You are on page 1of 24

บทที่ 1

เมทริกซ์
ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของเมทริกซ์ ในเรื่องการบวก การลบ การคูณเมทริกซ์ด้วย
จานวนจริง และการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ เมทริกซ์สลับเปลี่ยน เมทริกซ์ผกผัน และเมทริกซ์ใน
รูปแบบต่าง ๆ รวมถึงสมบัติและทฤษฎีบทที่สาคัญของเมทริกซ์ โดยเราสามารถใช้เมทริกซ์แทนระบบ
สมการเชิงเส้น แล้วใช้การดาเนินต่าง ๆ เพื่อหาคาตอบของระบบสมการเชิงเส้น การแปลงเชิงเส้นก็ใช้
เมทริกซ์แปลงเป็นเมทริกซ์ต่าง ๆ ได้ และยังสามารถใช้เก็บข้อมูลที่ขึ้นกับตัวแปรต้นสองตัว โดย
สามารถบวก คูณ และแยกเมทริกซ์ออกเป็นผลคูณของเมทริกซ์ได้หลายรูปแบบ เมทริกซ์จึงเป็น
แนวความคิดที่มีความสาคัญยิ่งของพีชคณิตเชิงเส้น

เมทริกซ์
โดยทั่วไป เราสามารถพบเห็นข้อมูลหลายชนิดที่เขียนอยู่ในรูปกลุ่มของจานวนซึ่งนามา
จัดเรียงกันในรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้มากมายในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างเช่น ร้านค้าแห่งหนึ่งซื้อเครื่อง
เขียนมาขาย 4 ชนิด คือ ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด และยางลบ โดยราคาต้นทุนคิดเป็นต่อชิ้น แสดง
เป็นตารางได้ดังนี้
ชนิดเครื่องเขียน ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ยางลบ
ราคา/ชิ้น 15 10 8 7

15 
10 
ซึ่งสามารถเขียนสั้น ๆ เป็น 15 10 8 7  หรือ  
8 
 
7 
หรือในการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลรายการหนึ่ง ตารางคะแนนแจ้งผลการแข่งขันได้ดังนี้
ทีม ชนะ แพ้ เสมอ
A 3 4 2
B 5 2 2
C 4 2 3
D 2 4 3
E 1 3 5
16

3 4 2
5 2 2 

ซึ่งสามารถเขียนสั้น ๆ เป็น 4 2 3
 
2 4 3
1 3 5 
หรือในทางคณิตศาสตร์ เราสามารถจัดเรียงสัมประสิทธิ์ของระบบสมการเชิงเส้นให้อยู่ในรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉากได้ ดังนี้
3x  5 y  25
 x  2 y  10
 3 5
ซึ่งสามารถเขียนสั้น ๆ เป็น  1 2 
 
ดังที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างเบื้องต้นของเมทริกซ์ทั้งสิ้น และเนื่องจากวิชาพีชคณิต
เชิงเส้นส่วนหนึ่งเป็นการศึกษาระบบสมการเชิงเส้น ในบทนี้จะขอทบทวนสมบัติพื้นฐานต่าง ๆ ของ
เมทริกซ์และการดาเนินการบนเมทริกซ์ การบวกและการลบเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์ด้วยจานวน
จริง และการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ เพื่อใช้เมทริกซ์เป็นเครื่องมือในการหาผลเฉลยของระบบ
สมการเชิงเส้นต่อไป รวมถึงดีเทอร์มิแนนต์และตัวผกผันสาหรับการคูณ

นิยาม 1.1 เมทริกซ์ (Matrix) คือ กลุ่มของจานวนซึ่งนามาจัดเรียงกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็น


แถวตามแนวนอนและแนวตั้ง ซึ่งมีแถวตามแนวนอนเรียกว่า แถว (Row) และตามแนวตั้งเรียกว่า
หลัก (Column) โดยปิดล้อมด้วยเครื่องหมายวงเล็บ ( ) หรือ [ ] เขียนในรูปทั่วไปดังนี้
 a11 a12 a1n 
a a a2n 
A   21 22
 
 
 am1 am 2 amn 
แทนด้วยสัญลักษณ์ A   aij 
mn
หรือ Amn
เมื่อ เป็นสมาชิกในแถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ โดยที่ i  1, 2, 3, , m และ
aij
j  1, 2, 3, , n สาหรับเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก กล่าวว่าเมทริกซ์นั้นมีมิติ (Dimension)
หรืออันดับ (Order) m  n
17

ตัวอย่างที่ 1.1 จงบอกมิติและแจกแจงสมาชิกในแต่ละเมทริกซ์ต่อไปนี้


 0  1
1. A   2 3
1 4 
2. B   2  1 0 5
0 6 
3. C   
2 1 
x 6 
4. D   2
2 x x 
 2 6 5
5. E   
3 7 4 
วิธีทา 1. A เป็นเมทริกซ์มิติ 3 × 2
และมีสมาชิกดังนี้ a11  0, a12   1, a21  2
a22  3, a31  1, a32  4
2. เป็นเมทริกซ์มิติ 1 × 4
B
และมีสมาชิกดังนี้ b11  2, b12   1, b13  0, b14  5
3. C เป็นเมทริกซ์มิติ 2 × 2
และมีสมาชิกดังนี้ c11  0, c12  6, c21  2, c22  1
4. D เป็นเมทริกซ์มิติ 2 × 2
และมีสมาชิกดังนี้ d11  x, d12  6, d21  2x, d22  x 2
5. E เป็นเมทริกซ์มิติ 3 × 3
และมีสมาชิกดังนี้ e11  2, e12  6, e13  5
e21  3, e22  7, e23  4

เมทริกซ์แบบต่าง ๆ
เมทริกซ์ศูนย์ (Zero Matrix or Null Matrix) เมทริกซ์ที่มีสมาขิกทุกตัวเป็นศูนย์ เราเรียกว่า
เมทริกซ์ศูนย์ เขียนแทนด้วย 0mn เช่น
0 0 
0 0 
A    , B  0 0 
0 0  0 0
18

เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix ) เมทริกซ์ที่มีจานวนแถวเท่ากับจานวนหลัก จะเรียกว่า


เมตริกซ์จัตุรัสที่มี n แถว n หลัก ว่าเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n  n หรือเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n เช่น
1 0 3 
2 0
A    , B   2 4 1 
3 1  0 3 5

เมทริกซ์ทแยงมุม (Diagonal Matrix) เมทริกซ์จัตุรัสที่สมาชิกบนเส้นทแยงมุมหลัก เป็น


จานวนจริงใด ๆ และสมาชิกนอกแนวทแยงมุมหลักทุกตัวเป็นศูนย์ เช่น
2 0 0 
2 0
A    , B  0 2 0 
0 1  0 0 5

เมทริกซ์สเกลาร์ (Scalar Matrix) เมทริกซ์ทแยงมุมที่สมาชิกบนเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากัน


ทุกตัว เช่น
5 0 0 
3 0 
A    , B  0 5 0 
0 3 0 0 5

เมทริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) เมทริกซ์สเกลาร์มิติ nn ที่มีสมาชิกบนเส้นทแยง


มุมหลักมีค่าเท่ากับ 1 เขียนแทนด้วย I n เช่น
1 0 0 
1 0
I2    , I3  0 1 0 
0 1 0 0 1

เมทริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular Matrix) เมตริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของ


แนวทแยงมุมหลักเป็นศูนย์ทั้งหมด เรียกว่า เมทริกซ์สามเหลี่ยมบน (Upper Triangular Matrix )
ถ้าสมาชิกใต้เส้นทแยงมุมหลักเป็นศูนย์ทุกตัว แต่ถ้าสมาชิกเหนือเส้นทแยงมุมหลักเป็นศูนย์ทุกตัว
เรียกว่า เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง (Lower Triangular Matrix ) เช่น
2 1 3 
A  0 3 4 เมทริกซ์สามเหลี่ยมบน
0 0 1 

1 0 0 
B  3 1 0  เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง
 2 1 1
19

เมทริกซ์สลับเปลี่ยน (Transpose of a Matrix) ถ้า A เมทริกซ์มิติ m  n แล้วเมทริกซ์


สลับเปลี่ยนของ A เขียนแทนด้วย At คือ เมทริกซ์ซึ่งได้จากการนาแถวของ A มาสร้างให้เป็นหลัก
ของเมทริกซ์ At นั่นคือ ถ้า A  aij  mn แล้ว At  a ji  nm เช่น
1 
A    , At  1 2
2
0  1   0 3
B    , Bt   
3 2  1 2 
เมทริกซ์สมมาตร (Symmetric Matrix) เมตริกซ์จัตุรัสที่มีสมบัติว่า aij  a ji สาหรับทุกค่า
i และ j นั่นคือ ถ้า A เป็นเมทริกซ์สมมาตร จะได้ At  A เช่น
3 5 3 5 
A   , At    นั่นคือ A  A
t

5 2  5 2 
 1 3 2  1  3 2
B   3 7 8 , B   3
 t
7 8 นั่นคือ Bt  B
 2 8 0   2 8 0 
เมทริกซ์เสมือนสมมาตร (Skew - Symmetric Matrix) เมตริกซ์จัตุรัสที่สมาชิกบนเส้นทแยง
มุมหลักเป็นศูนย์ทุกตัว และเป็นเมทริกซ์ที่มีสมบัติว่า aij   a ji สาหรับทุกค่า i และ j นั่นคือ ถ้า
A เป็นเมทริกซ์เสมือนสมมาตร จะได้ At   A เช่น
0  4   0 4 0  4 
A   จะได้ At     1   A
4 0  
 4 0  4 0 

 0 1 1   0 1 1  0 1 1 
B   1 0 2  จะได้ Bt   1 0  2   1  1 0 2   B
 
 1  2 0   1 2 0  1  2 0

เมทริกซ์ไม่เอกฐาน (Non - Singular Matric) เมตริกซ์จัตุรัสที่มีตัวผกผันสาหรับการคูณ


หรือกล่าวคือ เมทริกซ์ไม่เอกฐานเป็นเมทริกซ์จัตุรัสที่มีค่าตัวกาหนดหรือค่าดีเทอร์มิแนนต์ไม่เท่ากับ
ศูนย์ เช่น
1 2 
A    , det A  1 4    3 2    2  0
3 4 
 2 1
1
A   
 3  1
 2 2
20

เมทริกซ์เอกฐาน (Singular Matric) เมตริกซ์จัตุรัสที่ไม่มีตัวผกผันสาหรับการคูณ หรือ


กล่าวคือ เมทริกซ์เอกฐานเป็นเมทริกซ์จัตุรัสที่มีค่าตัวกาหนดหรือค่าดีเทอร์มิแนนต์เท่ากับศูนย์ เช่น
3 1 
A    , det A   2  3   6 1  0
6 2
นั่นคือ A ไม่มีตัวผกผัน

การดาเนินการบนเมทริกซ์
การเท่ากันของเมทริกซ์
เมทริกซ์สองเมทริกซ์จะเป็นเมทริกซ์ที่เท่ากัน ก็ต่อเมื่อ เมทริกซ์ทั้งสองมีมิติเท่ากัน และ
สมาชิกของเมทริกซืที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกันเท่ากันทุกตัว ซึ่งนิยามได้ดังนี้

นิยาม 1.2 ถ้าเมทริกซ์ A  [aij ] และ B  [bij ] เท่ากัน เขียนแทนด้วย A B ก็ต่อเมื่อ A และ
B มีมิติเดียวกัน และ aij  bij สาหรับทุก ๆ ค่าของ i และ j

ตัวอย่างที่ 1.2 จงหาค่า x และ y เมื่อกาหนดให้


x  3 6  9 6 
 x  y 7  4 7
   
วิธีทา จากนิยาม 1.2 จะได้ว่า
x3  9
หรือ x  6
และ x y  4
y  4  x  4   6   2
ดังนั้น x  6 และ y  2

ตัวอย่างที่ 1.3 จงหาค่า a และ b เมื่อกาหนดให้


a2 6  25 4  b 
    
b2  7  4 a  2
วิธีทา จากนิยาม 1.2 จะได้ว่า
a 2  25 และ a2  7
a  5 และ a  5
นั่นคือ a  5

และจาก b2  4 และ 4b  6


21

b  2 และ b  2
นั่นคือ b  2
ดังนั้น a  5 และ b  2

ตัวอย่างที่ 1.4 จงหาค่า a และ b เมื่อกาหนดให้


2 a
log b  16 (log b)2 
    
a b  a b 
วิธีทา จากนิยาม 1.2 จะได้ว่า
2a  16
2a  24  16
นั่นคือ a  4
และจาก log b  (log b)2
ซึ่ง (log b) 2  log b  0
จะได้ว่า
log b  log b  1  0
log b  0 หรือ log b  1  0
100  b log b  1
b  1 101  b
b  10
นั่นคือ b 1 และ 10
ดังนั้น a  4 และ b  1, 10

ตัวอย่างที่ 1.5 จงตรวจสอบว่า A B หรือไม่ เมื่อกาหนดให้


5 1   25 a 0 
A    และ B   
0 6 log a 1 ln e 
6

วิธีทา จากโจทย์จะได้ว่า
5  25  5
1  a0  1
0  log a 1  0  log a 1  0
และ ln e6  6  6  6 ln e  6 1  6

ดังนั้น ค่าทุกค่าของเมทริกซ์ A และเมทริกซ์ B มีค่าเท่ากัน


นั่นคือ เมทริกซ์ A  B
22

การบวก และการลบเมทริกซ์
การนาเอาสมาชิกของเมทริกซ์ซึ่งอยู่ในตาแหน่งเดียวกันของเมทริกซ์ 2 เมทริกซ์ที่มีมิติเท่ากัน
มาบวกหรือลบกัน ทาให้ได้เมทริกซ์ใหม่ ดังนิยามต่อไปนี้

นิยาม 1.3 การบวกเมทริกซ์


ถ้าเมทริกซ์ A  [aij ]m  n และ B  [bij ]m  n เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติเท่ากันแล้ว
A  B  [aij  bij ]m  n เมื่อ i  1, 2, 3, ,m และ j  1, 2, 3, ,n

 4 5 1 2 
ตัวอย่างที่ 1.6 กาหนดให้A    , B    จงหาค่าของ A B
2 1  7 0
 4 5 1 2 
วิธีทา A B    
 2 1  7 0 
4  1 5  2 
=  
2  7 1  0
5 7 
=  
9 1 

0  2 4 3 2  1 
ตัวอย่างที่ 1.7 กาหนดให้A    , B    จงหาค่าของ A B
1 5 6 0 0 6 
 0  2 4  3 2  1
วิธีทา A B   
1 5 6  0 0 6 
0  3  2  2 4   1 
=  
1  0 50 66 
3 0 3 
=  
1 5 12 

นิยาม 1.4 การลบเมทริกซ์


ถ้าเมทริกซ์ A  [aij ]m  n และ B  [bij ]m  n เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติเท่ากันแล้ว
A  B  [aij  bij ]m  n เมื่อ i  1, 2, 3, ,m และ j  1, 2, 3, ,n
23

 6  3  1 5 
ตัวอย่างที่ 1.8 กาหนดให้ A   B   จงหาค่าของ A B
4  
,
1  0 8
6  3  1 5
วิธีทา A B   
1 4   0 8
6   1  3  5
=  
1  0 4  8
 7  8
=  
1  4 

1  2 0  1 3  2 
ตัวอย่างที่ 1.9 กาหนดให้ A  2 3 1  , B   0 1 0 
  จงหาค่าของ A B
0  1 0   3 4 2 
1  2 0  1 3  2 
วิธีทา A  B   2 3 1    0 1 0 
0  1 0   3 4 2
1   1  2  3 0   2  
 
= 2  0 3 1 1  0 
0   3  1  4 0  2 

2  5 2
=  2 2 1 
3  5  2 

การคูณเมทริกซ์ด้วยสเกลาร์
นิยาม 1.5 การคูณเมทริกซ์ด้วยสเกลาร์
ถ้า A  [aij ]m  n และ c เป็นสเกลาร์ แล้ว cA  [caij ]m  n และ Ac  [aij c]m  n

0 4 3  2 
 2 5 3 
ตัวอย่างที่ 1.10 กาหนดให้ A    , B  9 3  , C  0
  5 จงหา
 1 0 6 1 2  1  3 
ค่าของ 3 A ,  5B , 2C
 2 5 3 3  2  3  5 3  3   6 15 9 
วิธีทา 3A  3        3 0 18
 1 0 6 3 1 3  0  3  6    
24

0 4   5  0  5 4   0  20
 
5B   5  9 3    5  9  5 3   45  15 
 5 1
1 2 
   5 2  5  10 
3  2   2  3 2  2   6  4 
 
2C  2 0 5  
 2  0  2  5    0 10 

 2 1 2 3 
      2  6
1  3 

1  2   3 4 
ตัวอย่างที่ 1.11 กาหนดให้ A    , B    จงหาเมทริกซ์ X ที่ทาให้
0 3  2 4
2X  A  B
วิธีทา จากโจทย์ 2X  A  B จะได้ว่า 2X  B  A
1
X   B  A
2
1   3 4  1  2   1   3  1 4   2   
         
2   2 4 0 3  2  2  0 4  3  
1   4 6  
  
2   2 1  
1 1 
 2  4   6
2   
 2 3 
   
 1  2 1   1 1
1  2
 2 2 
 2 3 
ดังนั้น เมทริกซ์ X   
 1 1
 2
การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์
นิยาม 1.5 การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์
ถ้า A  [aij ]m  n และ B  [bij ]n  p เป็นเมทริกซ์ จะได้ผลคูณ
C  AB  [cij ]m  p โดยที่ cij  ai1b1 j  ai 2b2 j   ainbnj หรือกล่าวว่า cij คือสมาชิกใน
แถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ C ซึ่งได้จากการนาสมาชิกแถวที่ i ของ A คูณกับสมาชิกในหลักที่
j ของ B เป็นคู่ไปตามลาดับ แล้วนามาบวกกัน
25

การดาเนินการตามนิยามข้างต้นสามารถแสดงในรูปทั่ว ๆ ไป ด้วยแผนภาพต่อไปนี้
 a11 a12 a1n 
a a22 a2 n  b11 b12 b1 j b1 p  c11 c12 c1 p 
 21    
  b21 b22 b2 j b2 p  c21 c22 c2 p 

ain  
    
 ai1 ai 2
  
cij

  b b bnj bnp  cm1 cm 2 cmp 
   n1 n 2 
 am1 am 2 amn 
โดยที่ c11  a11b11  a12b21   a1nbn1

 a11 a12 a1n 


a a22 a2 n  b11 b12 b1 j b1 p  c11 c12 c1 p 
 21    
  b21 b22 b2 j b2 p  c21 c22 c2 p 

ain  
    
 ai1 ai 2
  
cij

  b b bnj bnp   cmp 
   n1 n 2 cm1 cm 2
 am1 am 2 amn 
โดยที่ cij  ai1b1 j  ai 2b2 j   ainbnj

ข้อสังเกต : 1. ผลคูณของเมทริกซ์ A และเมทริกซ์ B จะหาได้ ก็ต่อเมื่อจานวนหลักของ A


เท่ากับจานวนแถวของ B
2. เมทริกซ์ที่เป็นผลลัพธ์จะมีจานวนแถวเท่ากับจานวนของ A และจานวนหลักเท่ากับ
จานวนหลักของ B
3. โดยทั่วไป ผลคูณของเมทริกซ์ A และเมทริกซ์ B จะได้ว่า AB ไม่เท่ากับ BA
26

 1 2
0 4 1   
ตัวอย่างที่ 1.12 กาหนดให้ A    , B   3 0  จงหาค่าของ AB
 3 2 2   5 2 
 1 2
0 4 1   
วิธีทา จะได้ว่า AB     3 0 
 3 2 2   5 2
 
0 1  4  3  1 5  0  2   4  0   1 2  
  
3 1  2  3  2  5  3  2   2  0   2  2  
0   12   5 0  0  2
  
3   6   10 6  0  4 
 7 2 
 
 7 10 

 2 1
1 0 2  
ตัวอย่างที่ 1.13 กาหนดให้ C    , D   1 1 
 2  1 0   4 0
จงหาค่าของ CD และ DC
 2 1
1 0 2 
วิธีทา จะได้ว่า CD     1 1 
 2  1 0   4 0
 
1 2   0  1  2  4  11  0 1  2  0 
  
 2  2    1 1  0  4  2 1   11  0  0  
2  0  8 1 0  0 
  
4  1  0 2   1  0
10 1
  
5 1
 2 1
1 0 2
และ DC   1 1  
2  1 0 
 4 0 
27

 2 1  1 2  2  0   1 1 2  2   1 0  
 
  11  1 2   1 0   1 1  1 2   1 0 
4 1  0 2 4  2   0  0  
     4  0   0  1
2  2 0   1 4  0 
 
  1  2 0   1  2   0 
4  0 00 80 
 
4  1 4
 1  1  2 

 4 0 8

ข้อสังเกต จากตัวอย่างข้างต้น ผลคูณ CD และ DC ต่างก็สามารถคูณกันได้ แต่เมทริกซ์ทั้งสอง


ไม่เท่ากัน นั่นคือ CD  DC

3 0  0 2  0 3
ตัวอย่างที่ 1.14 กาหนดให้ A    , B    , C    จงหาตรวจสอบว่า
0 0  0 0   0 3
AB  BC หรือไม่
3 0   0 2 
วิธีทา จะได้ว่า AB    
0 0 0 0 
3  0   0  0  3 2  0 0 
  
0  0   0  0  0  2   0  0  
0  0 6  0 
  
0  0 0  0 
0 6 
  
0 0 
 0 2   0 3
และ BC    
 0 0   0 3
0  0   2  0  0  3   2  3 
  
0  0   0  0  0  3  0  3 
0  0 0  6
  
0  0 0  0
0 6 
  
0 0 
นั่นคือ AB  BC
28

ข้อสังเกต จากตัวอย่างข้างต้น พบว่า AB  BC เป็นจริงได้ ถึงแม้ว่า B  C หรือ A  0


ในตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงว่าการคูณเมทริกซ์มีประโยชน์อย่างไร ในปัญหาการตัดสินใจ

ตัวอย่างที่ 1.15 ชาวสวนผลไม้ในจังหวัดเชียงราย ได้บรรทุกผลไม้เพื่อส่งไปขายในจังหวัดต่าง ๆ


ดังนี้ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดกาแพงเพชร และจังหวัดอุดรธานี โดยในรถบรรทุก
ผลไม้คันนี้ประกอบด้วยส้มสายน้าผึ้งจานวน 500 เข่ง สตรอเบอรี่จานวน 900 เข่ง และลาไยจานวน
400 เข่ง ราคาขายต่อเข่งจะขึ้นกับชนิดของผลไม้และระยะทางของจังหวัดซึ่งกาหนดได้ตามตาราง
ต่อไปนี้
ชนิดผลไม้
ส้มสายน้าผึ้ง สตรอเบอรี่ ลาไย
จังหวัด
เพชรบุรี 100 70 90
ลพบุรี 50 200 150
กาแพงเพชร 300 100 40
อุดรธานี 200 150 170
อยากทราบว่าจังหวัดใดที่รถบรรทุกผลไม้ควรจะไปส่งเพื่อที่ว่าชาวสวนผลไม้จะได้รับกาไรสูงสุดจาก
การขายผลไม้ของเขา
วิธีทา จากข้อมูลของโจทย์รถบรรทุกผลไม้คันนี้ ประกอบด้วยส้มสายน้าผึ้งจานวน 500 เข่ง
สตรอเบอรี่จานวน 900 เข่ง และลาไยจานวน 400 เข่ง สามารถแปลงเป็นเมทริกซ์ ได้ดังนี้
500 
900 
 
 400
และรายได้จากการบรรทุกผลไม้เพื่อส่งไปขายในจังหวัดต่าง ๆ เป็นดังนี้
100 70 90  100  500   70  900   90  400  
50 200 150   500   
   50  500   200  900   150  400  
  900 
300 100 40    300 500  100 900  40 400 
        
  400 
 200 150 170   200  500   150  900   170  400  
 
50, 000  63, 000  36, 000 
 25, 000  180, 000  60, 000 
=  
150, 000  90, 000  16, 000 
 
100, 000  135, 000  68, 000 
149, 000 
 265, 000 
=  
 256, 000 
 
303, 000 
29

จะเห็นได้ว่า รายได้จากการบรรทุกผลไม้เพื่อส่งไปขายในจังหวัดอุดรธานีมากที่สุด ดังนั้นเพื่อให้


ได้รับกาไรสูงสุดจากการขายผลไม้ ควรส่งผลไม้ไปขายที่จังหวัดอุดรธานี

การสลับเปลี่ยนของเมทริกซ์ (The Transpose of Matrices)


ถ้าแถวและหลักของเมทริกซ์มีการสลับที่กัน กล่าวคือ แถวที่หนึ่งของเมทริกซ์เปลี่ยนไปเป็น
หลักที่หนึ่ง แถวที่สองของเมทริกซ์เปลี่ยนไปเป็นหลักที่สองทาเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งแถวใน
เมทริกซ์ที่กาหนดให้หมดไป เมทริกซ์ใหม่ที่ได้ใหม่นี้เรียกว่า “การสลับเปลี่ยนของเมทริกซ์”
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการสลับเปลี่ยนของเมทริกซ์ คือ AT หรือ At นั่นคือ ถ้า aij เป็นสมาชิกใน
แถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ A แล้ว aij นี้จะเป็นสมาชิกในแถวที่ j และหลักที่ i ของ
AT ด้วย ไม่จาเป็นว่าเมทริกซ์ A ต้องเป็นเมตริกซ์จัตุรัส จึงจะสลับที่ได้

นิยาม 1.6 การสลับเปลี่ยนของเมทริกซ์


ถ้า A  [aij ]m  n ดังนั้น B  [bij ]n  m ในเมื่อ bij  a ji เรียกว่าการสลับ
เปลี่ยนของเมทริกซ์ A ซึ่งเขียนแทนด้วย AT โดยที่ AT  B  [b ji ]n  m  [a ji ]n  m

5 3 0
ตัวอย่างที่ 1.16 กาหนดให้ A    จงหา AT
2 1  1 
วิธีทา เนื่องจากเมทริกซ์ A มีสองแถว เพราะฉะนั้นถ้าสลับเปลี่ยนแถวที่หนึ่งใน A ไปเป็นหลัก
ที่หนึ่งใน AT และสลับเปลี่ยนแถวที่สองใน A ไปเป็นหลักที่สองใน AT
5 2
ดังนั้น AT
 3 1 

0  1 

หรือหา AT โดยใช้นิยามข้างต้น
เพราะว่าเมทริกซ์ A มีมิติ 2 × 3 เพราะฉะนั้น AT จะมีมิติ 3×2
AT  B  [b ji ]2  3  [a ji ]3  2

นั่นคือ b11  a11  5 , b12  a21  2


b21  a12  3 , b22  a22  1
b31  a13  0 , b32  a23   1
5 2
ดังนั้น AT
 3 1 

0  1 
30

ทฤษฎีบท
ถ้า k เป็นสเกลาร์ใด ๆ และ A, B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติแล้วจะได้ว่า
 AT 
T
1.  A

2.  A  B T  AT  BT และ  A  B T  AT  BT
3.  AB T  BT AT
4.  kAT  kAT

อินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
นิยาม 1.7 ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสใด ๆ และถ้า B เป็นเมทริกซ์ ที่ซึ่ง AB  BA  I n แล้วจะ
เรียก B ว่า เป็นอินเวอร์สการคูณของ A
ถ้า A หาอินเวอร์สการคูณไม่ได้ เรียก A ว่า เมทริกซ์เอกฐาน (singular matrix)
ถ้า A หาอินเวอร์สการคูณได้ เรียก A ว่า เมทริกซ์มิใช่เอกฐาน (non-singular matrix)

1 2   2 1 
ตัวอย่างที่ 1.17 กาหนดให้ A    และ B    จงแสดงว่า B เป็น
3 4   3 2 1 2 
อินเวอร์สการคูณของ A
วิธีทา จะได้ว่า
1 2   2 1 
AB    
 3 4   3 2 1 2
 2  3 1  1 
  
 6  6 3  2 
1 0 
 0 1
 
และ
 2 1  1 2 
BA    
 3 2 1 2  3 4 
 2  3  4  4 
 3 3 
  3  2
2 2 
1 0 
  
0 1
ดังนั้น AB  BA  I 2 แสดงว่า B เป็นอินเวอร์สการคูณของ A
31

ตัวอย่างที่ 1.18 จงแสดงว่า B เป็นอินเวอร์สการคูณของ A เมื่อกาหนดให้


 1 2  1  2 
A    , B  1  1 
 1 1   
วิธีทา จะแสดงว่า AB  I 2 นั่นคือ
 1 2  1  2 
AB   1 1  1  1 
  
 1  2 2  2 
  1  1 2  1 
 
1 0 
 0 1
 
และแสดงว่า BA  I 2 นั่นคือ
1  2   1 2 
BA  1  1   1 1 
  
 1  2 2  2 
  1  1 2  1 
 
1 0 
  0 1
 
จะเห็นได้ว่า AB  BA  I 2 แสดงว่า B เป็นอินเวอร์สการคูณของ A

ทฤษฎีบท ถ้า B และ C เป็นอินเวอร์สการคูณ ของ A แล้ว B  C

ทฤษฎีบท ถ้า A  [a] โดยที่ a  0 แล้ว อินเวอร์สการคูณของ A หาได้จาก


1
A1   
a

a b 
ทฤษฎีบท ถ้า A    โดยที่ ad  bc  0 แล้ว อินเวอร์สการคูณของ A
c d 
1  d  b
หาได้จาก A1 
ad  bc  c a 
32

ตัวอย่างที่ 1.19 จงหาอินเวอร์สการคูณของ A และ B เมื่อกาหนดให้


1 2   4  8
A    , B   
3 7  1  2 
วิธีทา จากโจทย์ จะได้ว่า
1  d  b
A1 
ad  bc  c a 
1  7  2

7 1  3  2   3 1 
1  7  2

7  6  3 1 
1 7  2  7  2
  
1  3 
1  3 1 

1  d  b
และ B 1  เนื่องจาก ad  bc  0 จึงไม่สามารถหาอิน
ad  bc  c a 
เวอร์สการคูณของ B ได้

สมบัติของอินเวอร์สของเมทริกซ์
ทฤษฎีบท
กาหนด A , B เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติเดียวกัน และมีอินเวอรส์ การคูณ
1. ( A1 )1  A
2. ( AB)1  B 1 A1
3. ( A1 )T  ( AT )1
4. An มีอินเวอร์สการคูณ และ ( An )1  ( A1 )n เมื่อ n  0, 1, 2,
5. kA มีอินเวอร์สการคูณ และ (kA)1  1 A1 สาหรับจานวนจริง k  0
k
33

เมทริกซ์มูลฐานและวิธีหา A1
นิยาม 1.8 เมทริกซ์ E ที่มีมิติ n  n จะเรียกว่า เมทริกซ์มูลฐาน เมื่อ E เป็นเมทริกซ์ที่เกิด
จากการใช้การดาเนินการตามแถวเบื้องต้นชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงครั้งเดียวบนเมทริกซ์เอกลักษณ์
ตัวอย่างที่ 1.20 เมทริกซ์ต่อไปนี้เป็นเมทริกซ์มูลฐาน
1 0  1 0 1 0
1.  0 3 เพราะ
  0 1 0 3

1 0 0 1 0 0 1 0 0
2. 0 1 0 เพราะ 0 1 0 0 1 0
 
0 0 1 0 0 1 0 0 1

0 0 1 1 0 0 0 0 1
3. 0 1 0  เพราะ 0 1 0 0 1 0
 
1 0 0  0 0 1 1 0 0

1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0
0 1 0 4 0 1 0 0 0 1 0 4
4.  เพราะ
0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0
 
0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 1

ถ้า A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ m  n และ E เป็นเมทริกซ์มูลฐานมีมิติ m  n แล้วผลคูณ


EA จะเป็นเมทริกซ์ที่เกิดจากการใช้การดาเนินการตามแถวเบื้องต้นชนิดเดียวกับ E บน A เช่น
 1 2 3 4 0 1 
ให้ A    เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 2 × 4 และ E    เป็น
0 1 2 0 1 0 
1 0 
เมทริกซ์มูลฐานที่เกิดจากการสลับแถวของ I2    นั่นคือ
 0 1
1 0 0 1
0 1 1 0
34

0 1  1 2 3 4 
จะได้ EA    
1 0   0 1 2 0 
0 1  1 0  0  2   11 0  3  1 2  0  4   1 0  
  
11  0  0  1 2   0 1 1 3  0  2  1 4   0  0  
0  0 0 1 0  2 0  0
 
1  0 2  0 3  0 4  0 
0 1 2 0
= 
1 2 3 4 
ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะเหมือนกับการสลับแถวที่ 1 กับแถวที่ 2 ของเมทริกซ์ A

ตัวอย่างที่ 1.21 จงหาผลคูณ EA เมื่อกาหนดให้


1 0 0  2 1 1
1. E  0 0 1 , A  3 2  5 
  
0 1 0  2 3  2
1 0 0   2 1 1
2. E  2 1 0 , A  3 2  5 
  
0 0 1  2 3  2
1 0 0  1 0 0 
วิธีทา 1.  
E  0 0 1 เป็นเมทริกซ์มูลฐานที่เกิดจากการสลับแถวของ I3   0 1 0 
0 1 0  0 0 1 
1 0 0 1 0 0
นั่นคือ 0 1 0 0 0 1
0 0 1 0 1 0

1 0 0  2  1 1  2 1 1
ดังนั้น   
EA  0 0 1  3  
2 5    2 3  2
0 1 0  2 3  2   3 2  5 

1 0 0  1 0 0 
2. E   2 1 0  เป็นเมทริกซ์มูลฐานที่เกิดจากการสลับแถวของ I3   0 1 0 
0 0 1 0 0 1 
1 0 0 1 0 0
นั่นคือ 0 1 0 2 1 0
0 0 1 0 0 1
35

1 0 0   2  1 1  2 1 1
ดังนั้น   
EA   2 1 0  3 2  5    1 0  3 

0 0 1  2 3  2  2 3  2 

ทฤษฎีบท เมทริกซ์มูลฐานทุกเมทริกซ์เป็นเมทริกซ์ที่หาอินเวอร์สได้ และอินเวอร์สที่ได้จะเป็น


เมทริกซ์มูลฐานด้วย

ทฤษฎีบท กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n  n ข้อมูลต่อไปนี้สมมูลกัน


1. A มีอินเวอร์สการคูณ
2. Ax  0 มีคาตอบชัดแจ้งเพียงคาตอบเดียว
3. A  I n

วิธีการหาตัวผกผัน
ถ้ากาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n  n และหาอินเวอร์สได้ จากทฤษฎีข้างต้น เรา
พบว่า A  I n แสดงว่าจะต้องมีเมทริกซ์มูลฐาน E1 , E2 , , Ek ทาให้
Ek Ek 1 E2 E1 A  I n
แต่เนื่องจากเมทริกซ์มูลฐานเหล่านี้มีอินเวอร์ส จึงนา Ek 1 , , E21 , E11 คูณทั้งสองข้างอย่าง
ต่อเนื่องกันจะได้
A  E11 E21 Ek 1I n
1
  Ek Ek 1 E2 E1 
A1  Ek Ek 1 E2 E1
ด้วยเหตุนี้จึงเกิดกระบวนการหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ A ดังนี้
1. เขียน  A I n 
2. ใช้การดาเนินการตามแถวเบื้องต้น  A I n  จนได้  I n B 
3. จะได้ B  A1
36

1 2 3 
ตัวอย่างที่ 1.22 จงหาอินเวอร์สการคูณของ A   2 5 3
1 0 8 
วิธีทา
1 2 3 1 0 0 1 2 3 1 0 0
2 5 3 0 1 0 0 1 3 2 1 0
1 0 8 0 0 1 1 0 8 0 0 1
1 2 3 1 0 0
0 1 3 2 1 0
0 2 5 1 0 1
1 2 3 1 0 0
0 1 3 2 1 0
0 0 1 5 2 1
1 2 3 1 0 0
0 1 3 2 1 0
0 0 1 5 2 1
1 2 0 14 6 3
0 1 3 2 1 0
0 0 1 5 2 1
1 2 0 14 6 3
0 1 0 13 5 3
0 0 1 5 2 1
1 0 0 40 16 9
0 1 0 13 5 3
0 0 1 5 2 1
ดังนั้น
 40 16 9
A1
  13  5  3 
 5  2  1 
37

เราได้อธิบายวิธีการแก้ระบบสมการเชิงเส้น โดยใช้วิธีการกาจัดตัวแปรด้วยวิธีเกาส์ – จอร์แดนและวิธี


เกาส์เซียนแล้ว ต่อไปนี้เราจะแก้ระบบสมการเชิงเส้นที่มีจานวนสมการเท่ากับจานวนตัวแปรโดยวิธี
อื่น

ทฤษฎีบท ถ้า A มีอินเวอร์สการคูณ มีมิติ n × n แล้วระบบสมการเชิงเส้น AX  B จะมีคาตอบ


เดียว คือ X  A1B สาหรับแต่ละ b ที่มีมิติ n × 1 ใด ๆ

ตัวอย่างที่ 1.23 จงแก้ระบบสมการเชิงเส้น


 x1  2 x2  3x3  5

2 x1  5 x2  3x3  3
x  8 x3  17
 1
วิธีทา ระบบสมการข้างต้นสามารถเขียนให้อยู่ในรูป
AX  B โดยที่
1 2 3   x1  5 
 
A   2 5 3 , X   x2  , B  3 
 
1 0 8   x3  17 

 40 16 9
จากตัวอย่าง 1.22 จะได้ว่า A1   13  5  3 
 5  2  1 

จากทฤษฎีบท คาตอบของระบบสมการนี้ คือ


 40 16 9 5 
X  A B   13  5  3  3 
1

 5  2  1  17
 200  48  153
  65  15  51 
 25  6  17 
 1
  1 
 2 
นั่นคือ x1  1, x2  1, x3  2
38

บทสรุป
เมทริกซ์ คือ การแสดงข้อมูลหรือตัวเลขชุดหนึ่งหรือกลุ่มหนึ่งด้วยการจัดลาดับของตัวเลขให้
อยู่ในรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ประกอบด้วยแนวนอนและแนวตั้ง โดยความรู้เกี่ยวกับเมทริกซ์จะเป็น
เครื่องมือที่ช่วยในการแก้ปัญหาระบบสมการเชิงเส้น โดยได้อธิบายคาจากัดความของเมตริกซ์ ชนิด
ของเมทริกซ์ในรูปแบบต่าง ๆ การดาเนินการบนเมทริกซ์ทั้งการบวกเมทริกซ์ การลบเมทริกซ์ การคูณ
เมทริกซ์ด้วยจานวนจริง และการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ เมตริกซ์สลับเปลี่ยน เมทริกซ์ผกผัน
เมตริกซ์มูลฐาน เพื่อเป็นพื้นฐานในการนาไปประยุกต์ในบทต่อ ๆ ไป

You might also like