้น
ชนิ ดของ Fiber Optic

Single Mode Fiber Optic มีขนาดเส ้นผ่านศูนย ์กลางของ


แกนและ Cladding ประมาณ 5-10 และ 125 ไมครอน
่ วนของแกนมีขนาดเล็กกว่า Fiber Optic ชนิ ด
ตามลาดับ ซึงส่
Multi-mode มาก และให ้แสงออกมาเพียง Mode เดียว
ลักษณะหน้าตัดของเส ้น Fiber Optic แบบ Single Mode มีดงั นี ้
(รูปที่ 3)
ชนิ ดของ Fiber Optic

รูปที่ 3 แสดงลักษณะการทางานภายในของ Single Mode Fiber Optic


ชนิ ดของ Fiber Optic

Multimode Fiber Optic ส่วนใหญ่มข


ี นาดเส ้นผ่าน
ศูนย ์กลางของแกนและ Cladding โดยประมาณ 50 ไมครอน
62.5 ไมครอน โดยมี Cladding ขนาด 125 ไมครอน
ชนิ ดของ Fiber Optic

เนื่ องจากขนาดของเส ้นผ่านศูนย ์กลางของแกนมีขนาด


ใหญ่ ดังนั้นแสงทีตกกระทบที
่ ่ ้ายปลาย Input ของสาย Fiber

Optic จะมีมุมตกกระทบทีแตกต่่ างกันหลายค่า และจาก
หลักการสะท ้อนแสงกลับหมดของแสงทีเกิ ่ ดขึน้ ภายในส่วน
ของแกนทาให ้มีแนวของลาแสงเกิดขึนหลาย ้ Mode โดยแต่
ละ Mode ใช ้ระยะเวลาในการเดินทางทีแตกต่่ างกัน อันเป็ น
สาเหตุทท ี่ าให ้เกิดการแตกกระจายของแสง (Mode
Dispersion)
ชนิ ดของ Fiber Optic

Multimode Fiber Optic มี 2 แบบได้แก่


Step Index
Grade Index
ชนิ ดของ Fiber Optic

รู ปที่ 4 ต ัวอย่ำงของ Multimode Fiber แบบ Step Index


ชนิ ดของ Fiber Optic

รูปที่ 5 แสดงตัวอย่างการทางานภายในของ Grade Index Multimode ทีนิ


่ ยม
ใช ้
ขนำดสัดส่วนของ Fiber
Optic

• ขนาดสัดส่วนของ Fiber Optic มีดงั นี ้


– Grade Index Multimode Fiber
– Single Mode Fiber
ขนำดของ Core และ
Cladding
ั นี ้ มีขนาดของ Fiber Optic Cable ทีใช
• ปัจจุบน ่ ้อยู่ ได ้แก่
– 8/125
– 62.5/125
– 100/140
รูปที่ 6 แสดง Fiber Optic มาตรฐานขนาดต่างๆ
ขนำดจำนวนของ Optical
Fiber

• ความแตกต่างระหว่าง Fiber Optic ทัวไป พอจะสามารถแยก
ออกเป็ น 3 แบบหลักๆ ได ้แก่
– Simplex Cable
– Duplex Cable
– Multifiber Cable
แบบ Simplex Fiber Optic cable
่ สาย Fiber Optic เพียงเส ้นเดียว
เป็ นสาย Fiber Optic ทีมี
ภายใน Cable Jacket เนื่ องจากมีเพียง Fiber เส ้นเดียวภายใน
ดังนั้นปกติจะมี Buffer ขนาดทีใหญ่
่ ่
กว่าทัวไป ้ Jacket
รวมทังมี

ทีหนากว่ าปกติเช่นกัน
แบบ Duplex Cable

ภายในจะมีสาย Fiber Optic 2 เส ้น ภายใน Jacket เดียวกัน


้ ้ร ับความนิ ยมให ้ใช ้เป็ น Fiber Back Bone และ
สายประเภทนี ได
สามารถทางานเป็ น Full Duplex ได ้
แบบ Multifiber Cable

่ สาย Fiber ภายในหลายๆ เส ้น มี


เป็ นสาย Fiber Optic ทีมี

ตังแต่ ้
2 เส ้นขึนไปจนถึ
งกว่า 100 เส ้น หรืออาจมากถึง 300
เส ้นก็ได ้

กำรเชือมต่
อด้วยConnector


การเชือมต่ อ Fiber Optic ยังสามารถทาได ้โดยการใช ้
Connector อีกด ้วย ทาให ้มีความสะดวกในการถอดได ้ตาม
ความจาเป็ น Connector สาหร ับ Fiber Optic มีหลายแบบ ดังนี ้
FC Connector

FC Connector ได ้ร ับการออกแบบโดย NTT ของญีปุ่่ น ที่


ได ้ร ับความนิ ยมมากในญีปุ่่ น รวมทังสหร
้ ัฐและยุโรป ส่วนมาก
Connector แบบนี ้ จะถูกนาไปใช ้งานทางด ้านเครือข่าย
โทรศัพท ์ เนื่ องจาก Connector แบบนี ้ อาศัยการขันเกลียว
่ ดติดกับหัวปร ับ ข ้อดีของ Connector ประเภทนี ้ ได ้แก่
เพือยึ

การเชือมต่ ่ นหนา แต่ข ้อเสียคือการเชือมต่
อทีแน่ ่ ออาจต ้อง
เสียเวลามาก
FC Connector

รูปที่ 8 แสดงลักษณะของ FC Connector


SC Connector


ออกแบบโดย AT&T สาหร ับการเชือมต่ อ Fiber Optic

ภายในอาคารสานักงาน ซึงเครื อข่าย LAN ชนิ ดนี ้ เหมาะ
่ ้องการถอดเปลียน
สาหร ับงานทีต ่ Connector อย่างรวดเร็ว
โดยไม่สนใจความแน่ นหนาของ Connector
SC Connector

รูปที่ 9 แสดง SC Connector


FDDI Connector

ออกแบบโดย American National Standards Institute,


(ANSI) สาหร ับใช ้งานบนเครือข่าย FDDI โดยเฉพาะ
SC Connector

รูปที่ 10 แสดง FDDI Connector


Connector แบบ SMA

เป็ น Connector อีกแบบหนึ่ งทีได


่ ้ร ับความนิ ยมมาก
โดยเฉพาะในงานของ NATO และในกิจการทางทหารของ
สหร ัฐ ออกแบบโดย Amphenol Corp.
Connector แบบ SMA

รูปที่ 11 แสดงลักษณะ SMA Connector


ST-Connector

่ กนามาใช ้งานสาหร ับสาย Fiber Optic


เป็ น Connector ทีถู
ชนิ ด Single Mode และ Multimode มากทีสุ ่ ด โดยที่
Connector ประเภทนี ้ มีอต ั ราการสูญเสียกาลังแสงเพียงแค่ไม่
เกิน 0.5 dB เท่านั้น วิธก ่
ี ารเชือมต่อก็เพียงสอดเข ้าไปทีรู่
Connector แล ้วบิดตัวเพือให่ ้เกิดการล็อคตัวขึน้ เพิมความ

ทนทาน ทาให ้ไม่เกิดปัญหาเนื่ องจากการสันสะเทื่ อน ถูก
นามาใช ้กับระบบ LAN Hub หรือ Switches
Connector แบบ SMA

รูปที่ 12 แสดงลักษณะของ ST-Connector และ อุปกรณ์ตวั แปลงสาย LAN ทีใช


่ ้ ST Connector
Jack (ขวา)
กำรสู ญเสียของสัญญำณแสงใน
สำย Fiber Optic
การสูญเสียของสัญญาณแสงในสาย Fiber Optic เป็ น
ส่วนสาคัญทีท ่ าให ้เกิดความผิดพลาดของข ้อมูลข่าวสาร ทา

ให ้การเชือมต่ ่
อสือสารด ่
้วยระยะทางไม่เป็ นไปตามทีคาดหวั ง
(ปกติสาย Fiber Optic สามารถเชือมต่ ่ ่
อได ้ด ้วยระยะทางทียาว
เกินกว่า 1-2 กิโลเมตร ทังนี ้ ขึ
้ นอยู
้ ก
่ บ
ั ว่า ท่านใช ้สาย Fiber
Optic แบบใด? แบบ Multimode หรือ Single Mode? รวมทังยั ้ ง

ขึนอยู ก
่ บ
ั โปรโตคอลของเครือข่าย อย่างไรก็ดี ปัจจัยหลักคือ
การสูญเสียของสัญญาณแสงในสาย ข ้อเท็จจริงทีเกี ่ ยวกั
่ บ
การทาให ้เกิดการสูญเสียของกาลังแสงในสาย มีหลาย
ประการดังนี ้
• ความสูญเสีย Power ของ Fiber Optic นั้นขึนอยู ้ ก
่ บ
ั ความยาว
่ ใช
คลืนที ่ ้ ความยาวคลืนยิ ่ งมากเท่
่ าใด อัตราการสูญเสียของ
แสงจะน้อยลง เช่น การสูญเสียกาลังแสงบนความยาวคลืน ่
1300 nm ได ้แก่ <0.5 dB/กิโลเมตร
• สาหร ับ Silica Glass นั้น ความยาวคลืนสั ้ สุ
่ นที ่ ดจะมีอตั ราการ
สูญเสียมากทีสุ ่ ด
• อัตราการสูญเสีย Power ทีน้ ่ อยทีสุ
่ ด ได ้แก่ ความยาวคลืน ่
1550 nm

• หน่ วยวัดทีแสดงการสู ญเสียของ Power ได ้แก่ Decibel (dB)
โดยมีหน่ วยคิดเป็ น dB ต่อกิโลเมตร (dB/km)
• ค่านี ถู้ กนามาคานวณ โดยเอาความยาวทังหมดของสาย

Fiber Optic คิดเป็ น Km
• การสูญเสียของ Fiber Optic สามารถมีสาเหตุหลายประการ
ดังนี ้
– Extrinsic
– Bending Loss เนื่ องจากการโค ้งงอของสายเกินค่า
มาตรฐานทีผู ่ ผ้ ลิตกาหนด
– การสูญเสียอันเนื่ องมาจากการทา Splice รวมทังการเข
้ ้า
่ สมบูรณ์
หัวสายทีไม่
– การสูญเสียเนื่ องจากรอยแตกหักเกิดขึนที้ พื
่ นผิ
้ ว
– การสูญเสียอันเนื่ องจากมุมแสงไม่เป็ นไปตามคุณลักษณะ
จาเพาะของผูผ้ ลิต (Numeric Aperture Mismatch)
รูปที่ 13 แสดงลักษณะ Numeric Aperture
รูปที่ 14 แสดงลักษณะมุมร ับแสงทีมี
่ คา่ Numeric Aperture
ค่ำ Numeric Aperture (NA)

่ ้บอกขอบเขตหรืออาณา
ค่า NA เป็ น Parameter ทีใช

บริเวณทีปลายของเส ้น Fiber Optic สาหร ับร ับแสงเข ้าไปใน
เส ้น Fiber หรือปล่อยแสงออกมาจากเส ้น Fiber ทังนี ้ ให
้ ้ลอง
เปรียบเทียบตอนปลายของเส ้น Fiber เสมือนเป็ นปากขวดใส่
้ มี
นาที ่ กรวยสอดอยู่ (ดังภาพล่าง) เมือต ่ ้องการกรอกนาใส่ ้
ขวดจะต ้องควบคุมให ้นาเข ้ ้าไปในกรวยเท่านั้น หากนาที ้ เท่

ลงไปอยูใ่ นทิศทางหรือมุมทีกรวยนั ้นร ับไม่ได ้ นานั
้ ้นก็ไม่
สามารถจะไหลเข ้าขวดได ้ ในทานองเดียวกัน
ลาแสงทีส่่ งเข ้าไปใน Fiber แล ้วสามารถเดินทางอยูใ่ น
Core ตลอดระยะทาง จะต ้องทามุมกับปลายเส ้น Fiber ให ้อยู่
ภายในขอบเขตของกรวยดังรูป B หากแสงทีส่ ่ งเข ้าไปในเส ้น
Fiber Optic ทามุมมากกว่าความกว ้างของปากกรวย (เส ้น C)
แสงอาจเดินทางเข ้าไปในส่วนของ Core ของ Fiber Optic ก็

ได ้ แต่เมือแสงไปกระทบกั บรอยต่อระหว่าง Core กับ Cladding

ไปเรือยๆ ่ น้ และหมดไปในทีสุ
พลังงานก็จะสูญเสียเพิมขึ ่ ด

เพียงชัวระยะทางสั ้ ของการเดินทางในเส ้น Fiber เท่านั้น
นๆ
จากรูปที่ 14 จะเห็นว่า ค่า Numeric Aperture เป็ นค่า
แสดงขนาดมุมร ับแสงทีถู ่ กกาหนดโดยผูผ้ ลิต ดังนั้นการ
นาเอาสาย Fiber Optic ทีมี ่ คา่ Numeric Aperture ไม่เข ้ากัน
ส่งผลให ้แสงสามารถเล็ดลอดออกไปจากสาย Fiber Optic ได ้
ู ร่างคล ้ายกับกรวย ดังรูปที่ 13
มุมร ับแสงมีรป
• ปัญหาจากขนาดของแกน รวมทังรู ้ ปร่างของแกนท่อนาแสง
ไม่เข ้ากัน (Core Size Mismatch) หรือ Profile Mismatch


รูปที15แสดงลั
กษณะการเอาสาย Fiber Optic ทีมี่ ขนาดต่างๆมาเชือมต่
่ อ
กันทาให ้เกิดการสูญเสียกาลังแสงได ้
Intrinsic

• Loss Inherent to Fiber


่ ดจากการผลิต Fiber
• การสูญเสียทีเกิ
• Freshnel Reflection
Bending Loss

• Bending Loss เกิดจากปัญหาการโค ้งงอของสายเกินค่ารศั มี


ความโค ้งงอของสายตามปกติ (Minimum Bend Radius)
้ ้จากการ
อย่างไรก็ดี Bending Loss ยังสามารถเกิดขึนได
องค ์ประกอบย่อยๆ ดังนี ้
่ ความแหลมบริเวณแกนของสาย
– ความโค ้งทีมี
– ความไม่สมบูรณ์ของ Buffer และ Jacket โดยมีความคลาดเคลือน ่
ของการวางตาแหน่ งระหว่างกันทีห่ ่ างประมาณ 2-3 มิลลิเมตร

– การติดตังสายไม่ ถก
ู วิธห ี รือไม่เรียบร ้อย
– ปัจจัยต่างๆ เหล่านี ้ เรียกว่า Microbending สามารถเกิดขึนได ้ ้เมือ

ความยาวของสายเพิมมากขึ ่ น้
กำรสู ญเสียเนื่ องจำกกำรเข้ำหัว Connector และทำ
Splice ไม่ด ี

• Splice Loss สามารถเกิดขึน ้ ณ ทีใดก็่ ่ การตัดต่อและ


ได ้ทีมี

เชือมสายเข ้าด ้วยกัน โดยประกอบด ้วย การ Loss 2 แบบ
ได ้แก่ Mechanical Loss และ Fusion Splicing Loss
– Mechanical Loss จะมีอต ่ ด เมือเที
ั ราสูงทีสุ ่ ยบกับ Fusion Splicing
โดยมีอต ้
ั ราการ Loss ตังแต่ 0.2 ไปจนถึง 1.0 dB ขึนไป ้
– Mechanical Loss จะมีอต ่ ด เมือเที
ั ราสูงทีสุ ่ ยบกับ Fusion Splicing
โดยมีอต ้
ั ราการ Loss ตังแต่ 0.2 ไปจนถึง 1.0 dB ขึนไป ้
่ ดขึนสู
– การ Loss ทีเกิ ้ ง สามารถเกิดขึนได
้ ้จากองค ์ประกอบหลาย
ประการดังนี ้
• Misalignments of Fiber Cores
• Poor Cleave
• Air Gap
• Contamination
• Index of Reflection Mismatch
• Core Diameter Mismatch
กำร Loss ทีเกิ ้
่ ดขึนจำก Connector

่ ดขึนจาก
• การสูญเสียทีเกิ ้ Fiber Optic Connector สามารถ

มีระดับ 0.25 ไปจนถึง 1.5 dB และขึนอยู ก
่ บ
ั ชนิ ดของ
Connector ทีใช่ ้งานอีกด ้วย นอกจากนี ยั
้ งมี Factor อืนๆ
่ ที่
ทาให ้เกิดการ Loss ของ Connector ดังนี ้
– ปัญหาสกปรก หรือ Contamination บน Connector (ปัญหาที่
่ ด)
เกิดบ่อยทีสุ
– การติดตัง้ Connector ทีไม่
่ ถกู ต ้องไม่เรียบร ้อย
่ ดขึนบนพื
– การชารุดเสียหายทีเกิ ้ ้ วของ Connector
นผิ
– Poor Scribe (Cleave)
– Mismatched Fiber Cores
– Misaligned Fiber Cores
– Index of Reflection Mismatch
Loss Inherent to Fiber

่ สามารถจะขจัดไปได ้ใน
การสูญเสียใน Fiber ทีไม่
ระหว่างกระบวนการผลิต มีสาเหตุเกิดจาก Impurities ใน

กระจก รวมทังการดู ดซึมของแสงในระดับของโมเลกุล การ

สูญเสียของแสงขึนอยู ก
่ บ
ั ความหนาแน่ นเชิงแสง

ส่วนประกอบของ Fiber Optic รวมทังโครงสร ้างทางโมเลกุล
่ ยกว่า Rayleigh Scattering เมือแสงมา
ของ Fiber ซึงเรี ่
กระทบกับส่วนประกอบดังกล่าว ก็จะเกิดการกระจายตัวของ
แสงไปยังทิศทางต่างๆ ขึน้
่ ดจำกกำร
กำรสู ญเสียทีเกิ
แตกหักของพืนผิ ้ ว

เนื่ องจากว่า สาย Fiber Optic มีสว่ นทีท


่ ามาจาก Silica
และกระจก ดังนั้นการโค ้งงอสายมากเกินไปมีสว่ นทาให ้เกิด

การแตกหัก รวมทังการติ ้ ขาดระมั
ดตังที ่ ดระวัง
กำรดู แลร ักษำสำยFiber
Optic
Minimum Bend Radius สาย Fiber Optic ถูกกาหนดให ้มี
Minimum Bend Radius จากผูผ ่ นเงือนไขของ
้ ลิต เพือเป็ ่ Load
่ ตอ
ทีมี ่ การดึงสาย และในช่วงทีสายอยู
่ สาย เช่น ช่วงทีมี ่ ใ่ น
่ ได ้ Load เช่น ช่วงทีมี
สภาวะทีไม่ ่ การติดตังสายเรี
้ ยบร ้อยแล ้ว
โดยสาย Fiber จะต ้องไม่เกิดภาวะ Minimum Bend Radius ใน
ท่อเกินไปกว่าทีก ่ าหนดขึนโดยผู
้ ผ ่ ใ่ นท่อจะต ้อง
้ ลิต (สายทีอยู
ไม่มก ้
ี ารงอไปงอมาเป็ นงู เลือยมากเกิ นกว่าค่า Minimum Bend
Radius )

การโค ้งงอของสายทีมากเกิ นไป จะส่งผลให ้เกิดความ
เสียหายแก่สาย Fiber ตรงทีท ่ าให ้เกิด Attenuation เพิมขึ
่ น้
่ ผ
เป็ นอย่างมากเกินค่าทีผู ้ ้ นอกจากนี จะท
้ ลิตตังไว ้ าให ้สาย
เกิดความเสียหายอีกด ้วย
Loss Budget GPON & GEPON

Power ออกจากหน้า Card GPON & GEPON = +2 ถึง


+4 dB
GPON Loss Budget (ปลายทาง) = -28 dB
GEPON Loss Budget (ปลายทาง) = -25 dB
่ นคือค่ามาตรฐาน
*หมายเหตุ ค่าทีเห็
่ ยรทีสุ
*แต่จากการทางานจริง loss budget ทีเสถี ่ ด
่ ี่
อยูท
GPON Loss Budget = (-20 dB) ถึง (-24dB)
GEPON Loss Budget = (-18 dB) ถึง (-21dB)

You might also like