You are on page 1of 21

1.

ระบบจำนวนจริง
ั ันธ์จำนวนชนิดต่างๆ
แผนผ ังแสดงความสมพ
จำนวนจริ ง ( R )

จำนวนตรรกยะ ( Q )
'
จำนวนอตรรกยะ ( Q )

ไม่ใช่จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม ( I )

จำนวนเต็มลบ ( ) ศูนย์ จำนวนเต็มบวก ( I )


− +
I
หรื อ จำนวนนับ ( N )

ระบบจำนวนจริง
จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่า ระบบจำนวนจริ ง จะประกอบไปด้วย
1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนของจำนวนเต็ม หรื อ
3 4
ทศนิยมซ้ำได้ เช่น √ 2 , √3 , − √5 , √ 6 , − √ 7 หรื อ π (ซึ่ งมีค่า 3.14159265...)
2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนของจำนวนเต็มหรื อ
1
ทศนิยมซ้ำได้ เช่น 2 เขียนแทนด้วย 0.5000 . .. หรื อ 0.5

5

6 เขียนแทนด้วย −0.8333... หรื อ −0.8 3̇
28
27 เขียนแทนด้วย 1. 037037037 .. . หรื อ
1. 0̇3 7̇
12
3 เขียนแทนด้วย 4.000... หรื อ 4
ระบบจำนวนตรรกยะ
จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. จำนวนตรรกยะทีไ่ ม่ ใช่ จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนหรื อ
ทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็ นจำนวนเต็ม
2. จำนวนเต็ม แบ่งเป็ น จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มศูนย์ และจำนวนเต็มบวก ได้แก่
… , -3 , -2 , -1 , 0 , 1 , 2 , 3 , …
แบบฝึ กหัด
1. จงพิจารณาจำนวนที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็ นจำนวนชนิดใด โดยทำเครื่ องหมาย  ให้ตรงกับจำนวน
นั้นๆ (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ชนิด)
จำนวน I Q Q
' R จำนวน I Q Q
' R
0
11) 4.414414441...
1) 2554
0
12) 10  6
2) 0
2011
13) 2 8
3) 0
4
 14) 3  3
4) 2
5
15)  3
2

5) 10

16)  
22 2
3
6) 7
2
7) 0.123
17) 2

8) 1.0999... 18) 1 3 8

32  8
9) 5.515515515...
19) 2

10) 12.121212345... 20) 

2. จงพิจารณาข้อความในแต่ละต่อไปนี้ ถ้าเป็ นจริ งให้ทำเครื่ องหมาย  เป็ นเท็จให้ทำเครื่ องหมาย 


............1) ไม่เป็ นจำนวนเต็ม
3.999 ...
............2)
3
27 ไม่เป็ นจำนวนจริ ง
4
............3) 16 เป็ นจำนวนอตรรกยะ
............4) ทศนิยมสามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนได้
............5) ทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ
............6) ทศนิยมไม่รู้จบบางจำนวนเป็ นจำนวนตรรกยะ
............7) มีจำนวนเต็มลบที่มากที่สุด
............8) มีจำนวนเต็มที่นอ้ ยที่สุดที่มากกว่า 1
............9) มีจำนวนเต็มลบที่นอ้ ยที่สุด ที่มากกว่า -3
............10) มีจำนวนตรรกยะที่นอ้ ยที่สุดที่มากกว่า 0
............11) มีจำนวนอตรรกยะที่นอ้ ยที่สุดที่มากกว่า 0
............12) มีจำนวนตรรกยะที่ไม่เป็ นจำนวนเต็ม
2. การแยกตัวประกอบของพหุนาม
เป็ นการเขียนพหุนามในรู ปผลคูณของพหุนามที่มีดีกรี ต ่ำกว่าตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป หรื อเขียนพหุนาม
ที่กำหนดให้ในรู ปที่ง่ายกว่า

แบบฝึ กหัด
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
2 2
1) x +3 x 2) 2 x −3 x

3 2 3 5
3) 5 x −15 x 4) 12 x +8 x

2 2 2
5) 15 xy+35x 6) x y −4 xy

2 2 2 2
7) −3 x y+2 xy 8) x y−2 xy +3 xy
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
2 2
1) x +3 x+2 2) x +8 x+ 15

2 2
3) x −8 x +15 4) x −9 x +20
2 2
5) x +3 x−4 6) x +7 x−18

2 2
7) x −7 x−18 8) x −2 x−35

2 2
9) 2 x −4 x−70 10) 3 x +12 x +12

3 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
2 2
1) 2 x +5 x +3 2) 2 x + 7 x +3

2 2
3) 2 x −7 x+3 4) 3 x +x−4

2 2
5) 3 x +4 x −4 6) 4 x + 23 x +15
2 2
7) 4 x +4 x−15 8) 10 x −29 x+ 21

2 2
9) 10 x −29 x−21 10) 15 x −x−6

4. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ (โดยวิธีทำเป็ นกำลังสองสมบูรณ์)


2
a2 +2 ab+b2 = ( a+b )
a2−2 ab+b 2 = ( a−b )2
2 2
1) x +2 x+1 2) x +4 x+ 4

2 2
3) x −6 x +9 4) x −8 x +16

2 2 2
5) 4 x +20 x +25 6) 49 x −42 xy+9 y

5. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ (โดยวิธีทำเป็ นผลต่างกำลังสอง)


a2 −b 2 = ( a+b )( a−b )
2 2 2
1) x − y 2) x −4

2 2
3) x −25 4) 9 x −1

1
2 36 x 2− y 2
5) 4 x −49 6) 9
2
6. ถ้า x +4 x−21=( x + p ) ( x +q ) เมื่อ p และ q เป็ นจำนวนใดๆ แล้ว 2 p+3 q มีค่าเท่าใด

2
7. ถ้า 3 x +14 x−5=( ax+ b ) ( cx +d ) เมื่อ a , b , c และ d เป็ นจำนวนใดๆ แล้ว a−b+cd มี
ค่าเท่าใด

2
8. ถ้า x +8 x+ p เป็ นพหุนามที่เป็ นกำลังสองสมบูรณ์ แล้ว p มีคา่ เท่าใดต่อไปนี้

9. ถ้า 9 x 2−12 x+c เป็ นพหุนามที่เป็ นกำลังสองสมบูรณ์ แล้ว c มีค่าเท่าใดต่อไปนี้

10. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
2 2 2 2
1) 100 − 99 2) 100 + 99

3. การแก้สมการพหุนามที่มีตัวแปรเดียว
สมการพหุนาม (polynomial equation) ที่มีตวั แปรเดียวหมายถึงสมการที่อยูใ่ นรู ป
n n−1 n
an x +an−1 x +. ..+ a1 x +a 0 =0

เมื่อ an , a n−1 , ... , a1 , a 0 เป็ นค่าคงตัว x เป็ นตัวแปร และ n เป็ นจำนวนเต็มบวกหรื อ
ศูนย์
ถ้า an ≠ 0 จะเรี ยกสมการพหุนามนี้วา่ สมการพหุนามดีกรี (degree) n
แบบฝึ กหัด
1. จงแก้สมการในแต่ขอ้ ต่อไปนี้
2 2
1) x +6 x=0 2) 25 x −15 x=0

2 2
3) x −9=0 4) 4 x −16=0

2 2
5) x −14 x +24=0 6) x −2 x−24=0
2 2
7) 2 x −3 x+1=0 8) 6 x −x=2

23
x 2−2= x
9) 12 10) x ( x +10 )=299

สมการกำลังสองตัวแปรเดียวที่มีรูปทัว่ ไป คือ ax 2 +bx +c=0 สามารถหาคำตอบของสมการโดย


2
−b± √ b −4 ac
x=
ใช้สูตร 2a
2. จงแก้สมการในแต่ขอ้ ต่อไปนี้
2 2
1) x +4 x+1=0 2) 2 x + x−2=0
2 2
3) x −x +10=0 4) x −18 x +81=0

3. ให้ m และ n เป็ นคำตอบของสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหาค่าของ m+ n


2 2
1) x −x=0 2) x −10 x +27=0

2 2
3) x −25=0 4) 2 x −3 x−1=0

4. ให้ m และ n เป็ นคำตอบของสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหาค่าของ mn


2 2
1) 18 x +15 x =0 2) 5 x −8 x−4=0

2 2
3) x −1=0 4) x + x−7=0
3
x+ =5
5. ถ้า a และ b เป็ นคำตอบของสมการ x แล้ว a+b−ab มีคา่ เท่าใด

2
6. จากสมการ kx +3 x−k =0 ถ้าสมการมีคำตอบเป็ นจำนวนจริ ง โดยผลบวกของคำตอบของสมการ
เท่ากับ
ผลคูณของคำตอบของสมการ แล้ว k มีค่าเท่าใด

2
7. ค่าของ k ที่ทำให้ x +kx +9=0 มีรากของสมการเท่ากัน เท่ากับเท่าใด

2
8. จงหาค่า k ที่ทำให้ 2 x −4 x+ k=0 มีรากของสมการไม่ใช่จำนวนจริ ง
4. เลขยกกำลัง
n
ถ้า a ∈ R และ แล้ว
+
n∈I a =a⋅a⋅a⋅. ..⋅a

ตัว
n
n
เรี ยก a ว่า เลขยกกำลัง อ่านว่า a ยกกำลัง n หรื อ กำลังที่ n ของ a

เรี ยก a ว่าฐาน เรี ยก n ว่าเลขชี้กำลัง

แบบฝึ กหัด
n0
1. จงหาว่าเลขในหลักหน่วยของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้คือเลขใด
2012 2555
1) 5 2) 6

100 22 33
3) 9 4) 2 +3

100 60 30
2. จงเรี ยงจำนวน 2 , 3 และ 10 จากน้อยไปมาก
x
3. กำหนดให้ 5 =3 จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้
2x x+1
1) 5 2) 5

4. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้
x x
1) 2 =8 2) 3 =81

x
1 1
3)
x
5=
25 4) ()
2
=16

2−x
1
x+1
5) 4 =64 6) ()
7
=49
2 x +6
3
7) ()
2
=1 2
x +x
8) 2 =64

x+1 x 2x x
9) 2 +2 =6 10) 3 −3 −72=0

5. รากและกรณฑ์
รากที่สอง
นิยาม : ให้ a แทนจำนวนจริ งบวกใดๆ รากที่สองของ a คือ จำนวนที่ยกกำลังสองแล้วได้เท่ากับ
a

เมือ
่ a เป็ นจำนวนจริงบวกใดๆ รากทีส ่ องของ a มีสองราก คือ
รากทีส ั ลักษณ์ √ a (เรียกอีกอย่าง
่ องทีเ่ ป็ นบวก ซงึ่ แทนด ้วยสญ
หนึง่ ว่า กรณฑ์ทส ี่ องของ a ) และรากทีส ่ องทีเ่ ป็ นลบ ซงึ่ แทนด ้วย
ั ลักษณ์ −√ a
สญ
 a  2
 a
แบบฝึ กหัด
1. จงหารากที่สองของจำนวนต่อไปนี้
1) 4 2) 0
2
ตอบ 2 เพราะ 2 = 4
2
−2 เพราะ (−2 ) = 4

3) 1 4) 25

5) 169 6) 324

7) 3 8) 15

9) 111 10) -9

a a

b b
2. จงทำให้จำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้อยูใ่ นรู ปอย่างง่าย
1) √ 4 = √ 2×2 2) √ 64
=2

3) √ 121 4) √ 441
5) √ 18 = √ 2×3×3 6) √ 50
= √ 3×3×√ 2
= 3 √2

7) √ 294 8) √ 1,875

9) −√ 60 10) −√ 768
11) √ 0.25 12) −√ 1.96

9 81
13) √ 16 14)

√ 49

3. จงหาค่าประมาณของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้
(เมื่อกำหนดให้ √ 2≈1 .414 , √ 3≈1.732 และ √ 5≈2.236 )
1) √ 8 2) √ 75 3) √ 216
4. จงทำให้เป็ นผลสำเร็ จ
1) √ 3×√ 10 2) √ 5×√ 15

3) √ 8× √6 4) √ 7× √84

5) 2 √3×√ 5 6) 5 √5×2 √5

7) 2 √6×4 √3 8) 2 √21×4 √ 14

√24 √72
9) √3 10) √ 8

√98 √108
11) 7 12) 3 √3

การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่งเกีย่ วข้ องกับกรณฑ์ที่สอง


1. สลับที่การบวก √ a+ √ b=√ b+ √ a
2. เปลี่ยนกลุ่มการบวก
( √ a+ √ b ) + √c= √ a+ ( √ b+ √ c )
3. สลับที่การคูณ √ a √ b= √b √ a
4. เปลี่ยนกลุ่มการคูณ ( √ a √ b ) √ c=√ a ( √ b √ c )
5. แจกแจง √ a ( √ b+ √ c )=√ a √ b+ √ a √ c
5. จงทำให้เป็ นผลสำเร็ จ
1) 9 √ 5+3 √5 2) 12 √3+5 √ 3

3) 6 √ 11−2 √ 11 4) 9 √ 13−3 √ 13+ √ 13

1 1 1
√2− √ 2+ √2
5) 2 3 2 6) √ 18+ √108−√ 50

7) 3 √5−5 √ 20 8) 8 √ 72+2 √ 20−3 √5

9) √ 2 ( √2+ √ 3 ) 10) √ 7 ( √14− √56+ √128 )

1
6. จงหาค่าของ √ 0.25 (สมาคมฯ 2531)
7. เมื่อเขียนจุดบนเส้นจำนวนแสดงรากที่สองของ 2533 จุดดังกล่าวจะอยูใ่ กล้จำนวนเต็มใดมากที่สุด
(สมาคมฯ 2533)

1
y=
1 4
8. ให้ √
3
1+
x2 เมื่อ
x=
3 จะได้
3
y มีคา่ เท่ากับเท่าใด (สมาคมฯ 2535)
4 4
± ±
1. 5 2. 5 3. 5 4. 5

9. ให้ x< y< z<100 และ √ x, √ y, √ z เป็ นจำนวนเต็ม แล้ว x+ y+ z มีค่ามากที่สุดเท่าไร


(สมาคมฯ 2536)
1. 110 2. 194 3. 243 4. 245

10. ให้ A ,B มากกว่า 0 ถ้า A เป็ นรากที่สองของ B และ B เป็ นรากที่สามของ 4 แล้ว ข้อ
ใดต่อไปนี้
เป็ นจริ ง (สมาคมฯ 2548)
2 2 4 3 2 6
1. A B =2 B 2. A B= A + 2 3. 2 A =B +2 4.
2 6
2 B = A +2
2
11. ถ้า x +bx +c=( x + √ 3 ) ( x+ √2 ) แล้ว bc เป็ นเท่าใด (สมาคมฯ 2543)
1. 30 2. √ 2+ √3 3. √ 6 4.
3 √2+2 √ 3

3 3
12. ผลลัพธ์ของ √ 125+ √ 64+√−1 ,000−√ (−4 )2 มีคา่ เท่าใด
1. −1 2. 0 3. 1 4. 2

4 5
13. ผลลัพธ์ของ √ 16− √16−√32 มีคา่ ตรงกับข้อใด
1. −32 2. −4 3. 0 4. 8

3 5
√−512×√−1 , 024
14. ผลสำเร็ จของ √6 729 เท่ากับข้อใด
2 1 1 2
10 1 1
1. 3 2. 2 3. 3 4. 3

5
15. จงหาค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ 32 x =243
3 3 3 3
1. 2 2. 4 3. 5 4. 6
การแก้ สมการเสอด
หลักการ คือ พยายามทำให้เครื่ องหมาย √ หมดไป เพื่อที่เราจะได้แก้สมการเหมือนสมการปกติ
โดยทัว่ ไปมักนิยมใช้การยกกำลังสอง ซึ่งควรระวังด้วยว่า การแก้สมการโดยการยกกำลังสองนั้น บ่อยครั้งที่จะได้
คำตอบเกิน จึงต้องเอามาตรวจคำตอบทุกครั้ง เช่น ตัวอย่างง่ายๆ ดังนี้
x=2 (เริ่ มต้นมี x ค่าเดียว)
2
x =4 (ยกกำลังสองทั้ง 2 ข้าง)
x=±2 (เห็นแล้วใช่ป่ะว่า x ได้มา 2 ค่า ซึ่งเกินมา 1 ค่า)

16. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้


1) √ x=4 2) √ x+2=7

x−5
3) √ 3x+1=2 4) √ 2
=5

5) √ x2+19=10 6) √ x2−9 x=6

3
7) √ x+9+11=x 8) 5+ √ x−2=12

6. ค่ าสั มบูรณ์
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
a เมื่อ a>0
|a| = 0 เมื่อ a=0
−a เมื่อ a<0

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) |0| 2) |1|

3) |5| 4) |2012|

5) |−1| 6) |−5|

7) |−2555| 8) |0.123|

3
||
9) 4 10) |√ 2|

11) |√ 2+1| 12) |√ 2−1|

13) |1− √2| 14) |2− √2|

15) |5− √3−√ 2| 16) |√ 2+ √ 3−5|

17) |2− √2|+|1−√ 2| 18) |2− √3|+|√ 3+ √5|−|2−√ 5|


2. จงหาค่า x ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) |x|=0 2) |x|=1

3) |x|=2 4) |x|=5

5) |x+1|=5 6) |x−4|=5

7) |x−3|=0 8) |x+2|=−3

2 2
9) |x +1|=10 10) |x −2x−5|−3=0

11) ||x−1|+2|=3 12) ||1+2 x|−3|=5

You might also like