You are on page 1of 14

หน่ วยที่ 2 ข้ อมูล

สาระสาคัญ
สัญญาแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ สัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิทลั โดยในระบบคอมพิวเตอร์
ใช้งานสัญญาณดิจิทลั เป็ นหลัก ดังนั้นการนาข้อมูลเข้ามาในเครื่ องคอมพิวเตอร์ตอ้ งทาการแปลงสัญญาณจาก
อนาล็อ กให้เป็ นสัญญาณดิ จิทัล ก่อ น โดยสัญญาณดิ จิทัล ประกอบไปด้วยตัว เลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 ซึ่ ง
หมายถึง เลขฐาน 2 นัน่ เอง นอกจากเลขฐาน 2 แล้วในระบบคอมพิวเตอร์ยงั สามารถใช้งานเลขฐานอื่น ๆ ได้
อีกด้วย ได้แก่ เลขฐาน 8 ประกอบด้วยเลข 0 ถึงเลข 7 เลขฐาน 10 ประกอบไปด้วยเลข 0 ถึงเลข 9 และเลข
ฐาน 16 ประกอบไปด้วยเลข 0 ถึงเลข 9 และ A B C D E F รวมเป็ น 16 ตัว ซึ่ งหลังจากการเรี ยนผูเ้ รี ยนต้อ ง
สามารถแปลงเลขฐานจากฐานใด ๆ ไปเป็ นฐานที่ตอ้ งการได้
การแทนรหัสข้อมูลถูกใช้เพื่อกาหนดรู ปแบบของตัวอักขระหรื อตัวอักษร เพื่อให้มนุษย์สามารถ
อ่านได้เข้าใจมากขึ้น เพราะคอมพิวเตอร์ ใช้เพียงเลข 0 และเลข 1 ในการทางานเท่านั้น จึ งมีการกาหนด
มาตรฐานในการแทนรหัสข้อมูลขึ้นมา ได้แก่ ASCII, UNICODE, BCD และ EBCDIC

หัวข้อการเรียนรู้
1. ระบบดิจิทลั
2. สัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิทลั
3. ระบบตัวเลข
4. การแปลงเลขฐาน
5. การแทนรหัสข้อมูล

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายระบบดิจิทลั ได้
2. บอกความแตกต่างระหว่างสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดิจิทลั ได้
3. อธิบายระบบตัวเลขได้
4. คานวณแปลงเลขฐานได้
5. อธิบายการแทนรหัสข้อมูลได้
ระบบดิจิทัล (Digital System)
ดิจิทลั มาจากภาษาลาตินว่า “Digit” โดยมีความหมายว่านิ้ว ซึ่งเปรี ยบเสมือนกับการนับนิ้วเป็ นระบบ
ที่ไ ม่ต่อ เนื่ อ ง ดังนั้นระบบดิ จิทัล คือระบบที่มีสัญญาณแบบไม่ต่อ เนื่ อ ง โดยลักษณะของสัญญาณจะมี
ลักษณะที่ตรงข้ามกัน ซึ่งแตกต่างจากระบบอนาล็อกที่สัญญาณมีค่าต่อเนื่อง ระบบดิจิทลั โดยมากจะกล่าวถึง
คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิ กส์ โดยเฉพาะการแทนข้อมูลในรู ปแบบของระบบดิจิทลั ระบบดิจิทลั จะเป็ น
ระบบที่ใช้ค่าตัวในการแทนข้อมูลต่าง ๆ โดยเฉพาะเลขฐานสอง (Binary Code) สาหรับการส่ งผ่านข้อ มูล
การประมวลผล หรื อการแสดงผลต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างจากกับระบบอนาล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องของข้อมูลในการ
ทางาน ระบบดิจิทลั จะถูกใช้ในกระบวนการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ (Information Processing) ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กบั การประยุกต์ใช้งาน ซึ่ งระบบดิจิทลั เป็ นระบบที่นิยมกันอย่างแพร่ หลาย และมีการนามาใช้แทนที่
ระบบอนาล็อก ในปัจจุบนั มีการนาเอาระบบดิจิทลั มาใช้งานในด้านต่าง ๆ มากมาย

รู ปที่ 1 สัญญาณดิจิทลั และอนาล็อก


การประมวลผลและการแสดงผลทางดิ จิทัลได้ถู ก ใช้งานมานานแล้ว เช่ น เครื่ อ งบวกเลข และ
เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น การพัฒนาดิจิทลั ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ วเพิ่มขึ้นหลังการประดิษฐ์คอมพิว เตอร์
แบบดิจิทลั และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้เ หมาะสมกับมาตรฐานในปั จจุบนั การพัฒนาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ และดิ จิทัล ช่ วยลดต้นทุนการผลิตของระบบดิ จิทัล ส่ งผลให้มีอุปกรณ์พิเศษหลาย ๆ อย่าง
จานวนมาก เช่น นาฬิกาดิจิทลั เครื่ องคานวณ เครื่ องมือควบคุม วิดีโอเกม กล้องถ่ายรู ป กล้องวิดีโอ อุปกรณ์
เครื อข่าย เครื่ องบันทึกเสี ยงระบบดิจิทลั ในปั จจุบนั ได้มีการออกแบบอุปกรณ์ระบบดิจิทลั ใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ในหลาย ๆ ครั้งระบบดิจิทลั ทาให้เกิดสิ่ งที่เป็ นไปได้ที่ไม่เคยมีมาก่อน ด้วยเหตุผลเหล่านี้ ทาให้
ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและการใช้ระบบดิ จิทลั จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างมากในโลกปัจจุบนั และอนาคต
เพื่อให้มีการพัฒนาที่กา้ วหน้าต่อไปในทิศทางที่ดีข้ นึ

รู ปที่ 2 การประมวลผลแบบดิจิทลั
สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) และสัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)
เนื่ องจากสัญญาณที่เป็ นพื้นฐานบนโลกส่ วนใหญ่เป็ นอนาล็อก ปริ มาณทางฟิ สิ กส์ต่าง ๆ ในโลก
เช่ น อุณหภูมิ คลื่นแม่เหล็ก ฟ้ า แสง สี เสี ยง แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า จัดเป็ นสัญญาณอนาล็อ ก ซึ่ งมี
ลักษณะเป็ นสัญญาณที่ต่อเนื่ อง จึ งมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ตอ้ งแปลงสัญญาณจากสัญญาณอนาล็อก ซึ่ งมี
ลักษณะเป็ นสัญญาณที่ต่อเนื่ อง จึ งมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องแปลงสัญญาณจากสัญญาณอนาล็อกเป็ น
สัญญาณดิจิทลั และมีการเปลี่ยนกลับจากสัญญาณดิ จิทัลเป็ นสัญญาณอนาล็อก เช่น การส่ งสัญญาณเสี ย ง
ออกอากาศโดยใช้ไ มโครโฟน แสดงดัง รู ป ที่ 3 เริ่ ม จากสั ญ ญาณเสี ย งของเราที่ เ ป็ นอนาล็ อ กส่ ง ผ่ า น
ไมโครโฟน และจะทาการแปลงให้เป็ นสัญญาณดิ จิทัลจะถูกนาไปประมวลผลและเก็ บไว้ เมื่อ ต้อ งการ
นาไปใช้งานจะแปลงสัญญาณดิจิทลั ให้เป็ นสัญญาณอนาล็อก (Digital to Analog) และส่ งไปยังระบบของ
ลาโพง เพื่อที่จะสร้างสัญญาณเสี ยงไปยังผูฟ้ ัง

รู ปที่ 3 ระบบที่มีท้งั สัญญาณอนาล็อกและดิจิทลั


กระบวนการสาหรับการแปลงจากอนาล็อกเป็ นดิจิทลั จะถูกเรี ยกว่า คอนไตเซชัน (Quantization)
หรื อ ดิจิตไตเซชัน (Digitization) ดังตัวอย่าง สัญญาณอนาล็อกในรู ปที่ 4 จะถูกทาการสุ่ มแบ่งเป็ นช่วงคาบ
ระยะเวลาและมีการแบ่งค่าออกเป็ น 4 ระดับ หลังจากนั้นการแสดงผลทางดิจิทลั จะถูกแสดงด้วยลาดับของ
ดิ จิต (Sequential of Digital Signals) โดยความละเอียดของการแปลงสัญญาณขึ้นอยู่กบั จานวนของระดับ
และขึ้นอยู่กบั ความถี่ของการสุ่ มค่าความละเอียดของสัญญาณขึ้นอยู่กบั จานวนของดิจิต และมีผลต่อความจุ
ของการจัดเก็บ

รู ปที่ 4 การแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิทลั


จากการแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิทลั ที่มีการแบ่งออกเป็ น 4 ระดับ ดังรู ปที่ 4 สามารถแปลงเป็ น
สัญญาณดิจิทลั ได้ดงั นี้ 00 01 01 10 01 11 11 11 11 10 01 สาเหตุสาคัญที่มีการนาเอาสัญญาณดิจิทลั มาใช้ใน
คอมพิวเตอร์ เนื่ องจากสัญญาณดิ จิทัลง่ายต่อ การนามาประมวลผล และมนุ ษย์สามารถเข้า ใจได้ง่ายกว่ า
สัญญาณอนาล็อก ดังนั้นในปัจจุบนั จึงนิยมใช้สัญญาณดิจิทลั กันอย่างแพร่ หลาย
ระบบตัวเลข (Number System)
ในการออกแบบวงจรดิจิทลั จะต้องอาศัยความรู้ในเรื่ องของเลขฐาน ซึ่งจะเป็ นระบบพื้นฐานในการ
ออกแบบวงจรดิ จิ ทัล เพื่ อ น าไปใช้ ง าน โดยทั่ว ไประบบตัว เลขที่ ม นุ ษ ย์เ รารู้ จัก มากที่ สุ ด คื อ ระบบตั ว
เลขฐานสิ บ (Decimal Number System) ซึ่งคือเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9
เครื่ องคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยอาศัยการไหล หรื อหยุดไหลของสัญญาณในช่วงจังหวะเวลา
ต่าง ๆ เหมือนกับการเปิ ด และปิ ดสวิตช์ คอมพิวเตอร์ ทางานด้วยกระแสไฟฟ้าดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะ
ของกระแสไฟฟ้าได้ 2 สภาวะ คือสภาวะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า และสภาวะที่มีกระแสไฟฟ้า เพื่อ ให้มนุ ษ ย์
สามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ดังนั้นจึงได้มีการสร้างระบบตัวเลขที่นามาแทนสภาวะของกระแสไฟฟ้าโดย
“0” จะแทนสภาวะไม่มีก ระแสไฟฟ้ า และ “1” จะแทนสภาวะที่มีกระแสไฟฟ้ า ดัง นั้น ระบบตัว เลขใน
คอมพิวเตอร์ โดยปกติจะเป็ นระบบเลขฐานสอง (Binary) นอกจากเลขฐานสองแล้ว ยังมีฐานแปด (Octal)
และเลขฐานสิ บหก (Hexadecimal) ที่มีความสาคัญในการใช้งานในคอมพิวเตอร์ แสดงดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบเลขฐานต่าง ๆ กับเลขฐานสิบ
เลขฐานสิบ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก
(Decimal) (Binary) (Octal) (Hexadecimal)
0 0 0 0
1 1 1 1
2 10 2 2
3 11 3 3
4 100 4 4
5 101 5 5
6 110 6 6
7 111 7 7
8 1000 10 8
9 1001 11 9
10 1010 12 A
11 1011 13 B
12 1100 14 C
13 1101 15 D
14 1110 16 E
15 1111 17 F
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานเป็ นพื้นฐานที่สาคัญในการติดต่อสื่ อสารระหว่างมนุษย์กบั คอมพิวเตอร์ ให้เข้าใจ
ตรงกัน โดยมนุษย์จะคุย้ เคยกับการทางานของตัวเลขในรู ปของเลขฐานสิ บ ส่ วนคอมพิวเตอร์ จะทางานใน
รู ปแบบของเลขฐานสอง ดังนั้นจึงจาเป็ นที่จะต้องศึกษาเข้าใจหลักการแปลงเลขฐานในมาตรฐานเดียวกัน
1) การแปลงเลขฐานสิบเป็ นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก
การแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานต่าง ๆ จะกระทาโดยใช้วิธีการหารด้วยเลขฐานที่ต้องการ
แปลง โดยจะทาการหารจนกว่าจะไม่สามารถที่จะหารได้อีกต่อไป เศษที่เหลือจากการหารแต่ละครั้ง คาตอบ
ที่ตอ้ งการ โดยเศษที่เหลือจากการหารครั้งสุดท้ายเป็ นตัวที่มีนยั สาคัญน้อยที่สุด (Least Significant Digit หรื อ
LSD) และเศษที่เหลือจากการหารครั้งสุดท้ายเป็ นตัวที่มีนัยสาคัญสูงสุด (Most Significant Digit หรื อ MSD)
การแปลงเลขฐานสิ บที่เป็ นทศนิ ยม ถ้าต้องการแปลงให้เป็ นเลขฐานฐานอื่น ๆ จะกระทาโดยการใช้วิธีคูณ
จานวนทศนิ ยมนั้นด้วยเลขฐานของเลขทีต้องการแปลง โดยผลลัพธ์ของการคูณที่เป็ นเลขจานวนเต็มคือ
คาตอบที่ตอ้ งการ
ตัวอย่างที่ 1 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (35)10 = (?)2 (คือให้แปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานสอง)
วิธีทา เศษ
2 ) 35 1
2 ) 17 1
2) 8 0
2) 4 0
2) 2 0
1
คาตอบ (35)10 = (100011)2
ตัวอย่างที่ 2 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (59)10 = (?)8 (คือให้แปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานแปด)
วิธีทา เศษ
8 ) 59 3
7
คาตอบ (59)10 = (73)8
ตัวอย่างที่ 3 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (86)10 = (?)16 (คือให้แปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานสิ บหก)
วิธีทา เศษ
16 ) 86 6
5
คาตอบ (86)10 = (56)16
2) การแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก เป็ นเลขฐานสิบ
การแปลงเลขฐานใด ๆ เป็ นฐานสิ บ สามารถทาได้โดยการนาเอาเลขแต่ละตาแหน่งของตัวเลขที่
ต้องการแปลง คูณด้วยน้ าหนักของเลขฐานนั้นแล้วนาทั้งหมดมารวมกัน จะได้คาตอบเป็ นเลขฐานสิ บ ตัวเลข
ในแต่ละหลักจะมีค่าน้ าหนักที่ข้ นึ อยูก่ บั ตาแหน่งหลัก และฐาน ของตัวเลขนั้น เช่น
(7392)10 = (7103) + (3102) + (9101) + (2100)
(125.21)10 = (1102) + (2101) + (5100) + (210-1) + (110-2)
(11001)2 = (124) + (123) + (022) + (021) + (120)
ตัวอย่างที่ 4 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (110101)2 = (?)10
วิธีทา เลขประจาหลักคือ 2 ดังนั้น ใช้ 2 ยกกาลัง
(110101)2 = (125) + (124) + (023) + (122) + (021) + (100)
= 32 + 16 + 0 + 4 + 1
= 53
คาตอบ (110101)2 = (53)10
ตัวอย่างที่ 5 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (126)8 = (?)10
วิธีทา เลขประจาหลักคือ 8 ดังนั้น ใช้ 8 ยกกาลัง
(126)8 = (182) + (281) + (680)
= 64 + 16 + 6
= 86
คาตอบ (126)8 = (86)10
ตัวอย่างที่ 6 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (F6)16 = (?)10
วิธีทา เลขประจาหลักคือ 16 ดังนั้น ใช้ 16 ยกกาลัง
(F6)8 = (F161) + (6160)
= 240 + 6
= 246
คาตอบ (F6)16 = (246)10
3) การแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสอง และการแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานแปด
การแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสอง จะกระทาโดยใช้การใช้เลข 1 บิต ของเลขฐานแปดแทน
ด้วยเลขฐานสองจานวน 3 บิต ดังนั้นการแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสอง และการแปลงเลขฐานสองเป็ น
เลขฐานแปด กระทาได้โดยการแทนค่าต่าง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ตารางแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสอง
เลขฐานสอง เลขฐานแปด
(Binary) (Octal)
000 0
001 1
010 2
011 3
100 4
101 5
110 6
111 7

วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็ นฐานแปด จะทาการจัดแบ่งกลุ่มของเลขฐานสองทีละ 3 บิต โดยให้จดั


กลุ่มจากบิตที่มีนบั สาคัญน้อยที่สุด (LSB) ไปบิตที่มีนยั สาคัญสูงสุด (MSB) ดังรู ปที่ 5 ถ้าจับกลุ่มไม่ครบทีละ
3 บิต ให้เพิ่มดิจิต 0 จนครบ 3 บิต
MSB LSB
1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1
จะได้
1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1
2 7 6 5
รู ปที่ 5 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานแปด
วิธีการแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสองจะทาการแทนเลขแปดด้วยเลขฐานสองจานวน 3 บิต โดย
ดูค่าในตารางที่ 2
7 3 4
1 1 1 0 1 1 1 0 0
รู ปที่ 6 การแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสอง
ตัวอย่างที่ 7 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (524.61)8 = (?)2
วิธีทา แปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสองทีละตัว
5 = 1012 2 = 0102 4 = 1002 6 = 1102 1= 0012

คาตอบ (524.61)8 = (101010100.110001)2


ตัวอย่างที่ 8 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (11101001000.01011)2 = (?)8
วิธีทา (11101001000.01011)2 = (011 101 001 000.010 110)2
= (3510.26)8
คาตอบ (11101001000.01011)2 = (3510.26)8
4) การแปลงเลขฐานสิบหกเป็ นเลขฐานสอง และการแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บหก
การแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสอง จะกระทาโดยการใช้เลข 1 บิต ของเลขฐานสิ บหก
แทนด้ว ยเลขฐานสองจ านวน 4 บิ ต ดัง นั้น การแปลงเลขฐานสิ บ หกเป็ นเลขฐานสอง และการแปลง
เลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บหก กระทาได้โดยการแทนค่าต่าง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ตารางแสดงคามสัมพันธ์ ระหว่างเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง
เลขฐานสอง เลขฐานสิบหก
(Binary) (Hexadecimal)
0000 0
0001 1
0010 2
0011 3
0100 4
0101 5
0110 6
0111 7
1000 8
1001 9
1010 A
1011 B
1100 C
1101 D
1110 E
1111 F
วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็ นฐานสิ บหก จะทาการจัดกลุ่มของเลขฐานสองทีละ 4 บิต โดยให้จัด
กลุ่มจากบิตที่มีนยั สาคัญที่สุด (LSB) ไปบิตที่มีนยั สาคัญสูงสุด (MSB) ดังรู ปที่ 7
MSB LSB
1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1
จะได้
1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1
5 F 5
รู ปที่ 7 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บหก
วิธีการแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสองจะทาการแทนเลขสิ บหกด้วยเลขฐานสองจานวน 4 บิต
โดยดูค่าในตารางที่ 3
7 3 B
จะได้
0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1
รู ปที่ 8 การแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสอง
ตัวอย่างที่ 9 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (11101001000.01011)2 = (?)16
วิธีทา แปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บหกทีละตัว
1 1 1 0 1 0 0 1 0 0 0 . 0 1 0 1 1
จะได้
7 4 8 . 5 8

คาตอบ (11101001000.01011)2 = (748.58)16

ตัวอย่างที่ 10 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (524.61)16 = (?)2


วิธีทา แปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสองทีละตัว
5 = 01012 2 = 00102 4 = 01002 . 6 = 01102 1 = 00012

คาตอบ (524.61)16 = (010100100100.01100001)2


5) เทคนิคในการแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก เลขฐานสิบ
ระบบเลขฐานต่าง ๆ สามารถที่จะแปลงให้อยู่ในรู ปของเลขฐานต่าง ๆ ได้ เพื่อให้เหมาะสมกับ
การใช้งานแต่ละอย่าง เทคนิคการแปลงเลขฐานมีวิธีการดังรู ปที่ 9 ซึ่งจะเป็ นการแปลงเลขฐานอย่างง่าย เช่น
ถ้าต้องการแปลงเลขฐานสิ บหกให้เป็ นเลขฐานแปด ก็จะสามารถกระทาได้โ ดยแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ น
เลขฐานสองจากนั้นแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานแปด

เลขฐานสิ บ เลขฐานสอง เลขฐานสิบหก


(Decimal) (Binary) (Hexadecimal)

เลขฐานแปด
(Octal)

รู ปที่ 9 รู ปแบบเทคนิคการแปลงเลขฐาน

ตัวอย่างที่ 11 ให้ทาการแปลงเลขฐานดังนี้ (6504.327)8 = (?)16


วิธีทา แปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสอง
6 = 110 5 = 1011 0 = 0002 4 = 1002 . 3 = 0112 2 = 0102 7 = 1112

จะได้ (6504.327)8 = (110101000100.011010111)2


จากนั้นแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บหก
1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 . 0 1 1 0 1 0 1 1 1
จะได้
D 4 4 . 6 B 8

คาตอบ (6504.327)8 = (D44.6B8)16

6) การบวกเลขฐานและการลบเลขฐาน
หลักการคานวณพื้นฐานในการบวกและการลบของเลขฐานต่าง ๆ จะกระทาคล้ายกันกับการ
คานวณเลขฐานสิ บที่เรานิยมใช้
6.1) การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก
หลักการ
1) ให้บวกเลขแต่ละหลักตามปกติเหมือนการบวกเลขฐานสิ บ
2) ถ้าผลบวกได้ไม่เกินเลขฐาน ให้ใส่ผลบวกที่ได้เป็ นผลลัพธ์
3) ถ้าผลบวกได้เท่ากันกับเลขฐานหรื อเกินเลขฐานนั้น ให้ใส่ ผลลัพธ์ของค่าผลบวกของ
เลขฐานที่เกินเลขฐานนั้นแล้วทดค่าไปยังบิตถัดไป

ตัวอย่างที่ 12 ให้ทาการบวกเลขฐานดังนี้ (1101)2 + (1011)2


วิธีทา 1101
+
1011
11000
คาตอบ (1101)2 + (1011)2 = (11000)2
ตัวอย่างที่ 13 ให้ทาการบวกเลขฐานดังนี้ (375)8 + (421)8
วิธีทา 375
+
421
1016
คาตอบ (375)8 + (421)8 = (1016)8

6.2) การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก


หลักการ
1) กรณีหลักตัวตั้งเท่ากับหลักตัวลบหรื อมากกว่าหลักตัวลบให้ทาการลบตามปกติ
2) กรณี ที่ ห ลัก ตัว ตั้ง น้ อ ยกว่ า หลัก ตัว ลบ จะต้อ งมี ก ารยื ม โดยการยื ม แต่ ล ะครั้ งมี
หลักเกณฑ์คือ ให้ยืมตัวที่มีบิตที่มีนยั สาคัญสู งกว่ามา 1 บิต ตัวที่ยืมจะมีค่าลดลงไป 1 ค่า โดยค่าที่ยืมมาจะมี
ค่าเท่ากับค่าของเลขฐานนั้น จากนั้นให้นาค่าที่ยืมมาไปบวกกับตัวตั้ง เสร็จแล้วให้นามาลบออกกับตัวลบ จะ
ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

ตัวอย่างที่ 14 ให้ทาการลบเลขฐานดังนี้ (1101)2 – (1011)2


วิธีทา 1101

1011
0010
คาตอบ (1101)2 – (1011)2 = (0010)2
ตัวอย่างที่ 15 ให้ทาการลบเลขฐานดังนี้ (6753)8 − (5736)8
วิธีทา 6753

5736
1015
คาตอบ (6753)8 − (5736)8 = (1015)8

การแทนรหัสข้อมูล (Data Code Representation)


คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั ประมวลผลในรู ปแบบของเลขฐานสอง คื อ เลข 0 และ เลข 1 ซึ่ งใช้แทน
ข้อมูลต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการนาเอาข้อมูลที่มนุษย์เข้าใจ เช่น เสี ยง รู ปภาพ ตัวอักษร ตัวเลข
หรื อสัญลักษณ์ต่าง ๆ ไปประมวลผลจะต้องนาข้อมูลดังกล่าวให้อยู่ในรู ปแบบดิจิทลั ก่อน โดยมาตรฐานใน
การแทนรหั ส ข้อ มู ล ที่ นิย มใช้ใ นปั จ จุ บัน ได้แ ก่ แอสกี หรื อ รหั ส มาตรฐานของสหรั ฐ อเมริ ก าเพื่ อ การ
สับเปลี่ยนสารสนเทศ และยูนิโคด
1) มาตรฐานรหัสแอสกี (ASCII)
พื้นฐานของกลุ่มตัวอักษรเหล่านี้อยู่ในรู ปแบบตารางตัวอักษรโดยแต่ละตัวจะถูกแทนด้วยรหัส
เลขฐานสองขนาด 7 บิต ซึ่ งสามารถแทนรหัสตัวอักษรได้ 27 = 128 ตัวอักษร ต่อมารหัสแอสกีได้รับความ
นิยมแพร่ หลาย และเริ่ มไม่เพียงพอต่อการแทนข้อมูล จึงมีการนาเอารหัสแอสกีมาปรับปรุ งให้สามารถแทน
ข้อมูลได้มากขึ้น เรี ยกว่า ส่ วนขยายรหัสแอสกี ซึ่ งจะใช้เลขฐานสองขนาด 8 บิต โดยเลขฐานสอง 8 บิตใช้
แทนตัว อักษรหนึ่ ง ตัว ทาให้ ส ามารถแทนอักษรได้ 28 = 256 ตัว อัก ษร โดยอัก ษรที่ 0 − 127 ยัง ตรงตาม
มาตรฐานเดิม ส่วนอักษรที่ 128 − 255 ใช้แทนอักษรที่ประเทศนั้น ๆ ต้องการ วิธีการนี้ทาให้แทนอักษรอื่นที่
นอกเหนือจากภาษาอังกฤษได้

รู ปที่ 10 ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูลแบบ ASCII


2) มาตรฐานรหัสยูนิโคด (Unicode)
เนื่องจากตัวอักษรตามรหัสแอสกี แทนอักษรภาษาอังกฤษกับภาษาท้องถิ่นได้ภาษาเดียวเท่านั้น
ถ้าต้องการแสดงผลหลาย ๆ ภาษาจะทาให้ลาบาก จึงมีการคิดมาตรฐานการแทนอักษรใหม่ที่เรี ยกว่า ยูนิโคด
ที่สามารถแทนตัวอักษรได้มากขึ้นกว่าเดิมมาตรฐานยูนิโคด เป็ นมาตรฐานการเข้ารหัสตัวอักษรแบบสากล
โดยสามารถเข้ารหัสตัวอักษรของภาษาต่าง ๆ ได้จานวนมาก โดยมาตรฐานยูนิโคดจะใช้เลขฐานสองแทน
ตัวอักษร เริ่ มต้นแบ่งเป็ น UCS-2 จะใช้รหัสเลขฐานสองขนาด 16 บิต ทาให้สามารถแทนตัวอักษรได้ถึง
65,536 ตัว อัก ษร และ UCS-4 จะใช้ร หั ส เลขฐานสองขนาด 32 บิ ต ท าให้ ส ามารถแทนตัว อัก ษรได้ถึ ง
2,147,483,647 ตัวอักษร

รู ปที่ 11 ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูลแบบ Unicode


3) รหัสบีซีดี (Binary Coded Decimal: BCD)
รหัสบีซีดี (Binary Coded Decimal: BCD) เป็ นรหัสที่ใช้เลขฐานสองแทนเลขฐานสิ บ ใช้จานวน
6 บิต เพื่อแทนข้อมูล 1 อักขระ ดังนั้นรหัสบีซีดีจึงสามารถสร้างรหัสที่มีความแตกต่างกันได้ 64 รหัส (64 =
26) การกาหนดรหัสบีซีดีสาหรับ 1 อักขระนี้ ทาได้โดยแบ่งจานวน 6 บิต ออกเป็ น 2 ส่วน คือ Zone Bit ใช้ 2
บิตแรก และ Digit ใช้ 4 บิตหลัง
รหัสบีซีดี 64 รหัส สามารถใช้แทนข้อมูลที่เป็ นตัวเลข ตัวอักษร และสัญลักษณ์พิเศษต่าง ดังนี้
ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขการแทนข้อมูลที่เป็ นตัวเลขด้วยรหัสบีซีดี ส่วนที่เป็ น Zone Bit จะถูกาหนดเป็ น 00 เท่านั้น
ส่ วนที่เป็ น Digit Bit ใช้บันทึกค่าของตัวเลขนั้น ๆ ในระบบฐานสอง กรณี ที่ตัวเลขมีค่ามากกว่า 1 หลัก
สามารถกาหนดเป็ นรหัสบีซีดี โดยแยกกาหนดครั้งละ 1 หลัก ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษรการแทนข้อมูลที่ เ ป็ น
ตัวอักษรด้วยรหัสบีซีดี แสดงดังรู ปที่ 12
ข้อมูล Zone Bit Digit Bit
ตัวอักษร A - I 11
ค่าของข้อมูลนั้นในระบบ
ตัวอักษร J - R 10
เลขฐานสอง
ตัวอักษร S - Z 00
รู ปที่ 12 ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูลแบบ BCD
4) รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC)
รหั ส EBCDIC (อ่ า นออกเสี ยงว่ า eb-di-dik) ย่ อ มาจาก Extended Binary Coded Decimal
Interchange Code เป็ นรหัสอักขระ 8 บิต ซึ่ งใช้แสดงตัวอักขระที่แตกต่างกันได้ท้ งั หมด 256 ตัว การเก็บ
ข้อ มูลโดยใช้รหัส EBCDIC จะแบ่งรหัสออกเป็ นสองส่ วน คือ โซนบิต (Zone Bits) ซึ่ งอยู่ทางด้านซ้ายมี
จ านวน 4 บิ ต และนิ ว เมอริ ก บิ ต (Numeric bits) ในอี ก 4 บิ ต ที่ เ หลื อ ซึ่ ง จะคล้า ย ๆ กับ รหั ส BCD รหั ส
EBCDIC พัฒนาและใช้งานโดยบริ ษทั ไอบีเอ็ม
รหัสชนิ ดนี้ นิยมใช้กนั ในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ๆ รหัส EBCDIC จะแตกต่างจากรหัส
ASCII ตรงที่ รหัส ASCII จะใช้ลาดับของเลขฐานสองโดยตรงสาหรับแทนลักษณะเฉพาะต่าง ๆ แต่รหัส
EBCDIC จะใช้รหัส BCD เป็ นพื้นฐานของการจัดเลขฐานสอง ซึ่งในปัจจุบนั รหัส ASCII เป็ นที่นิยม

รู ปที่ 13 ตัวอย่างรหัส EBCDIC

You might also like