You are on page 1of 9

EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

การทดลองที่ 11
การสํารวจเครือขายสือ่ สารเคลือ่ นที่
(Mobile Communication Survey)

11.1 วัตถุประสงค
11.1.1 เพื่อเรียนรูการสํารวจเครือขายสื่อสารไรสายบนโทรศัพทสมารทโฟน
11.1.2 เพื่อเรียนรูถึงองคประกอบที่สําคัญ ที่ใชบนระบบสื่อสารไรสาย

11.2 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคเริ่มตน (Zero Generation: 0G)


ในป ค.ศ. 1873 แมกซเวลล (James Clerk Maxwell) ไดคนพบวาคลื่นแมเหล็กไฟฟามีความเร็วในการเคลื่อนที่
เทากับคลื่นแสง และสามารถสงสัญญาณผานอากาศไดโดยไมตองใชสาย แตในขณะนั้นยังไมมีนักวิท ยาศาสตรคนใดเห็นดวย
จนกระทั่งในป ค.ศ. 1886 นักฟสิกสชาวเยอรมันชื่อ เฮิรตซ (Heinrich Rudolf Hertz) ไดทําการพิสูจนทฤษฎีของแมกซ
เวลล วาเปนความจริงในป ค.ศ.1893 นักวิทยาศาสตรชาวอิตาลีอีกทานหนึ่งคือ ริกิ (Augusto Righi) ไดดําเนินรอยตาม
พรอมกับแกไขปรับปรุงงานคนควาของเฮิรตซที่ทําอยู พรอมกับ ทดลองใหทราบถึงความสั่นสะเทือนที่เห็นดวยสายตาและ
ทางไฟฟา จากการทดลองตางๆ นี้นําไปสูความเขาใจในเรื่องปฏิกิริยาของแสงและคลื่นแมเหล็กไฟฟา หลังจากนั้นในป ค.ศ.
1894 มารโคนี่ (Guglielmo Marconi) ไดเริ่มทําการคนควาทดลองเกี่ยวกับ คลื่นแมเ หล็กไฟฟาเปนครั้งแรก และในป ค.ศ.
1895 มารโคนี่ไดทําการสรางเครื่องสงซึ่งนํามาใชในการทดลองในการสงสัญญาณแบบไรสายเปนครั้งแรก ดังรูป ที่ 11.1 โดย
งานชิ้นแรกของมารโคนี่นี้ไดใชพื้นฐานจากเครื่องกําเนิด สัญ ญาณของริกิ ดังรูป ที่ 11.2 จากความสําเร็จในครั้งนี้ มารโคนี่จึง
ทําการประดิษฐเครื่องสงวิทยุโทรเลขขึ้นในปค.ศ.1897 และทําการทดลองสงวิท ยุโทรเลขไร สายเปนระยะทาง 1 ไมลเ ปน
ผลสํ าเร็ จ มาร โ คนี่ ไ ดป รับ ปรุ ง วิท ยุโ ทรเลขให มีป ระสิท ธิภ าพมากขึ้น และทํ าการทดสอบอี กครั้ งหนึ่ ง ซึ่ งสามารถส ง ได
ระยะไกลกวาเดิม และไดทดสอบสงสัญญาณผานภูเขาปรากฏวาสัญญาณจากวิท ยุสามารถสงผานภูเขามาได และในป ค.ศ.
1901 มารโคนี่ไดทําการสงสัญญาณคลื่นวิทยุ เพื่อใชสื่อสารดวยรหัสมอรส (Morse code) ขามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยใช
เครื่องกําเนิดสัญญาณหรือสปารคแก็บ (Spark gap generator) ซึ่งทํางานโดยวงจรทําใหเกิดแรงดันสูงมากระหวางชองวาง
ของตัวนําสัญ ญาณซึ่งเรียกวาชองวางการสปารค (Spark gap) ทําใหอากาศบริเวณนั้นแตกตัว และกระแสไฟฟาสามารถเดิน
ทางผานอากาศได ซึ่งเรียกวากระแสสปารค [1] และทําใหเกิดสัญญาณคลื่นวิทยุรูป พัลส เพื่อใชในการสงขอมูลตัวอักษรใน
การสื่อสาร ซึ่งเปนตนกําเนิดของการสื่อสารดวยวิทยุสื่อสารไรสาย

รูปที่ 11.1 เครื่องสงของมารโคนี่ซึ่งนํามาใชในการทดลองสงสัญญาณแบบไรสาย [2]

11-1
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

รูปที่ 11.2 เครื่องกําเนิดสัญญาณของริกิ [2]

การสื่อสารดวยโทรศัพทเคลื่อนที่หรือโทรศัพ ทมือถือในยุคแรก เปนการสื่อสารดวยวิทยุสื่อสารไรสายในระบบ


แอนะล็อก (Analog) ผานคลื่นวิทยุ (Radio Waves) โดยจะเปนการสื่อสารกันในแบบกึ่งสองทาง (Half Duplex) คือ ผลัด
กันเปนผูรับ และผูสง หรือสลับกันพูด จะพูดพรอมกันในเวลาเดียวกันไมได เชน วิทยุสื่อสารที่ใ ชติดต อกันระหวางเรือกับ เรือ
หรือรถไฟกับ รถไฟในสมัยนั้น ฯลฯ ตอมาหลังผานพนสงครามโลกครั้งที่ 2 หลายประเทศเริ่ มพัฒนาความกาวหนาทางดาน
การสื่อสารดวยโทรศัพทเคลื่อนที่กันอยางจริงจัง ซึ่งในยุคนั้นจะถูกเรียกวายุคกอนเซลลูลาร (Pre-cell) [3] โดยมีบ ริษัท Bell
Mobile System ของอเมริกาไดเขามาริเริ่มปรับ ปรุงโครงสรางการใหบ ริการโทรศัพ ทเคลื่อนที่เปนรายแรก แตก็ยังไม
สามารถเรียกไดว าเปน การใหบ ริการโทรศัพ ทเ คลื่ อนที่อ ยา งเต็มระบบ เพราะยั งรองรับ การโทรพร อมกัน ได นอยและมี
คาใชจายที่แพงมาก

11.3 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 1 (First Generation: 1G)


ในป พ.ศ. 2516 John F. Mitchell และ Martin Cooper จากบริษัท Motorola ไดสรางโทรศัพทมือถือเครื่อง
แรกขึ้น มีน้ําหนักประมาณ 2 กิโลกรัม ในการใชงานโทรศัพ ท 30 นาทีตองชารจไฟนานถึง 10 ชั่วโมง แตอยางไรก็ต าม
โทรศัพทเครื่องนี้ก็ไมไดนํามาใชงานในเชิงพาณิชย การใชงานโทรศัพทมือถือในเชิงพาณิชยนั้นเริ่มขึ้นในป พ.ศ. 2522 บริษัท
NTT ไดเปดตัวเครือขายโทรศัพทมือถือระบบอัตโนมัติในเชิงพาณิชยขึ้นในญี่ปุนเปนรายแรก พรอมกับ การที่ Motorola ได
เปดตัว DynaTAC 8000X ซึ่งเปนโทรศัพทมือถือรุนแรกที่ไดรับ อนุญาตใหนํามาใชงานในเชิงพาณิชย หลังจากนั้นในหลายๆ
ประเทศก็ไดทําการเปดตัวโทรศัพทมือถือ เชน ระบบนอรดิก (Nordic Mobile Telephone System: NMT) ที่มีใหบ ริการ
ในกลุมประเทศแถบสแกนดิเนเวียคือ เดนมารก ฟนแลนด นอรเวย และสวีเดน
สําหรับ ประเทศไทยนั้นไดนําเอาระบบนอรดิกมาใชโดยองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในป พ.ศ. 2529 แตได
ปรับ เปลี่ ยนความถี่ ใ ชง านจาก 450 MHz มาเป น 470 MHz โดยให ชื่ อว า ระบบ NMT470 ซึ่ ง นั บ ได ว าเป นระบบ
โทรศัพทมือถือระบบแรกที่ถูกนํามาใชในประเทศไทย โดยในระยะแรกเปดใหบ ริการเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ
จังหวัด ชายฝงดานตะวัน ออก กอนขยายการใหบ ริการไปทั่ว ประเทศในเวลาตอมา สําหรั บ ตัวเครื่องโทรศั พทมือ ถือที่ถู ก
นํามาใชงานในระบบ NMT470 นี้ จะมีหนาตาคลายกระเปาหิ้ว และมีน้ําหนักมาก นอกจากนั้นการสื่อสารแหงประเทศไทย
ยังไดนําเอาระบบ AMPS (Advance Mobile Phone System) ที่ใชงานบนความถี่ 800 MHz เขามาเปดใหบ ริการดวย
โดยใชชื่อวาระบบ AMPS800 ซึ่งเปนระบบที่เคยไดรับ ความนิยมอยางมากในยุคนั้น ดวยขอดีที่วาตัวเครื่องโทรศัพทมือถือที่
ถู ก นํ า มาใช งานกั บ ระบบนี้ จะมี ข นาดเล็ก ทํ า ให พ กพาไปไหนมาไหนได ส ะดวกกว า ระบบ NMT นั่ น เอง ในชว งที่
องคการโทรศัพทแหงประเทศไทยเปดใหบริการเครือขายโทรศัพทมือถือในระบบ NMT470 เปนครั้งแรกในประเทศไทยนั้น

11-2
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

ก็ไดมีการกําหนดรหัสสําหรับ การเรียกเขาสูระบบโทรศัพทมือถือที่เปนการเฉพาะขึ้น นอกเหนือจากรหัสทางไกลสําหรับ โทร


ไปยังภูมิภาคตางๆ โดยรหัสที่กําหนดคือ 01 ซึ่งผูที่ตองการติดตอหรือโทรเขายังระบบโทรศัพทมือถือตองใสรหัส 01 แลวตาม
ดวยหมายโทรศัพทมือถือ 7 หลัก ซึ่งภายหลังผูที่ใชโทรศัพทมือถือในระบบ AMPS800 ของการสื่อสารแหงประเทศไทยเอง
ก็ถูกปรับใหมาใชรหัสเลขหมายที่ขึ้นตนดวย 01 นี้ดวยเชนกัน

(a) (b)
รูปที่ 11.3 โทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่ 1 [4]
(a) ระบบ NMT (b) ระบบ AMPS

การเปดใหบริการโทรศัพทมือถือในระบบตาง ๆ ที่กลาวมา ในชวงยุคตั้งแตป  พ.ศ. 2516 จนมาถึงป พ.ศ. 2533


จะใหบริการรับ สงขอมูลเฉพาะที่เปนเสียง (Voice) หรือเปนการโทรเขาและรับสายอยางเดียวเทานั้น ไมสามารถรับ สงขอมูล
ที่เปน Data อยางเชน ขอความหรือ SMS ได จึงถูกจัดใหเปนระบบโทรศัพทมือถือในยุค 1G เนื่องจากเทคโนโลยีของระบบ
โทรศั พ ท มือ ถื อที่ ใ ช ยัง คงเปน แบบแอนะล็อก (Analog) ซึ่ง ยั ง คงใช หลัก การพื้ นฐานของการส ง สัญ ญาณแบบ FDMA
(Frequency Division Multiple Access) อยู โดยอาศัยวิธีการแบงชองความถี่ออกเปนความถี่ยอยหลาย ๆ ชองแลวใช
สัญญาณคลื่นวิทยุเปนตัวนําพาคลื่นเสียงสงไปยังสถานีรับ แตทั้งนี้เนื่องจากในทุก 1 คลื่นความถี่จะเทา กับ 1 ชองสัญ ญาณ
ซึ่งจะทําใหผูที่ใชโทรศัพทมือถือที่เพิ่มขึ้นมาในเวลานั้นจะสามารถใชบ ริการโทรศัพทไดเฉพาะในชองความถี่ที่วางอยูเทานั้น
สงผลใหเมื่อมีผูใชบริการเพิ่มมากขึ้น ระบบก็ไมสามารถรองรับการใหบ ริการพรอมกันได จึงทําใหระบบโทรศัพทมือถือในยุค
นี้ไมไดรับ ความนิยมมากนักและกอใหเ กิดเปนแรงผลักดันเพื่อการพัฒนาไปสูระบบโทรศัพทมือถือในยุคถัดไป

11.4 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 2 (Second Generation: 2G)


เทคโนโลยี ก ารสื่ อสารไร ส ายในยุ ค ที่ 2 เป น ยุ ค ที่ พั ฒ นารู ป แบบของการสื่ อ สารไร สายจากเดิ ม ที่ เ ปน การส ง
สัญญาณเสียงผานคลืน่ ความถี่วิทยุในระบบแอนะล็อกมาเปนการเขารหัสสัญญาณเสียงในระบบดิจิทัล (Digital) ขนาดขอมูล
จะลดนอยลงเหลือเพียงประมาณ 9 กิโลบิตตอวินาทีตอชองสัญญาณ [5] กอนที่จะถูกสงผานไปบนคลื่นความถี่ไมโครเวฟที่
อาศัยหลักในการสงสัญญาณโดยใชวิธีการเขาถึงหลายชองทางแบบแบงเวลา (Time Division Multiple Access: TDMA)
และการเขาถึงหลายชองทางแบบแบงรหัส (Code Division Multiple Access: CDMA) ซึ่งในการเขารหัสสัญญาณในระบบ
ดิจิทัลนี้ชวยเพิ่มความปลอดภัยใหกับขอมูลไดมากกวาระบบแอนะล็อก อีกทั้งยังชวยในเรื่องของคุณภาพของสัญ ญาณเสียงที่
ไดในระหวางที่มีการติดตอสื่อสารกันชัดเจนมากยิ่งขึ้นอีกดวย โดยในยุคนี้นอกจากตัวเครื่องโทรศัพทมือถือจะมีขนาดเล็กลง
แลวยังมีการนําเอาซิมการด (Subscriber Identity Module: SIM card) มาใช และถือเปนยุคแรกของการเริ่มตนใชงาน
ทางดานขอมูล คือการใหบ ริการในการรับสงขอความสั้น (Short Message Service: SMS)
นอกจากนี้ยังไดมีการพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทมือถือเปนระบบดิจิ ทัลเซลลูลาร (Digital Cellular) โดย
โทรศั พ ท มือ ถื อ ในระบบเซลลู ล าร นี้ จ ะติ ด ต อ กั บ เครื อ ข า ยโทรศั พ ท มือ ถื อ ผ า นทางการเชื่ อ มต อกั บ สถานี ฐ าน (Base
Station/Cell Site) ซึ่งในแตละจุดจะถูกกําหนดใหดูแลครอบคลุมพื้นที่ใชงานที่ถูกแบงออกเปนเซลล (Cell) ทําใหนอกจาก
จะปลอดภัยจากการดักฟงแลว ยังชวยใหสามารถโทรขามประเทศ (International Roaming) ไดอีกดวย เพราะระบบดิจทิ ัล

11-3
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

เซลลูลารถูกกําหนดใหเปนมาตรฐานทีน่ านาประเทศจะตองใชงานรวมกัน ดังนั้นในระบบนี้จึงถูกเรียกวาจีเอสเอ็ม (Global


System for Mobile communication: GSM) ซึ่งใชเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรับ ควบคุมชองสัญญาณและการสงสัญญาณเสียง
โดย วิธีการเขาถึงหลายชองทางแบบแบงเวลา

11.4.1 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 2.5 (2.5G)


หลังจากนั้นมาตรฐาน GSM ก็ไดถูกพัฒนาใหสามารถรองรับการสื่อสารขอมูลดวยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น โดยในยุค
นี้ถือเปนยุคที่กําเนิดเทคโนโลยีจีพีอารเอส (General Packet Radio Service: GPRS) ในทางทฤษฎีนั้น GPRS จะสามารถ
รองรับ ความเร็วสูงสุดถึง 115 กิ โลบิตตอวินาที แตในการใชงานจริงความเร็วของ GPRS จะถูกจํากัด อยูที่ป ระมาณ 40
กิโลบิตตอวินาที เทานั้น อยางไรก็ตามความเร็วที่เ พิ่มขึ้นทําใหสามารถรับ -สงขอมูลที่เปน ขอความ ภาพ และเสียงที่อยูใน
รูป แบบของมัลติ มีเ ดีย (Multimedia Messaging Service: MMS) ผา นระบบเครือขา ยอินเทอรเน็ต ได อีกทั้ งในยุค นี้
โทรศัพทมือถือก็มีการเปลี่ยนแปลงทางดานฮารด แวร เชน การเปลี่ยนแปลงหนาจอโทรศัพทใหรองรับ การแสดงผลที่เ ปน
สีสันมากขึ้น เสียงเรียกเขาถูกพัฒนาจาก Monotone มาเปน Polyphonic ที่ใหระดับ และคุณภาพของเสียงที่ไพเราะยิ่งขึ้น
กอนจะพัฒนามาเปน MP3 ในอีกหลายปถัดมา เปนตน

11.4.2 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 2.75 (2.75G)


เนื่องดวยเทคโนโลยีที่มีความกาวหนาอยางรวดเร็ว มาตรฐาน GPRS จึงไดถูกพัฒนาตอยอดกลายเปนเทคโนโลยี
เอดจ (Enhanced Data rates for Global Evolution: EDGE) ซึ่งสามารถรองรับ ความเร็วในการสื่อสารขอมูลไดเพิ่มขึ้น
ในทางทฤษฎีนั้น EDGE จะสามารถรองรับ ความเร็วสูงสุดถึง 384 กิโลบิต ตอวินาที แตในทางปฏิบ ัตินั้นเนื่องดวยขอจํากัด
ของระบบที่ตองมีการแบงชองสื่อสารสําหรับ การใชงานดานเสียง เนื่องจากในยุคนี้ยังไมสามารถใชงานขอมูล (Data) กับ เสีย

11.5 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3 (Third Generation: 3G)


นับตั้งแตยุค 2G เปนตนมา ผูใชงานโทรศัพทมือถือมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องดวยการใหบ ริการรวมถึง
ตัวเครื่องโทรศัพทมือถือมีราคาถูกลง นอกจากนั้นความตองการในการใชงานขอมูล (Data) บนโทรศัพ ทมือถือก็เพิ่มมากขึ้น
เรื่อย ๆ ตามไปดวย ดังนั้นจึงไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีในการสื่อสารในยุคที่ 3 ขึ้น โดยระบบใหมที่พัฒนานี้สามารถรองรับ
การใหบ ริการในระบบเกาไดดวย ซึ่ง ถูกเรียกวาระบบโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล หรือ ยูเ อ็มทีเอส (Universal Mobile
Telecommunication System: UMTS) ระบบนี้นําเอาขอดีของระบบเครือขายที่ใชการเขาถึงหลายชองทางแบบแบงรหัส
(Code Division Multiple Access: CDMA) ซึ่งสามารถบรรจุชองสัญญาณเสียงไดมากกวา แตใชสัญญาณแบบแถบความถี่
กวาง (Wideband) ในระบบนี้จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา W-CDMA (Wideband Code Division Multiple Access)
เทคโนโลยีในการสื่อสารในยุคที่ 3 ไดรับ การพัฒ นาบนพื้นฐานของมาตรฐาน IMT-2000 (International Mobile
Telecommunications for the year 2000) ที่ ส หภาพโทรคมนาคมระหว า งประเทศ (International
Telecommunication Union: ITU) กําหนดและประกาศใชมาตั้งแต พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) โดยกําหนดใหคลื่นความถี่
ยาน 2100 เมกะเฮิรตซ เปนคลื่นความถี่มาตรฐานสําหรับใชในการเชื่อมตอระหวางอุป กรณตาง ๆ ที่รองรับเทคโนโลยีใ นการ
สื่อสารในยุคที่ 3 เพื่อใหทุกประเทศใชเปนมาตรฐานกลางรวมกัน ดังนั้นจะเห็นไดวาโทรศัพ ทมือถือแทบทุกรุ นทุกยี่หอที่ถูก
ผลิตออกมาขายสามารถรองรับ การใชงานบนคลื่นความถี่ 2100 MHz เปนหลักแทบทั้งสิ้น สวนจะมีคุณสมบัติรองรับ ความถี่
อื่น เชน 850, 900, 1800 และ 1900 MHz ดวยหรือไมนั้นถือเปนทางเลือกของผูผลิต โทรศัพทมือถือ สาระสําคัญ ของ
มาตรฐาน IMT-2000 สามารถสรุปไดดังนี้
1) การรองรับ บริการดานพื้นฐานตาง ๆ เชน บริการประจําที่ บริการเคลื่อนที่ การสื่อสารดวยเสียง การใชงาน
อิ นเทอร เ น็ ต การรั บ ส ง ข อ มู ล มั ล ติ มี เ ดี ย จะต อ งเป น ไปในทิ ศ ทางเดี ยวกัน คือ สามารถโอนถ า ยข อ มู ล ไปยั ง อุ ป กรณ
โทรคมนาคมอืน่ ทีส่ ามารถรับ -สงขอมูลได

11-4
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

2) การใชงานโครงขายขามประเทศ (Global Roaming) สามารถใชอุปกรณเดียวในทุกพื้นที่ทั่วโลก


3) ความต อเนื่ องในการสื่อสาร (Seamless Delivery Service) สามารถใช งานไดอยางต อเนื่ องแมจะมีการ
เคลื่อนทีแ่ ลวเกิดการเปลีย่ นแปลงของสถานีฐานในการรับ-สงสัญญาณ
4) อัตราความเร็วในการรับ-สงขอมูล (Transmission Rate)
- ขณะประจําที่หรือความเร็วเทียบเทาการเดิน สามารถรับสงขอมูลไดอยางนอย 2 เมกะบิตตอวินาที
- ขณะเคลื่อนทีด่ ว ยความเร็วระดับ ยานพาหนะ สามารถรับสงขอมูลอยางนอย 384 กิโลบิตตอวินาที
- ในทุกสภาพการใชงาน มีความสามารถในการรับ สงขอมูลสูงสุด 14.4 เมกะบิตตอวินาที

11.5.1 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3.5 (3.5G)


เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3.5 เปนการพัฒนาตอยอดจากเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3 เดิม ใน
ระบบ UMTS ที่ใชการเขาถึงแบบ W-CDMA ที่มีความเร็วสูงสุดเพียง 384 กิโลบิตตอวินาที มาเปนการใชงานระบบ UMTS
ที่ใช HSPA (High-Speed Packet Access) แทน ซึ่งในชวงแรกนั้นมีการเพิ่มอัต ราความเร็วสูงสุด ในการรับ -สงขอมูลโดย
ความเร็วในการอัพโหลดเปน 384 กิโลบิตตอวินาที ในขณะที่ความเร็วในการดาวนโหลดเพิ่มสูงขึ้นเปน 14.4 เมกะบิตตอ
วินาที (High Speed Downlink Packet Access: HSDPA) แตในทางปฏิบ ัติผูใหบ ริการตาง ๆ ยังคงจํากัด ความเร็วในการ
ใชงานจริงเพียงแค 7.2 เมกะบิตตอวินาทีเทานั้น ในชวงตอมาไดมีการพัฒนาความเร็วในการอัพโหลดใหมีความเร็วเพิ่มสูงขึ้น
เปน 5.76 เมกะบิตตอวินาที (High Speed Uplink Packet Access: HSUPA) ซึ่งกลายมาเปนเทคโนโลยีการสื่อสารไร
สายในยุคที่ 3.5 ในระบบ UMTS (HSPA) ที่ถูกใชงานกันแพรหลายในปจจุบัน ซึ่งมีอัตราความเร็วในการรับ -สงขอมูลสูงสุด
ซึ่งความเร็วในการอัพโหลดเปน 5.76 เมกะบิต ตอวินาที ในขณะที่ความเร็วในการดาวนโหลดเปน 14.4 เมกะบิต ตอวินาที
นั่นเอง

11.5.2 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3.9 (3.9G)


เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3.9 เปนการพัฒ นาตอยอดจากเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3.5 จาก
เดิมที่ใชระบบ UMTS (HSPA) ใหมีอัตราความเร็วในการรับ-สงขอมูลสูงสุด ซึ่งความเร็วในการอัพโหลดเปน 22 เมกะบิตตอ
วินาที ในขณะที่ความเร็วในการดาวนโหลดเปน 42 เมกะบิต ตอวินาที ซึ่งกลายมาเปนเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่
3.9 ในระบบ UMTS (HSPA+) นั่นเอง
ถึงแมวาอัตราความเร็วในการรับ -สงขอมูลสูง แตผูใหบริการมือถือทุกรายทั่วโลกจะมีนโยบายที่เปนมาตรฐานสากล
ที่ตองยึดถือเปนขอปฏิบัติรวมกันสําหรับ การใหบ ริการอิ นเทอรเ น็ต ผานเครือขายบนมือถือ ซึ่งเรียกวา FUP (Fair Usage
Policy) ซึ่งมีไวเพื่อกําหนดเงื่อนไขในการใชงานขอมูล เพื่อใหผูใชงานโทรศัพทสามารถใชงานอินเทอรเน็ตบนมือถือไดอยาง
เต็มประสิทธิภาพและใชงานไดอยางเหมาะสม โดยสามารถใชงานอินเทอรเน็ตบนมือถือไดดวยความเร็วสูงสุด ตามแพ็กเกจที่
เลือ กใช ไปตลอดจนกว าปริมาณการใช ขอ มูล จะครบตามจํา นวนที่ผูใ หบ ริการกําหนดไว ซึ่ งถา หากใช งานขอ มูล ครบตาม
ปริ มาณการใช งานที่กํ าหนดไว แล ว ยังคงสามารถใชงานอิ น เทอร เ น็ต บนมื อถื อ ไดอยู โ ดยไมเ สีย ค าใชจา ยใด ๆ เพิ่ มเติ ม
เพียงแตความเร็วในการใชงานจะถูกปรับลดลง ที่ผูใหบ ริการทําเชนนี้เ พื่อปองกันไมใหมีผูนําอินเทอรเ น็ต บนมือถือมาใชงาน
ในแบบที่ผิดวัตถุประสงคตาง ๆ เชน ดาวนโหลดหนัง การใชงาน Bit Torrent หรือสงคลิป วิดีโ อขนาดใหญ เปนตน ซึ่งจะมี
การรับสงขอมูลในปริมาณมาก หากนําไปใชงานในลักษณะนี้พรอมกันหลายคน อาจสงผลกระทบตอผูใหบ ริการและผูใ ชงาน
อื่นที่อยูบ นเครือขายเดียวกัน เพราะแบนดวิดทจะถูกดึงไปใชจนทําใหผูใชอื่นที่อยูบ นเครือขายไดรับความเร็วลดลงนั่นเอง

11.6 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 (Forth Generation: 4G)


นับตั้งแตการใชงานเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3 โทรศัพ ทมือถือหรือสมารท โฟนไดถูกพัฒนาไปเร็วมาก
อีกทั้งสามารถเขาถึงและใชงานอินเทอรเน็ตไดจากบนมือถือตลอด 24 ชั่วโมง ทําใหสามารถใชงานในดานตาง ๆ ไมวาจะเปน

11-5
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

การพูดคุยโทรศัพทที่สามารถมองเห็นหนากันและกันในแบบเรียลไทม การดูทีวีออนไลนที่เปนรายการสดไดจากบนมือถือใน
ทุกที่ สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตเปนวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3 ที่ชวยใหสามารถรับ สงขอมูลปริมาณ
มาก ๆ ได อย า งไรก็ ต ามการใช งานเทคโนโลยีการสื่อสารไร ส ายในยุ คที่ 3 ยั ง พบกับ ปญ หาต า ง ๆ อยู อี กมากมาย เช น
สัญ ญาณหลุ ด ภาพกระตุ ก ความเร็ว ในการรั บ สง ขอมู ลถูกจํากั ด เปนต น สิ่ งเหลานี้ เปนแรงผลักดันก อให เกิด การพัฒนา
เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 นั่นเอง
เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 ไดถูกกําหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2551 โดยไดรับ การพัฒนาตอยอดมา
จาก ระบบโทรศัพทมือถือในยุคกอนหนาใหมีป ระสิทธิภาพและมีความเร็วในการรับ-สงขอมูลที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งความเร็วบน
เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 นั้นไดถูกกําหนดไวที่ 1 กิกะบิตตอวินาที แตดวยขีดจํากัดทางดานเทคโนโลยีและความ
พรอมของผูใหบริการ จึงทําใหความเร็วในการรับสงขอมูลบนเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 ที่ใ ชกันอยูใ นปจจุบัน ยัง
มีความเร็วไมถึงตามที่กําหนด โดยมีความเร็วในการรับ-สงขอมูลอยูที่ 100 -120 เมกะบิตตอวินาทีเทานั้น แตดวยความเร็วที่
สูงขึ้นนี้ก็ยังชวยใหสามารถใชงานโทรศัพทมือถือหรือสมารทโฟนไดหลากหลายยิ่งขึ้น ทั้งการดูวิดีโอออนไลนดวยความคมชัด
และภาพไมกระตุก การโทรศัพทขามประเทศแบบมองเห็นหนากันและกันที่สามารถโตตอบกันไดทันที ณ ขณะนั้น (Video
Call) รวมไปถึงการประชุมทางไกลผานโทรศัพท (Tele-Conference) ที่ชวยเพิ่มความสะดวกใหกับ ผูเขารวมประชุมที่อยู
นอกสํานักงาน เปนตน
ในการพัฒนาสูเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 สามารถแบงออกเปน 2 ระบบดังนี้
- LTE (Long Term Evaluation) เปนการพัฒนาโดยอยูบ นพื้นฐานของ GSM โดยมีเ ปาหมายอัต ราความเร็วใน
การรับ-สงขอมูลสูงสุดซึ่งความเร็วในการอัพโหลดเปน 50 เมกะบิต ตอวินาที ในขณะที่ความเร็วในการดาวนโหลดเปน 100
เมกะบิตตอวินาที
- CDMA EV-DO Rev.C เปนการพัฒนาโดยอยูบ นพื้นฐานของ CDMA โดยมีเปาหมายอัตราความเร็วในการรับ -สง
ขอมูลสูงสุดซึ่งความเร็วในการอัพโหลดเปน 75.6 เมกะบิตตอวินาที ในขณะที่ความเร็วในการดาวนโหลดเปน 129 เมกะบิต
ตอวินาที
เทคโนโลยีในการสื่อสารในยุคที่ 4 นั้นจะถูกพัฒนาอยูบ นมาตรฐาน IMT-Advanced (International Mobile
Telecommunications Advanced) สาระสําคัญของมาตรฐาน IMT-Advanced สามารถสรุปไดดังนี้
1) การสื่อสารขอมูลอยูบนมาตรฐานไอพี (All-IP Packet Switched Network)
2) มี ค วามตอ เนื่องในการสื่อ สารแม จะมี การเคลื่ อ นที่ แลว เกิ ด การเปลี่ ยนแปลงของสถานี รับ -ส ง สัญ ญาณต าง
เครือขาย (Heterogeneous Networks)
3) สามารถใหบ ริการคุณภาพสูงรองรับสื่อมัลติมีเดียในยุคตอไปได
4) อัตราความเร็วในการรับ-สงขอมูล (Transmission Rate)
- ขณะประจําที่หรือความเร็วเทียบเทาการเดิน สามารถรับสงขอมูลไดอยางนอย 1 กิกะบิตตอวินาที
- ขณะเคลื่อนทีด่ ว ยความเร็วระดับ ยานพาหนะ สามารถรับสงขอมูลอยางนอย 100 เมกะบิตตอวินาที
นอกจากนั้นเทคโนโลยีในการสื่อสารในยุคที่ 4 ยังไดมี การพัฒ นามารฐานเพิ่มเติมสําหรับ ระบบเครือขายพื้นที่
ทองถิ่นไรสายไดแก IEEE 802.11ac และ IEEE 802.11ad โดยมาตรฐาน IEEE 802.11ac เปลี่ยนความถี่คลื่นพาหจาก 2.4
กิกะเฮิรตซ มาเปน 5 กิกะเฮิรตซ มีความกวางแถบคลื่นพาห 80-160 เมกะเฮิรตซ ใชการกล้ําสัญ ญาณแบบ 64-256QAM
ผานสายอากาศ Multi-User MIMO (MU-MIMO) แบบปรั บ ลําคลื่นได จึงสามารถรับ -สงขอ มูลดวยโทรศัพทอัจฉริย ะ
(Smart Phone) แท็บ เล็ต (Tablet) หรือคอมพิวเตอรพกพา (Notebook) ไดในอัตราความเร็วสูงสุดถึง 500 เมกะบิตตอ
วินาที (ความกว างแถบคลื่นพาห 80 เมกะเฮิรตซ) และประมาณ 1 กิกะบิต ตอวินาที (ความกวางแถบคลื่นพาห 160
เมกะเฮิรตซ) สวนมาตรฐาน IEEE 802.11ad หรือเรียกวา WiGig (Wireless Gigabit Alliance) ถูกพัฒนาขึ้นโดยหนวยงาน
WiFi-Alliance รองรับความถี่คลื่นพาหไดตั้งแต 2.4, 5 และ 60 กิกะเฮิรตซ (Millimeter Wave) ซึ่งสามารถรับ-สงขอมูลได
ในอัตราความเร็วสูงสุดถึง 7 กิกะบิตตอวินาที

11-6
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

11.7 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 5 (Fifth Generation: 5G)


เทคโนโลยี ก ารสื่ อสารไร ส ายในยุ คที่ 5 นั้ น เป น ชื่ อ เรี ย กในบทความทางวิ ช าการบางบทความ รวมไปถึ ง
โครงการวิจัยดานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่หลังจากเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 4 ยกตัวอยางเชน รัฐบาลอังกฤษ
รวมกับ มหาวิทยาลัยประจําเมืองทดลองโครงการ “5G Innovation Centre” โดยมีบ ริษัท ดัง ๆ เชน Huawei, Samsung,
Telefonica Europe และ Fujitsu Labs ในอุ ต สาหกรรมโทรคมนาคมเป น แกนนํ า เพื่ อ ออกแบบสร า งมาตรฐาน
เตรียมพรอมในการพัฒนาบริการและผลิตภัณฑตาง ๆ ตอไปในอนาคต อยางไรก็ตามปจจุบันรางมาตรฐานสําหรับ เทคโนโลยี
การสื่อ สารไร สายในยุคที่ 5 ไดเป ด เผยสู สาธารณชนบา งแลว โดยใช มาตรฐานเปน IMT-2020 (International Mobile
Telecommunications for the year 2020) [6] โดยระบุอัตราความเร็วในการรับ -สงขอมูลสูงสุด แบงเปนอัตราความเร็ว
ของสถานีฐานและอัตราความเร็วของผูใชทั่วไปดังนี้
- อัต ราความเร็ว ของสถานี ฐาน ความเร็วในการอัพโหลด 10 กิกะบิตตอ วินาที ความเร็ วในการดาวนโหลด 20
กิกะบิตตอวินาที (หากมีอุปกรณเชื่อมตอไปยังสถานีฐานแตละตนจํานวนมากอัตราความเร็วจะลดลง)
- อัตราความเร็วของผูใชทั่วไป ความเร็วในการอัพ โหลด 50 เมกะบิตตอวินาที ความเร็วในการดาวนโหลด 100
เมกะบิตตอวินาที
นอกจากนั้นยังมีการกําหนดความหนวงของของเครือขาย (Latency) อยูที่ 4 มิลลิวินาที สําหรับ การใชงานทั่วไป
และ 1 มิลลิ วินาที สําหรับ การเชื่ อมตอที่ ใชความหน วงเวลาต่ํา (Ultra-Reliable Low Latency Communications:
URLLC) ประสิทธิภาพของการใชสเปกตรัมจะมีคาใกลเคียงกับ LTE-Advanced คือ การอัพโหลดอยูที่ 15 บิตตอเฮิรตซ
ในขณะที่การดาวนโหลดอยูที่ 30 บิตตอเฮิรตซ นอกจากนี้การใชงานเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุคที่ 5 ในขณะเคลื่อนที่
นั้นสําหรับการใชงานนอกเมือง เชน การเลนอินเทอรเน็ต บนรถไฟความเร็วสูง สามารถรองรับ ความเร็วในการเคลื่อนที่ได
สูงสุดถึง 500 กิโลเมตรตอชั่วโมง แตใ นสวนการใชงานในเมืองสามารถรองรับ ความเร็วในการเคลื่อนที่ไ ด 30 กิโ ลเมตรตอ
ชั่วโมง [6]

11.8 การสํารวจเครือขายสื่อสารไรสาย
การออกแบบพื้นที่การใหบ ริการเครือขายสื่อสารไรสายเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากเครือขายสื่อสารไรสายตองการ
เสถียรภาพและความนาเชื่อถือสูงในระดับ เทียบเทากับ เครือขายแบบใชสาย (Wired Network) ดังนั้นการทําการสํารวจ
เครือขายสื่อสารไรสายจึงเปนสิ่งที่ควรกระทํา เพราะจะทําใหสามารถจัดการเครือขายสื่อสารไรสายไดอยางเหมาะสมอีกทั้ง
สามารถใชงานเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย
พารามิเตอรตาง ๆ ที่สําคัญในการสํารวจเครือขายสื่อสารไรสายนั้นประกอบดวย
- ระดับ บงชี้คาความแรงของสัญ ญาณที่รับ ได (Received Signal Strength Indicator: RSSI) จะแสดงถึงระดับ
กําลังงานที่ถูกรับไดซึ่งเปนสัญญาณรับที่อยูหลังจากสายอากาศและรวมเอาคาความสูญเสียที่เกิด จากสายนําสัญ ญาณไปดวย
แลว
- คุณภาพของสัญ ญาณอางอิงที่ไดรับ (Reference Signal Received Quality: RSRQ) บงบอกถึงคุณ ภาพของ
สัญญาณที่รับไดโดยคาจะอยูระหวาง -19.5 dB (คุณภาพไมดี) ถึง -3 dB (คุณภาพดี)
นอกจากนี้แลวยังมีพารามิเตอรอื่น ๆ อีกไมวาจะเปน Reference Signal Received Power (RSRP), Signal to
Interference Noise Ratio (SINR), Channel Quality Index (CQI), Physical Cell Identity (PCI), Block Error Ratio
(BLER), Down Link Throughput รวมถึง Up Link Throughput ซึ่งลวนแลวแตเปนพารามิเตอรที่สําคัญ ในการสํารวจ
เครือขายสื่อสารไรสาย
ในการทําปฏิบ ัติการนี้จะใหนักศึกษาใชแอปพลิเคชัน G-NetTrack Lite (Android OS) ทําการสํารวจภายใน
มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีมหานครจํานวน 5 จุด เพื่อทําการวิเ คราะหคาพารามิเตอรตาง ๆ ของเครื อขายสื่อสารไรสายที่
นักศึกษาใชงานอยู แลวบันทึกคาลงในตาราง

11-7
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

(a) (b)

รูปที่ 11.4 แอปพลิเคชั่น G-NetTrack Lite


(a) กรณีใชงานอุปกรณทรี่ องรับ 3G (b) กรณีใชงานอุป กรณที่รองรับ 4G

ตารางที่ 11.1 การสํารวจเครือชายไรสายภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

จุดที่ PCI RSCP/RSRP (dBm) RSRQ (dB) SNR (dB) RSSI (dBm)
1
2
3
4
5

References
[1] F. Nekoogar, Ultra-Wideband Communications: Fundamentals and Applications. New Jersey :
Prentice Hall. 2005.
[2] H. Nikookar and R. Prasad, Introduction to Ultra Wideband for Wireless Communications. Springer.
2009.

11-8
EECM0422 Mobile Communication Systems (LAB)

[3] M. Meraj ud in Mir and S. Kumar, “Evolution of Mobile Wireless Technology from 0G to 5G,”
International Journal of Computer Science and Information Technologies, vol. 6, no. 3, 2015, pp. 2545-
2551.
[4] P. Pacharoen (July 2015), “วิวัฒนาการของโทรศัพทมือถือ [Online].” Available: http://hardwaretoday.
blogspot.com/2015/07/blog-post.html
[5] โชคชัย แสงดาว (มกราคม 2558), “วิวัฒนาการโทรศัพทเคลื่อนที่ ตอนที่ 4 [Online].” Available: http://www.eng.
mut.ac.th/article_detail.php?id=70
[6] S. Anthony (February 2017), “5G specs announced: 20Gbps download, 1ms latency, 1M devices per
square km [Online].” Available: https://arstechnica.com/information-technology/2017/02/5g-imt-2020-
specs/

11-9

You might also like