You are on page 1of 21

เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

3 เมทริกซ์ (Matrices)
เนือ้ หา

1. ความหมายของเมทริ กซ์
2. ส่ วนประกอบของเมทริ กซ์
3. ชนิดของเมทริ กซ์
4. การดาเนินการของเมทริ กซ์
5. ทรานสโพสของเมทริ กซ์
6. อินเวอร์สการคูณของเมทริ กซ์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. บอกความหมายของเมทริ กซ์ได้
2. บอกส่ วนประกอบของเมทริ กซ์ได้
3. บอกชนิดของเมทริ กซ์ได้
4. บอกคุณสมบัติเมทริ กซ์ที่เท่ากันได้
5. หาผลบวก ลบเมทริ กซ์ได้
6. หาผลคูณด้วยสเกลาของเมทริ กซ์ได้
7. หาผลคูณของเมทริ กซ์ดว้ ยเมทริ กซ์ได้
8. หาทรานสโพสของเมทริ กซ์ได้
9. หาอินเวอร์สการคูณของเมทริ กซ์
1
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

1. ความหมาย

เมทริ กซ์ คือ การเขียนจานวนให้อยูภ่ ายในเครื่ องหมายวงเล็บ   หรื อ


 
 
 

ซึ่ งส่ วนมากจะเป็ นการแสดงกลุ่มจานวนข้อมูลที่มีตวั เลขหลายตัว เพื่อง่ายต่อการจัดเก็บ


ข้อมูล ดังเช่น ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 ผลการสอบของนักเรี ยน 5 คน ของรายวิชา 5 รายวิชา จากคะแนน
เต็ม 100 คะแนน แสดงดังตาราง

วิชา วิทย์ฯ คณิ ตฯ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคม


คนที่
1 81 65 81 84 82
2 75 59 83 80 79
3 78 69 84 78 81
4 85 70 78 88 83
5 87 72 73 90 88

วิธีทา สามารถเขียนคะแนนของนักเรี ยน 5 คน จานวน 5 รายวิชา ได้ดงั นี้

81 65 81 84 82
75 59 83 80 79

A= 78 69 84 78 81
 
85 70 78 88 83
87 72 73 90 88 55

ในการเรี ยกเมทริ กซ์เพื่อความสะดวกจะใช้อกั ษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่


แทนชื่อเมทริ กซ์ และภาษาอังกฤษตัวเล็กแทนสมาชิกในเมทริ กซ์น้ นั ๆ

2
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

2. ส่ วนประกอบของเมทริกซ์

a11 a12 a13 ... a1j 


a 
 21 a 22 a 23 ... a 2j 
A=  .
 .
.
.
.
.
.
.
. 
. 

 . . . . . 
a a a ... a 
 i1 i2 i3 ij  mn

A เรี ยกว่า ชื่อเมทริ กซ์


a ij เรี ยกว่า สมาชิก(elements)ของเมทริ กซ์ แถวที่ i หลักที่ j
m n เรี ยกว่า ขนาด(magnitued) หรื ออันดับ(Order)หรื อมิติ
(dimention) ของเมทริ กซ์ ซึ่ งตามตัวอย่างมีขนาด m แถว
n หลัก
การนับจานวนแถวของเมทริ กซ์ให้นบั จากบนลงล่าง ส่ วนการนับหลักของ
เมทริ กซ์ให้นบั จากซ้ายไปขวา ตัวอย่างเช่น
1 3  2 
0 5  1 
A=  
4 1 3 
33

การนับแถวและหลักของเมทริ กซ์ A ทาได้ดงั นี้


หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3
แถวที่ 1 1 3  2
แถวที่ 2 4 5  1

แถวที่ 3 0 1 3  33

เมทริ กซ์ A มีแถว 3 แถวและมีหลัก 4 หลัก จึงกล่าวได้วา่ เมทริ กซ์ A มี


ขนาดหรื อมิติหรื ออันดับเท่ากับ 3  3 (อ่านว่า 3 คูณ 3)

3
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

จานวนแต่ละจานวนในเมทริ กซ์เรี ยกว่า สมาชิกของเมทริ กซ์ (elements of


Matrices ) ตัวเลขที่ห้อยอยูก่ บั สมาชิกแต่ละตัวจะแสดงถึงตาแหน่งของสมาชิกนั้นๆ
เลขตัวแรกแสดงแถวของสมาชิกนั้น เลขตัวหลังแสดงหลักของสมาชิกนั้น เช่น
a 12 คือ สมาชิกแถวที่ 1 หลักที่ 2 ของเมทริ กซ์ A
a 23 คือ สมาชิกแถวที่ 2 หลักที่ 3 ของเมทริ กซ์ A
a 33 คือ สมาชิกแถวที่ 3 หลักที่ 3 ของเมทริ กซ์ A
ตาแหน่งของสมาชิกมีความสาคัญมาก ถ้ามีการสลับที่ตาแหน่งของสมาชิก
ที่มีค่าไม่เท่ากัน จะเกิดเมทริ กซ์ใหม่ที่มีค่าไม่เท่ากับเมทริ กซ์เดิมขึ้นมาทันที

1 5
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด C= 0 3 จงบอกส่ วนประกอบของเมทริ กซ์
  22

1 5
วิธีทา C= 0 3
  22

ชื่อเมทริ กซ์ เมทริ กซ์ C


ขนาดเมทริ กซ์ 2 2

3. ชนิดของเมทริกซ์สมาชิกแถวที่ 1 หลักที่ 1 คือ 1


สมาชิกแถวที่ 1 หลักที่ 2 คือ 5
สมาชิกแถวที่ 2 หลักที่ 1 คือ 0
สมาชิกแถวที่ 2 หลักที่ 2 คือ 3

4
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

เมทริ กซ์ มีอยูห่ ลายชนิด คือ เมทริ กซ์แถว (row Matrices), เมทริ กซ์หลัก
(Column Matrices), เมทริ กซ์จตั ุรัส (Square Matrices), เมทริ กซ์ทะแยงมุม (Daigonal
Matrices), เมทริ กซ์เชิงสเกลา (Scalar Matrices), เมทริ กซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrices),
เมทริ กซ์สามเหลี่ยมบน(Lower triangular Matrices), เมทริ กซ์สามเหลี่ยมล่าง(Upper
triangular Matrices), เมทริ กซ์สมมาตร(Symetrix Matrices), เมทริ กซ์ศูนย์ (Zero Metrices)
ซึ่งเมทริ กซ์แต่ละชนิดมีคุณลักษณะดังนี้
1. เมทริ กซ์แถว (row Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์ แล้ว A เป็ นเมทริ กซ์แถวก็ต่อเมื่อ A มีจานวนแถวหนึ่งแถว

เช่น A = 2 0 513 B = 3 712

2. เมทริ กซ์หลัก (Colum Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์ แล้ว A เป็ นเมทริ กซ์หลักก็ต่อเมื่อ A มีจานวนหลักหนึ่งหลัก

5 
1 0 
เช่น A =  3 B=  
  1 
 0  31  
4 41

3. เมทริ กซ์จตั ุรัส (Square Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์ แล้ว A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสก็ต่อเมื่อ A มีจานวนแถวเท่ากับจานวนหลัก

1 0  1
 0 2
เช่น A = 4 1 3 
 
B=  3 6 C = 911
0 5  3 33   22

5
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

4. เมทริ กซ์ทแยงมุม (Daigonal Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกเป็ นศูนย์ยกเว้นสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลัก แล้ว เรี ยก


A ว่า เมทริ กซ์ทแยงมุม (Daigonal Matrices)

1 0 0
0 5 0  1 0
เช่น A =  
B= 0 6 
0 0 3 33   22

5. เมทริ กซ์เชิงสเกลาร์ (Scalar Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกเป็ นศูนย์ยกเว้นสมาชิกในเส้นทะแยงมุมหลักที่มีสมาชิก


เป็ นจานวนเดียวกัน แล้ว เรี ยก A ว่า เมทริ กซ์เชิงสเกลาร์ (Scalar Matrices)

5 0 0 
0 5 0  9 0
เช่น A =  
B= 0 9 
0 0 5 33   22

6. เมทริ กซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกเป็ นศูนย์ยกเว้นสมาชิกในเส้นทะแยงมุมหลักที่มีสมาชิก


เป็ นหนึ่ง แล้ว เรี ยก A ว่า เมทริ กซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrices)

1 0 0
0 1 0  1 0
เช่น A =  
B= 0 1 
0 0 1 33   22

6
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

7. เมทริ กซ์สามเหลี่ยมบน (Lower triangular Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกเหนือเส้นทแยงมุมหลักขึ้นไปเป็ นศูนย์ แล้ว เรี ยก A


ว่า เมทริ กซ์สามเหลี่ยมบน (Lower triangular Matrices)

1  1 5 0  1 5 
0 2 3  C= 0 0 3 B =  
3 1
เช่น A =  
0 0 7 33 0 1 22
0 0 0 33

8. เมทริ กซ์สามเหลี่ยมล่าง (Upper triangular Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกใต้เส้นทแยงมุมหลักลงมาเป็ นศูนย์ แล้ว เรี ยก A ว่า


เมทริ กซ์สามเหลี่ยมล่าง (Upper triangular Matrices)

1 0 0 0 0 0 
5 2 0 3 0
เช่น A =  
C= 5 0 0 B= 5 1
1 3 7 33 1 4 0 33   22

9. เมทริ กซ์สมมาตร (Symetrix Matrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิก aij  a ji แล้ว เรี ยก A ว่า เมทริ กซ์สมมาตร
(Symetrix Matrices)

1 3 5 
เช่น A = 3 2  1
 
5  1 7  33

7
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

10. เมทริ กซ์ศูนย์ (Zero Metrices)

ให้ A เป็ นเมทริ กซ์จตั ุรัสที่มีสมาชิกทุกตัวเป็ นศูนย์ เรี ยกเทริ กซ์ A ว่า เมทริ กซ์ ศูนย์ สัญ
ลักซ์ที่ใช้แทนเมทริ กซ์ศูนย์ คือ 0 mn แล้วเรี ยก A ว่า เมทริ กซ์สมมาตร (Symetrix Matrices)

0 0 0 
0 0 0  0 0 
  0 0 
0 0 0 33   2 2

4. การดาเนินการของเมทริกซ์

4.1. การเท่ากันของเมทริกซ์
ริกซ์
ถ้าเมทริ กซ์ A มีขนาด 2  2 และเมทริ กซ์ B มีขนาด 2  2 และสมาชิกที่อยูใ่ น
ตาแหน่งเดียวกันเป็ นจานวนเดียวกัน นัน่ หมายความว่า เมทริ กซ์ A และเมทริ กซ์ B มี
ขนาดเท่ากัน ซึ่ งใช้สัญลักษณ์ A = B
 3
5 1   25 3 
ตัวอย่างที่ 3 1. 0 12 =
  22  0 12
  22
1  1 1  1
0 3   
2.   = 0 3 
5 4  5 4 
32   32

จะเห็นว่า เมทริ กซ์ A และเมทริ กซ์ B จะเท่ากันก็ต่อเมื่อ เมทริ กซ์ท้ งั สองมีขนาด


เท่ากันและสมาชิกในตาแหน่งเดียวกันมีค่าเท่ากัน
นิยาม ถ้า A = a ij mn และ B = b ij mn เป็ นเมทริ กซ์ใดๆ แล้ว
A เท่ากับ B เขียนแทนด้วย A = B และ A = B ก็ต่อเมื่อ ขนาด
8
ของ A เท่ากับขนาดของ B และ a ij ใดๆ เท่ากับ b ij
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

 1 0 3y  1 0 12 
 2x  1 1 3  5 3  จงหาค่า
ตัวอย่างที่ 4 กาหนด   =  1 x, y, z
 0 4  3 33 0 z  3x  3
33

วิธีทา 1) 2x  1  5

2x  4

x2

2) 3y  12

y4

3) z  3x  4
z  3(2)  4

z6  4

z  10

ดังนั้น x = 2 , y = 4 z = 10

4.2 การบวกลบเมทริกซ์

นิยาม กาหนด A = a ij mn B = b ij mn แล้ว

A บวก B เขียนแทนด้วย A + B ซึ่ง A + B = aij  bij mn

จากนิยามการบวก – ลบ เมทริ กซ์กระทาได้ก็ต่อเมื่อเมทริ กซ์ท้ งั สองมีขนาดเท่ากัน


และนาสมาชิกตาแหน่งเดียวกันมาบวก- ลบกัน

9
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

1 0 3  0 5  1
ตัวอย่างที่ 5 กาหนด 1 1 0  1 1 2  จงหา
A=   B=  
0 4  1 33 0 4  3 33

A+B และ B-A

1 0 3  0 5  1
วิธีทา 1) A+B = 1 1 0  1 1 2 
  +  
0 4  1 33 0 4  3 33

1  0 0  5 3  (1) 
11 11 0  2 
= 
0  0 4  4  1  (3) 33

1 5 2 
ดังนั้น A+B = 2 2 2 
 
0 8  4 33

0 5 1  1 0 3 
   
2) B–A = 1 1 2  - 1 1 0 
0 4  3 0 4  1
33 33

 0  1 5  0 1  3 
 
= 1  1 1  1 2  0 
0  0 4  4  3  1

1 5 4 
 
= 0 0 2 
 0 0  2

1 5 4 
 
ดังนั้น B – A = 0 0 2 
 0 0  2

10
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

คุณสมบัติการบวกของเมทริ กซ์

ให้ P เป็ นเซตของเมทริ กซ์ขนาด m  n ซึ่งมีสมาชิกเป็ นจานวนจริ ง และ


A, B,C  P จะได้วา่

1. A + B  P ; คุณสมบัติปิดของการบวก
2. A + B = B + A ; คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
3. (A+B)+C = A + (B+C) ; คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
4. A + o mn = A ; คุณสมบัติการมีเอกลักษณ์ของการบวก
5. A + (-A) = o mn ; คุณสมบัติการมีอินเวอร์สการบวก

4.3 การคูณเมทริกซ์

4.3.1 การคูณเมทริกซ์ ด้วยสเกลา

นิยาม กาหนด A = aij mn และ c เป็ นสเกลาหรื อจานวนจริ งใดๆ แล้ว

เมทริ กซ์ c คูณ A เขียนแทนด้วย cA ซึ่ง cA = ca ij mn

11
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

24 2 12
ตัวอย่างที่ 6 กาหนด 10 8 0  จงหา 1
A , 2A
A=   2
 0 4 10 33

24 2 12
1 
10 8 0 
1
วิธีทา 1) A =
2 2 
 0 4 10 33

 24 2 12 
2 2 2
 10 8 0
=  
2 2 2
0 4 10 
 2 2 2  33

12 1 6
ดังนั้น 1
A=  5 4 0
2  
 0 2 5 33

24 2 12
2) 2A =2 10 8 0 
 
 0 4 10 33

(2)24 (2)2 (2)12


=  (2)10 (2)8 (2)0 
 
 (2)0 (2)4 (2)10 33

48 4 24
ดังนั้น 2A = 20 16 0 
 
 0 8 20 33

12
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

4.3.2 การคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์ (Matrices Multiplication)

นิยาม กาหนด A = aij mn และ B = b ij mn แล้ว

AB = cij mn เมื่อ cij เป็ นผลคูณของสมาชิกที่อยูใ่ นแถวที่ i ของ


เมทริ กซ์ A ด้วยสมาชิกในหลักที่ j ของเมทริ กซ์ B

1 0  2 0 4
ตัวอย่างที่ 7 กาหนด A = 3 5 B= 1 1 7  จงหา AB และ BA
  22   2 3
1 0  2 0 4
วิธีทา 1) AB = 3 5 1 1 7 
  22   2 3

 (1)(2)  (0)(1) (1)(0)  (0)(1) (1)(4)  (0)(7) 


= (3)(2)  (5)(1) (3)(0)  (5)(1) (3)(4)  (5)(7)
  23

2  0 0  0 4  0 
= 6  5 0  5 12  35
  2 3
2 0 4 
ดังนั้น AB = 11 5 47
  23

 2 0 4 1 0
2) BA = 1 1 7 

 
 23 3 5 22

BA ไม่สามารถหาค่าได้

13
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

4 3 2   1 1 4
ตัวอย่างที่ 8 กาหนด A = 2 1 0  และ B=  0 6 0
   
0 8  1 33  3 1 2 33

จงหา 1) 2A+B 2) B 2
วิธีทา 1) 2A+B = 2 4 3 2   1 1 4+
2 1 0    0 6 0
   
0 8  1 33  3 1 2

(2)4 (2)3 (2)2   1 1 4


= (2)2 (2)1 (2)0    0 6 0
   
(2)0 (2)8 (2)(1) 33  3 1 2
8 6 4  1 1 4
= 4 2 0    0 6 0
   
0 16  2 33  3 1 2

 8 1 6 1 4  4 
=  40 2  6 0  0 

0  (3) 16  1  2  2 33

 9 7 8
 4 8 0
ดังนั้น 2A+B =  
 3 17 0 33

2
 1 1 4
2) B 2
=  0 6 0
 
 3 1 2
 1 1 4  1 1 4
=  0 6 0  0 6 0
   
 3 1 2 33  3 1 2

14
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

 (1)(1)  (1)(0)  (4)(3) (1)(1)  (1)(6)  (4)(1) (1)(4)  (1)(0)  (4)(2) 


 (0)(1)  (6)(0)  (0)(3) (0)(1)  (6)(6)  (0)(1) (0)(4)  (6)(0)  (0)(2) 
=  
(3)(1)  (1)(0)  (2)(3) (3)(1)  (1)(6)  (2)(1) (3)(4)  (1)(0)  (2)(2) 33

 1  0  12 1  6  4 408 
 000 060 0  0  0 
= 
 3  0  6  3  6  2  12  0  4 33

 11 11 12 
 0 36 0 
ดังนั้น B2 =  
  9 5  8 33

5. ทรานสโพสของเมทริ กซ์ (Transpose Matrices)

เมทริ กซ์ A ใดๆ ถ้าเขียนเมทริ กซ์ข้ ึนมาใหม่ โดยการนาเอาแถวของเมทริ กซ์ A


ไปเป็ นหลักของเมทริ กซ์ใหม่ โดยแถวใดต้องเป็ นหลักนั้น เช่น แถวที่ 1 ต้องเป็ นหลักที่ 1
แถวที่ 2 ต้องเป็ นหลักที่ 2 จะได้เมทริ กซ์ใหม่ข้ ึนมา ที่เรี ยกว่า ทรานสโพสของเมทริ กซ์
(Transpose of matrices)

นิยาม ให้ A t เป็ นสัญลักษณ์แทน เมทริ กซ์สลับเปลี่ยนหรื อทรานสโพสของเมทริ กซ์ A

แล้ว A t เมทริ กซ์สลับเปลี่ยนหรื อทรานสโพสของเมทริ กซ์ A ก็ต่อเมื่อ สมาชิก

บนแถวของ A เป็ นสมาชิกบนหลักของเมทริ กซ์ A t

15
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

2 0 1
ตัวอย่างที่ 9 กาหนด A=  2 0 4
1 1 7 
B = 1 4 3
  2 3 5 2 0 33

วิธีทา

1. A =  2 0 4
1 1 7 
  2 3

2 1 
จะได้ A t = 0 1 
 
4 7  32

2 0 1
2. B = 1 4 3 
 
5 2 0 33

2 1 5
จะได้ B t
= 0 4 2
1 3 0 33

6. อินเวอร์สการคูณของเมทริ กซ์ (Inverse of a matrix)

เอกลักษณ์ของการดาเนิ นการใดๆ คือ การกระทาแล้วไม่มีการเปลี่ยนแปลงค่ายังคง


เดิม เอกลักษณ์การคูณของจานวนใดๆ คือ 1 เพราะ 1 ไปคูณจานวนใดๆ แล้วค่าคงเดิม
จากเรื่ องชนิดของเมทริ กซ์ ให้ I เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์ที่มีขนาด n  n และ เมทริ กซ์ A
มีขนาด n  n จะได้ AI = IA = A นัน่ คือ I เป็ นเอกลักษณ์การคูณในเรื่ องของเมทริ กซ์
ซึ่ งในหัวข้อนี้ จะกล่าวถึงอินเวอร์ สการคูณของเมทริ กซ์

นิยาม ให้ A มีขนาด n  n และ B มีขนาด n  n เมทริ กซ์ที่มีคุณสมบัติตามเงื่อนไข


AB = BA = I จะเรี ยก B ว่าเป็ นอินเวอร์ สการคูณของ A และเขียนแทน B
ด้วย A 1 อ่านว่า A อินเวอร์16

เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

ตัวอย่างที่ จงแสดงว่า B เป็ นอินเวอร์สของ A

A= 1 3
1 2 และ B = 12 3
 1
  

1 3  2 3 
วิธีทา AB = 1 2  1  1
   

(1)( 2)  (3)(1) (1)(3)  (3)( 1)


= (1)( 2)  (2)(1) (1)(3)  (2)(1) 
 

  2  3 3  3
=   2  2 3  2
 

1 0
= 0 1 
 

 2 3  1 3
และ BA =  1  1 1 2
   

(2)(1)  (3)(1) (2)(3)  (3)( 2)


=  (1)(1)  (1)(1) (1)(3)  (1)( 2) 
 

  2  3  6  6
=  11 3  1 

1 0
= 0 1 
 

ดังนั้น B เป็ นอินเวอร์สการคูณของ A

17
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

แบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 3 เมทริกซ์

2  1
1. กาหนด A= 0 5 
 

1.1 ขนาดของเมทริ กซ์ คือ


……………………………………………...…………………………..
1.2 สมาชิกแถวที่ 1 หลักที่ 1 คือ
...................................................................................................
1.3 สมาชิกแถวที่ 1 หลักที่ 2 คือ
...................................................................................................
1.4 สมาชิกแถวที่ 2 หลักที่ 1 คือ
...................................................................................................
1.5 จานวนสมาชิกของ A
………………………………………………………………................
2. จงบอกชนิดของเมทริ กซ์ต่อไปนี้

 2 0
2.1 A =  5 1
 
……………………………………………...……………………………….
1 
2.2 B = 0 
 
3
..............................................................................................................................

18
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

2.3 C =  2 0 5
..................................................................................................................
3 0 0 
2.4 D = 0 1 0 
 
0 0 7
.......................................................................................................................
 4 1 5
2.5 E =  1 8 3
 
 5 3 2
……………………….………………………………………................
 2 0 1
3. กาหนด A =  6 10 จงหา 3A และ A
  2

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

4. จากเมทริ กซ์จงหาค่าตัวแปร

 2x 0   12 0 
4.1  6 y  =  6 x - 5
   

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

19
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

1 5  1 5 
4.2 z 25  = 2x 5x 
 
14 y  1 14 2z  7

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
12 y 0   12 2x  1 0 
4.3 . 3x 6 20 = y  3 6 20
  
15 1 2z   15 1 24

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

20
เมทริกซ์ [คณิตศาสตร์ 2 (300 1521)]

1 5   2 0 3
5. กาหนด A= 3 0 
 
, B=  1 0 5
 
, C = 2  1 5
1 1  1 3 1

3 0  3
และ D = 2 1 5  จงหา 2A , B + 3D , CB , B 2 , และ CA
 
1 0 4 

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

21

You might also like