You are on page 1of 3

วิชา 314 121 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาตร์กายภาพ 1 (Calculus for Physical Science I) 1/2560

ชื่อ-สกุล..................................................................................รหัสประจาตัว........................................................
คณะ/สาขา ...................................................................................กลุม่ ........................เลขที่...............................

ใบงาน 3.2 : ระนาบในปริภูมิสามมิติ


1) จงหาสมการของระนาบที่ผ่านจุด P1 (3,2,1), P2 (4,1,5) และ P3 (2,4,3)
วิธีทา P1P2  i  j  4k และ 1 3  i  2 j  2k
PP

จะได้ N  P1P2  P1P3 เป็นเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกับทั้ง P1P2 และ P1P3

ดังนั้น N เป็นเวกเตอร์ตั้งฉากกับระนาบที่ต้องการ และ

i j k
N 1 1 4  10i  6 j  k
1 2 2

ดังนั้นสมการของระนาบที่ต้องการคือ 10 x  6 y  z  D  0

เนื่องจากระนาบผ่านจุด P1 (3,2,1) แสดงว่าจุด P1 (3,2,1) สอดคล้องกับสมการของระนาบ


ดังนั้น 10(3)  6(2)  (1)  D  0 นั่นคือ D  41

จะได้สมการของระนาบที่ต้องการคือ 10 x  6 y  z  41  0 หรือ 10x  6 y  z  41  0 #

2) จงหาระยะทางระหว่างระนาบ 1 : 2x  y  2z  4 และระนาบ 2 : 6x  3 y  6 z  2
2 1 2
วิธีทา เนื่องจาก   ดังนั้นระนาบ 1 และระนาบ 2 ขนานกัน
6 3 6

จะหาจุด 1 จุดบนระนาบ 1 : ให้ x z0 แทนลงในสมการของระนาบ 1 จะได้ y4 แสดงว่าจุด


P1 (0,4,0) เป็นจุดบนระนาบ 1

ดังนั้นระยะทางระหว่าง 1 และ 2 = ระยะทางระหว่างจุด P1 และระนาบ 2


6(0)  3(4)  6(0)  2 10
=  หน่วย #
36  9  36 9
วิชา 314 121 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาตร์กายภาพ 1 (Calculus for Physical Science I) 1/2560

3) จงหามุมแหลมระหว่างระนาบ 1 : x  2 y  2 z  11 และระนาบ 2 : 3x  4 y  5z  12


วิธีทา N1  i  2 j  2k และ N2  3i  4 j  5k เป็นเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกับระนาบ 1 และ 2 ตามลาดับ
ให้  เป็นมุมระหว่าง N1 และ N2 ดังนั้น  เป็นมุมระหว่างระนาบ 1 และ 2 ด้วย

จาก N1 N2  N1 N2 cos  จะได้ (1)(3)  (2)(4)  (2)(5)  1  4  4 9  16  25 cos 

15 1
ดังนั้น cos    (ค่า cos  เป็นลบ แสดงว่ามุม  เป็นมุมป้าน)
(3)(5 2) 2

จะได้   135 ดังนั้นมุมระหว่างระนาบอีกมุมหนึ่งคือ 180 135  45

จึงได้ว่ามุมแหลมระหว่างระนาบ 1 และ 2 คือ 45 #

4) จงหาสมการเส้นตรงในรูปอิงตัวแปรเสริม t ที่เกิดจากระนาบ 1 : x  y  z  1 ตัดกับระนาบ


2 : 3x  2 y  z  5

วิธีทา N1  i  j  k และ N2  3i  2 j  k เป็นเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกับระนาบ 1 และ 2 ตามลาดับ


ให้ v  N1  N 2 จะได้ v เป็นเวกเตอร์ที่ขนานกับเส้นตรงที่เกิดจากการตัดกันของระนาบ 1 และ 2

i j k
และ v 1 1 1  3i  2 j  5k
3 2 1

จะหาจุด 1 จุดที่อยู่บนเส้นรอยตัดของ 1 และ 2 : จุดดังกล่าวย่อมสอดคล้องกับทั้งสมการของ 1 และ 2


แทนค่า x0 ลงในสมการของ 1 และ 2 จะได้ y  z  1......(1) และ 2 y  z  5.......(2)

4 7
จากสมการที่ (1) และ (2) จะได้ y   , z 
3 3

ดังนั้นจุด P(0,  4 , 7 ) อยู่บนเส้นรอยตัดของระนาบ 1 และ 2 (จุด 4 7


P(0,  , ) จะอยู่บนระนาบ YZ ด้วย)
3 3 3 3

จะได้สมการรูปอิงตัวแปรเสริมของเส้นตรงที่เกิดจากการตัดกันของระนาบ 1 และ 2 คือ


4 7
x  3t , y    2t และ z  5t #
3 3
วิชา 314 121 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาตร์กายภาพ 1 (Calculus for Physical Science I) 1/2560

5) จงหาจุดตัดระหว่างเส้นตรง x  3  2t , y  1  3t และ z  4t ตัดกับระนาบ


3x  2 y  2 z  1  0

วิธีทา แทนค่า x  3  2t , y  1  3t และ z  4t ลงในสมการของระนาบที่กาหนดให้


จะได้ 3(3  2t )  2(1  3t )  2(4t )  1  0 ทาให้ได้ 4t  12  0 ดังนั้น t  3

แทนค่า t  3 ลงในสมการเส้นตรงที่กาหนดให้
จะได้ x  3  2(3)  3, y  1  3(3)  8 และ z  4(3)  12

ดังนั้นจุดตัดระหว่างเส้นตรงกับระนาบที่ต้องการคือ จุด (3, 8, 12) #

You might also like