You are on page 1of 206

สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

บทที่ 6 เรขาคณิ ต วิ เ คราะห์


6.1 ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับเรขาคณิตวิเคราะห์
6.1.1 ระยะทางระหว่ างจุดสองจุด
Y
หากจุด (x1 , y1) และ (x2 , y2) เป็ นจุด 2 จุด (x2 , y2)
ระนาบ XY และ d เป็ นระยะห่างระหว่างจุดทั้งสองนั้น y2 
เราสามารถหาระยะห่างระหว่างจุดทั้งสอง ( d ) ได้ดงั นี้ (x1 , y1) d
กรณีที่ 1 ถ้า x1 = x2 จะได้วา่ d =  y1 – y2  y1 
ถ้า y1 = y2 จะได้วา่ d =  x1 – x2  x1 x2 X
( คือนาคู่ที่ต่างกันมาลบกันแล้วถอดค่าสัมบูรณ์ )
กรณีที่ 2 ถ้า x1  x2 และ y1  y2
จะได้วา่ d = (x1  x 2 )2  (y1  y 2 )2
1. ระยะห่างระหว่างจุด 2 จุดต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับเท่าใด
( ก ) P1 (2 , 4 ) , P2 (2 , 7) ( ข ) P1 (3 , 7) , P2 (6 , 7)
1. ( ก ) 3 หน่วย ( ข ) 3 หน่วย 2. ( ก ) 3 หน่วย ( ข ) 0 หน่วย
3. ( ก ) 0 หน่วย ( ข ) 3 หน่วย 4. ( ก ) 0 หน่วย ( ข ) 0 หน่วย

2. ระยะห่างระหว่างจุด 2 จุดที่กาหนดให้ มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


( ก ) P1 (4 , 5) , P2 (1 , 1) ( ข ) P1 (7 , –3) , P2 (4 , –1)
1. ( ก ) 3 หน่วย ( ข ) 13 หน่วย 2. ( ก ) 3 หน่วย ( ข ) 3 หน่วย
3. ( ก ) 5 หน่วย ( ข ) 13 หน่วย 4. ( ก ) 5 หน่วย ( ข ) 3 หน่วย

1
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

6.1.2 จุดกึง่ กลางระหว่ างจุดสองจุด Y


หากจุด (x1 , y1) และ (x2 , y2) เป็ นจุด 2 จุด (x2 , y2)

ระนาบ XY และ ( x , y ) เป็ นจุดกึ่งกลางระหว่างจุดทั้ง 
สองนั้น เราสามารถหาจุดกึ่งกลาง ( x , y ) ได้ดงั นี้ x , y 
(x , y ) = 
x1+x2 y1+y2
2 , 2  (x1 ,y1)
X

3. วงกลมวงหนึ่ งมีจุดปลายเส้นผ่านศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (–4 , 6) และ (5 , –2) แล้วจุดศูนย์กลาง


วงกลมวงนี้คือข้อใดต่อไปนี้
1. ( 12 , 2 ) 2. (– 12 , 3 ) 3. ( 92 , 2 ) 4. (– 92 , 3 )

6.1.3 จุดซึ่งแบ่ งเส้ นตรงออกเป็ นอัตราส่ วนต่ างๆ


Y
หากจุด (x1 , y1) และ (x2 , y2) เป็ นจุด 2 จุด (x2 , y2)
ระนาบ XY และ ( x , y ) เป็ นจุดซึ่ งแบ่งเส้นตรงที่เชื่ อม m 2 
จุดสองจุดนั้น ออกเป็ นอัตราส่ วนความยาว m1 และ m2 m1 
x , y 
ดังรู ป เราสามารถหาจุดแบ่ง ( x , y ) ได้ดงั นี้ 
(x1 , y1)
m x  m x m y m y  X
( x , y ) =  1 2 2 1 , 1 2 2 1 
m1  m 2 m1  m 2
 

4. พิ กดั ของจุ ดแบ่งระหว่างจุ ด (1 , 2) และ (5 , 3) ซึ่ งแบ่ งระยะทางระหว่างจุ ด 2 จุดเป็ น


อัตราส่ วน 2 : 3 โดยจุดนี้อยูใ่ กล้จุด (5 , 3) มากกว่าจุด (1 , 2) พิกดั จุดดังกล่าวคือข้อใด
1. ( 172 , 132 ) 2. ( 3 , 25 ) 3. ( 175 , 135 ) 4. ( 3 , 132 )

2
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.1.4 ความชันของเส้ นตรง
เราสามารถหาความชันของเส้นตรงใด ๆ ได้จาก Y
y y (x2 , y2)
m = x2  x1 
2 1
เมื่อ m คือความชันเส้นตรง (x1 , y1)

(x1 , y1) , (x2 , y2) คือจุดที่เส้นตรงนั้นผ่าน  X

หรื อ m = tan
เมื่อ  คือมุมที่เส้นตรงเอียงกระทากับแกน + X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
5. เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 60 o จะมีความชันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 1.414 3. 1.732 4. 2

6. เส้นตรงที่ผา่ นจุดที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดต่อไปนี้มีความชันต่าที่สุด


1. (2 , 6) , (0 , 0) 2. (3 , 4) , (6 , –5) 3. (3 , 5) , (4 , 5) 4. (4 , 6) , (4 , 7)

6.1.5 เส้ นขนานและเส้ นตั้งฉาก


m1 m2
ทฤษฎีบทเกีย่ วกับเส้ นขนาน เส้นตรงสองเส้นที่
ไม่ขนานกับแกน Y จะขนานกัน ก็ต่อเมื่อความชัน m1 = m2
ของเส้นตรงทั้งสองเท่ากัน
m1
ทฤษฎีบทเกีย่ วกับเส้ นตั้งฉาก เส้นตรงสองเส้นที่ m2
ไม่ขนานกับแกน Y จะตั้งฉากกัน ก็ต่อเมื่อ ผลคูณของ
m1 m2 = –1
ความชันของเส้นตรงทั้งสองเท่ากับ –1
3
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
7. เส้นตรงที่ต้ งั ฉากกับเส้นตรงที่มีความชันต่อไปนี้ ในข้อมีความชันต่าที่สุด
1. 4 2. 43 3. 65 4. 14

มุมระหว่ างเส้ นตรง 2 เส้ นตัดกัน m2


หาได้จากสมการ
m m
tan  = 1  m สุ ดท้า ย เริ่มต้น 
.m
สุ ดท้าย เริ่มต้น
m1
เมื่อ  คือมุมที่วดั จากเส้นตรงความชัน mเริ่ มต้น
ทวนเข็มนาฬิกาไปถึงเส้นตรงที่มีความชัน mสุดท้าย

8. เส้ นตรง L1 มีความชัน –1 เส้นตรง L2 มีความชัน 0 มุ มซึ่ งวัดจากเส้ นตรง L1 ทวน


เข็มนาฬิกาไปถึงเส้นตรง L2 มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

6.1.6 ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรง


ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็ นเส้นตรง คือความสัมพันธ์ที่เมื่อนาไปเขียนกราฟ แล้วจะ
ได้กราฟเป็ นรู ปเส้นตรง
ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็ นเส้นตรงที่น่าสนใจในระดับนี้ มี 5 รู ปแบบ ได้แก่
ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรงรู ปแบบที่ 1
x=a
เมื่อ a คือ จานวนจริ งใด ๆ

4
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
สมบัติของเส้ นตรงทีเ่ ขียนได้ จากสมการนี้
1) เส้นตรงนี้จะขนานแกน Y
2) เส้นตรงนี้จะตัดแกน X ณ. จุดที่ x = a
ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรงรู ปแบบที่ 2
y=b
เมื่อ b คือ จานวนจริ งใด ๆ
สมบัติของเส้ นตรงทีเ่ ขียนได้ จากสมการนี้
1) เส้นตรงนี้จะขนานแกน X
2) เส้นตรงนี้จะตัดแกน Y ณ. จุดที่ y = b
ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรงรู ปแบบที่ 3
y – y1 = m (x – x1) (x1 , y1) m
เมื่อ m คือความชันเส้นตรง
(x1 , y1) คือจุดที่เส้นตรงนั้นผ่าน

9. เส้นตรงต่อไปนี้มีความชัน และผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้
ก. (y – 6) = 4 (x –8) ข. (y + 7) = 4 x
1. ก. 4 , (8 , 6) ข. 4 , (0 , –7) 2. ก. 4 , (0 , 6) ข. 4 , (8 , –7)
3. ก. 2 , (8 , 6) ข. 2 , (0 , –7) 4. ก. 2 , (0 , 6) ข. 2 , (8 , –7)

10. เส้นตรง 4 (y + 5) = 8 (x + 9) มีความชันและผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้


1. 8 , (–9 , –5) 2. 8 , (9 , 5)
3. 2 , (–9 , –5) 4. 2 , (9 , 5)

5
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
11. ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็ นเส้นตรงที่ผา่ นจุด (3 , 1) และมีความชัน 12 คือข้อใดต่อไปนี้
1. x – 2y – 1 = 0 2. x + 2y – 1 = 0
3. 2x – 4y – 1 = 0 4. 3x – 6y – 2 = 0

12. ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็ นเส้นตรงซึ่ งผ่านจุด (–1 , –4) และตั้งฉากกับเส้นตรงซึ่ งผ่านจุด


(–1 , 3) และ (–2 , –2) คือข้อใดต่อไปนี้
1. x – 5y + 21 = 0 2. x – 5y – 21 = 0
3. x + 5y + 21 = 0 4. x + 5y – 21 = 0

ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรงรู ปแบบที่ 4 Y


y = mx+C
เมื่อ m คือความชันเส้นตรง (0 , C)
C
C คือระยะตัดแกน Y
X

6
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
13. จากสมการเส้นตรงต่อไปนี้ จงหาความชันเส้นตรงและจุดตัดแกน Y
(ก) y = 4x+6 ( ข ) y = 23 x – 4
1. ( ก ) 4 , (6 , 0) ( ข ) 23 , (–4 , 0) 2. ( ก ) 4 , (0 , 6) ( ข ) 23 , (0 , –4)
3. ( ก ) –4 , (6 , 0) ( ข ) – 23 , (–4 , 0) 4. ( ก ) –4 , (0 , 6) ( ข ) – 23 , (0 , –4)

14. จากสมการเส้นตรง 4 y = 8 x – 4 จงหาความชันเส้นตรงและจุดตัดแกน Y


1. –2 , (–1 , 0) 2. –2 , (0 , –1) 3. 2 , (–1 , 0) 4. 2 , (0 , –1)

ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรงรู ปแบบที่ 5


Ax + By + C = 0
เมื่อ ความชัน (m) = – AB
15. ความชันของเส้นตรง 2x – 3y = 6 , จุดตัดแกน X และแกน Y คือข้อใดต่อไปนี้
1. 23 , (3 , 0) , (0 , –2) 2. 23 , (8 , 0) , (0 , –2)
3. 41 , (3 , 0) , (0 , –2) 4. 41 , (8 , 0) , (0 , –2)

7
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
16. ความชันของเส้นตรง x = 4 และจุดตัดแกน X และแกน Y คือข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , (4 , 0) , หาไม่ได้ 2. 0 , หาไม่ได้ , (0 , –2)
3. หาไม่ได้ , (4 , 0) , หาไม่ได้ 4. หาไม่ได้ , หาไม่ได้ , (0 , –2)

17. สมการเส้นตรงที่ผา่ นจุด (7 , 5 ) และขนานกับเส้นตรง x + 2y + 12 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. x + 2y + 17 = 0 2. x + 2y – 17 = 0v
3. x – 2y + 17 = 0 4. x – 2y – 17 = 0

18. สมการของเส้นตรงที่ผา่ นจุด (3 , 2) และตั้งฉากกับเส้นตรง x + 2 y + 12 = 0 คือข้อใด


ต่อไปนี้
1. 2x + y + 4 = 0 2. 2x + y – 4 = 0
3. 2x – y + 4 = 0 4. 2x – y – 4 = 0

8
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.1.7 ระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงกับจุด และระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงทีข่ นานกัน
ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง คือระยะ Ax + By + C = 0
(x1, y1)
ที่วดั จากจุดไปตกตั้งฉากกับเส้นตรง ระยะระหว่าง 
จุด (x1 , y1) ถึงเส้นตรง Ax + By + C = 0 คือ d
Ax By C
d  1 2 12
A B
19. ระยะระหว่างเส้นตรง 6 x – 8 y + 4 = 0 กับจุด (2 , –3) คือข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

ระยะระหว่างเส้นตรงที่ขนานกัน คือระยะ
ที่วดั จากเส้นตรงเส้นแรกไปตกตั้งฉากกับเส้นตรง
เส้นที่ 2 ระยะระหว่างเส้นตรง Ax + By + C1 = 0
กับเส้นตรง Ax + By + C2 = 0 คือ
CC
d= 1 2
A2  B2
20. ระยะระหว่างเส้นคู่ขนาน 3x – 4y – 7 = 0 , 6x – 8y + 16 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

9
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.2 ภาคตัดกรวย
6.2.1 วงกลม
วงกลม (circle ) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบที่ห่ างจากจุดจุดหนึ่ งที่ตรึ งอยู่กบั ที่
เป็ นระยะทางคงตัว จุดที่ตรึ งอยูก่ บั ที่น้ ีเรี ยกว่า จุดศู นย์ กลาง (center) ของวงกลม และระยะทาง
คงตัวดังกล่าวเรี ยกว่ารัศมี (radius) ของวงกลม
สมการวงกลมรู ปแบบมาตรฐานคือ
(x – h)2 + (y – k)2 = r2 r

เมื่อ (h , k) คือจุดศูนย์กลางวงกลม (h , k)
r คือรัศมีวงกลม

21. วงกลมต่อไปนี้มีจุดศูนย์กลาง ( C ) และรัศมี ( r ) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


ก) (x , y)  ( x – 3)2 + (y – 4)2 = 49 ข) (x , y)  x2 + (y + 5)2 = 6
1. ก) C = (3 , 4) , r = 49 ข) C = (0 , –5) , r = 6
2. ก) C = (3 , 4) , r = 7 ข) C = (0 , –5) , r = 6
3. ก) C = (–3 , –4) , r = 49 ข) C = (0 , 5) , r = 6
4. ก) C = (–3 , –4) , r = 7 ข) C = (0 , 5) , r = 6

10
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
22. วงกลมต่อไปนี้มีจุดศูนย์กลาง ( C ) และรัศมี ( r ) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ก) (x , y)  x2 + y2 = 4 ข) (x , y)  4 x2 + 4 (y + 2)2 = 25
1. ก) C = (0 , 0) , r = 4 ข) C = (0 , –2) , r = 254
2. ก) C = (0 , 0) , r = 4 ข) C = (0 , 2) , r = 254
3. ก) C = (0 , 0) , r = 2 ข) C = (0 , –2) , r = 25
4. ก) C = (0 , 0) , r = 2 ข) C = (0 , 2) , r = 25

23. วงกลม ( x , y)  x2 + y2 – 6x + 4y – 3 = 0  มีจุดศูนย์กลาง( C ) และรัศมี ( r ) ตรงกับ


ข้อใดต่อไปนี้
1. C = (–3 , 2) , r = 4 2. C = (–3 , 2) , r = 8
3. C = (3 , –2) , r = 4 4. C = (3 , –2) , r = 8

24. วงกลม ( x , y)  x2 + y2 + 4y = 0 มีจุดศูนย์กลาง( C ) และรัศมี ( r ) ตรงกับข้อใด


1. C = (0 , –2) , r = 4 2. C = (0 , –2) , r = 2
3. C = (0 , 2) , r = 4 4. C = (0 , 2) , r = 2

11
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

ขั้นตอนการหาสมการวงกลม
1) หาค่า h , k จากจุดศูนย์กลางวงกลม และ r จากรัศมีวงกลม
2) นาค่า h , k , r ที่ได้แทนค่าลงในสมการวงกลมรู ปมาตรฐาน
(x – h)2 + (y – k)2 = r2
25. จงหาสมการของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ ( 2 , –1 ) และรัศมีเท่ากับ 3
1. x2 + y2 – 4x + 2y + 4 = 0 2. x2 + y2 – 4x + 2y + 12 = 0
3. x2 + y2 – 4x + 2y – 4 = 0 4. x2 + y2 – 4x + 2y – 12 = 0

26(แนว Pat1) ให้ a , b และ c เป็ นจานวนจริ ง ถ้าวงกลม x2 + y2 + ax + by + c = 0 มีจุดศูนย์


กลางที่ (2 , 1) และมีเส้นตรง x – y + 2 = 0 เป็ นเส้นสัมผัสวงกลมแล้วa b cเท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 8 3. 10 4. 15

12
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.2.2 พาราโบลา
พาราโบลา (parabola) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่ งห่ างจากจุด F ที่ตรึ งอยูก่ บั จุด
หนึ่ งและเส้นตรง l ที่ตรึ งอยู่กบั ที่อีกเส้นหนึ่ งเป็ นระยะทางเท่ากัน จุดที่ตรึ งอยูก่ บั ที่น้ ี เรี ยกว่า
โฟกัส และเส้นตรงที่ตรึ งอยูก่ บั ที่น้ ีเรี ยกว่าเส้ นบังคับ หรือไดเรกตริกซ์ ของพาราโบลา
สมการพาราโบลารู ปแบบมาตรฐานมี 2 รู ปแบบ ได้แก่
รู ปแบบที่ 1 (x – h)2 = 4 c (y – k)
Y
สมการแบบนี้ เมื่อนาไปเขียนกราฟ จะได้
จุดโฟกัส (F) = ( h , k+c )
กราฟเป็ นรู ปเส้นโค้งเรี ยกเส้นโค้งพาราโบลาซึ่ง k+c เลตัสเรกตัม
อาจจะหงายหรื อคว่าก็ได้ ขึ้นกับค่า c กล่าวคือ
l1 ยาว = | 4c |
c
ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะหงาย k
จุดยอด (A) = ( h , k )
ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะคว่า l2 c
เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ปในแนวดิ่ง เรี ยก
k–c
แกนสมมาตร เส้ นไดเรกตริกซ์
y = k – c แกนสมมาตร
จุดวกกลับของเส้นโค้งเรี ยก จุดยอด (A) h X
ซึ่งหาพิกดั ได้จาก จุดยอด (A) = ( h , k )
จุดบนแกนสมมาตรในพื้ นที่เส้นโค้งล้อมห่ างจากจุดวกกลับเป็ นระยะเท่ากับ c เรี ยกจุ ด
โฟกัส ซึ่ งหาพิกดั ได้จาก จุดโฟกัส (F) = ( h , k+c )
เส้นตรงซึ่ งตั้งฉากกับแกนสมมาตรอยูด่ า้ นตรงกันข้ามกับจุดโฟกัสและห่ างจากจุดวกกลับ
เป็ นระยะเท่ากับ c เรี ยกเส้นบังคับ หรื อไดเรกตริ กซ์ ซึ่ งหาสมการเส้นนี้ ได้จาก y = k – c
เส้นตรงที่ลากตั้งฉากแกนสมมาตรผ่านจุดโฟกัสไปยังเส้นโค้งพาราโบลาทั้งสองซี ก เรี ยก
เลตัสเรกตัม ( latus rectum ) เส้นนี้ จะมีความยาวเท่ากับ | 4 c |
ความพิเศษของพาราโบลาคือ ถ้าลากเส้นตรงจากจุดโฟกัสไปตัดเส้นโค้งพาราโบลา ณ.
จุ ด ใดๆ ก็ ไ ด้ ให้ เป็ นเส้ น ตรง l1 แล้ ว ลากเส้ น ตรงจากจุ ด ตัด เส้ น โค้ง นี้ ไปตั้ง ฉากกับ เส้ น
ไดเรกตริ กซ์ ให้เป็ นเส้นตรง l2 จะได้วา่ ความยาวของเส้นตรง l1 กับ l2 จะยาวเท่ากันเสมอ

13
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
รู ปแบบที่ 2 (y – k)2 = 4 c (x – h) Y
สมการแบบนี้ เมื่อนาไปเขียนกราฟ จะได้
กราฟเป็ นรู ปเส้นโค้งพาราโบลาซึ่งอาจจะตะแคง เลตัสเรกตัม
ยาว = | 4c |
เปิ ดไปด้านขวา หรื อด้านซ้ายก็ได้ ขึ้นกับค่า c
k c c แกนสมมาตร
กล่าวคือ A = ( h , k) F = ( h+c , k)
ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะเปิ ดขวา
ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะเปิ ดซ้าย ไดเรกตริ กซ์
x=h–c
เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ปในแนวนอน เรี ยก h–c h h+c X
แกนสมมาตร
จุดยอด (A) หาพิกดั ได้จาก จุดยอด (A) = ( h , k )
จุดโฟกัส (F) หาพิกดั ได้จาก จุดโฟกัส (F) = ( h+c , k )
หาสมการไดเรกตริ กซ์ ได้จาก x = h – c
ความยาวเลตัสเรกตัม = | 4 c |

ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้อง


(x – h)2 = 4 c (y – k) (y – k)2 = 4 c (x – h)
Y Y
จุด..............
เส้ น................ เส้ น.....................

แกน....................
จุด...................... จุด.......... จุด.............
เส้
เส้น...................
เส้ น...................
แกน...............
X
X

14
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
Y (x – h)2 = 4 c (y – k) (y – k)2 = 4 c (x – h)
Y
F = ..............
เลตัสยาว = ........ เลตัสยาว = ........

A = .................... A = .............. F = ..............

ไดเรกตริกซ์ หาจาก
ไดเรกตริกซ์ หาจาก .......................
.....................
X
X
สรุ ปเกีย่ วกับสมการพาราโบลารู ปมาตรฐาน
รู ปแบบที่ 1 (x – h)2 = 4 c (y – k) รู ปแบบที่ 2 (y – k)2 = 4 c (x – h)
Y
Y
จุดโฟกัส (F) = ( h , k+c )
k+c
l1 เลตัสเรกตัม เลตัสเรกตัม
ยาว = | 4c |
c ยาว = | 4c |
k c c แกนสมมาตร
จุดยอด (A) = ( h , k ) k
l2 c A = ( h , k) F = ( h+c , k)

k–c ไดเรกตริ กซ์


เส้ นไดเรกตริกซ์
y=k–c x=h–c
แกนสมมาตร
h X h–c h h+c X
@ ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะหงาย @ ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะเปิ ดขวา
ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะคว่า ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะเปิ ดซ้าย
@ จุดยอด (A) = ( h , k ) @ จุดยอด (A) = ( h , k )
@ จุดโฟกัส (F) = ( h , k+c ) @ จุดโฟกัส (F) = ( h+c , k )
@ สมการเส้นแรกตริ กซ์หาจาก y = k – c @ สมการไดเรกตริ กซ์หาจาก x = h – c
@ ความยาวเลตัสเรกตัม = | 4 c | @ ความยาวเลตัสเรกตัม = | 4 c |
15
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จงหาจุดยอด จุดโฟกัส สมการไดเรกติก และความยาวเลตัส จากสมการพาราต่อไปนี้
1. ( x – 7 )2 = 12 ( y – 5 ) 2. y2 = 6 ( x + 4 ) 3. x2 = 8 y

สมการพาราโบลารู ปทัว่ ไปมี 2 รู ปแบบ ได้แก่


รู ปแบบที่ 1 Ax2 + Dx + Ey + F = 0
รู ปแบบที่ 2 Cy2 + Dx + Ey + F = 0
จากสมการพาราโบลารู ปทัว่ ไปทั้งสองแบบนี้เราสามารถหาค่าต่างๆ ของพาราโบลาได้ดงั นี้
วิธีที่ 1 เปลี่ยนสมการจากรู ปทัว่ ไปให้เป็ นรู ปมาตรฐาน โดยใช้วิธีกาลังสองสัมบูรณ์ แล้ว
จึงหาค่าต่างๆ ของพาราโบลาจากสมการรู ปมาตรฐานนั้น ดังแสดงในโจทย์ถดั ไป
วิธีที่ 2 ใช้สูตรลัดต่อไปนี้
จากสมการรู ปแบบที่ 1 Ax2 + Dx + Ey + F = 0
หาค่า h ได้จาก h = D2 A
หาค่า k ได้โดยแทนค่า x ในสมการรู ปแบบที่ 1 ด้วยค่า h ที่ หามาได้ แล้วแก้
สมการหาค่า y ค่า k จะมีค่าเท่ากับค่า y ที่คานวณได้น้ นั เสมอ
16
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
หาค่า c ได้จาก c = 4E A
ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะหงาย , ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะคว่า
สุ ดท้าย จุดยอด (A) = ( h , k )
จุดโฟกัส (F) = ( h , k+c )
สมการเส้นแรกตริ กซ์หาจาก y = k – c
ความยาวเลตัสเรกตัม = | 4 c |
จากสมการรู ปแบบที่ 2 Cy2 + Dx + Ey + F = 0
หาค่า k ได้จาก k = E2 C
หาค่า h ได้โดยแทนค่า y ในสมการรู ปแบบที่ 2 ด้วยค่า k ที่ หามาได้ แล้วแก้
สมการหาค่า x ค่า h จะมีค่าเท่ากับค่า x ที่คานวณได้น้ นั เสมอ
หาค่า c ได้จาก c = D4 C
ถ้า c มีค่าเป็ นบวกเส้นโค้งจะเปิ ดขวา , ถ้า c มีค่าเป็ นลบเส้นโค้งจะเปิ ดซ้าย
สุ ดท้าย จุดยอด (A) = ( h , k )
จุดโฟกัส (F) = ( h + c , k )
สมการเส้นแรกตริ กซ์หาจาก x = h – c
ความยาวเลตัสเรกตัม = | 4 c |
ฝึ กทา จงหาจุดยอด จุดโฟกัส สมการไดเรกติกและความยาวเลตัส จากสมการพาราต่อไปนี้
1. y2 – 6y – 4x – 3 = 0 2. 2x2 – 12x – 16y + 66 = 0

17
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
27. พาราโบลา y = x42 + x + A มีกราฟผ่านจุด (2 , 0) จุดโฟกัสของพาราโบลานี้ คือ
1. ( –2 , –3) 2. ( –2 , 3) 3. ( 2 , –3) 4. ( 2 , 3)

ขั้นตอนการหาสมการพาราโบลา
1) เขียนรู ปเส้นโค้งพาราโบลาคร่ าวๆ แล้วเลือกใช้สมการมาตรฐาน โดย
ถ้าเส้นโค้งคว่าหรื อหงายให้ใช้สมการ (x – h)2 = 4 c (y – k)
ถ้าเส้นโค้งตะแคงให้ใช้สมการ (y – k)2 = 4 c (x – h)
2) หาค่า h , k จากจุดยอด และหาค่า c
( c คือระยะห่างจากจุดยอดถึงจุดโฟกัส หรื อจากจุดยอดไปตั้งฉากกับเส้นไดเรกตริ กซ์ )
ระวังว่า ถ้ากราฟคว่า หรื อ ตะแคงเปิ ดซ้าย c จะมีค่าเป็ นลบ
ถ้ากราฟหงาย หรื อ ตะแคงเปิ ดขวา c จะมีค่าเป็ นบวก
3) แทนค่า h , k , c ลงในสมการมาตรฐานที่เลือก แล้วทาสมการให้อยูใ่ นรู ปทัว่ ไป
28. สมการของพาราโบลาซึ่งมีจุดยอดอยูท่ ี่ (3 , 4) และจุดโฟกัสอยูท่ ี่ (1 , 4) คือข้อใดต่อไปนี้
1. y2 + 8x – 8y – 8 = 0 2. y2 + 6x – 8y – 6 = 0
3. y2 + 8x – 8y + 8 = 0 4. y2 + 6x – 8y + 6 = 0

18
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
29. สมการของพาราโบลาซึ่ งมีไดเรกตริ ก คือเส้นตรง y = –4 และโฟกัสอยู่ที่จุด (2 , –2 ) คือ
ข้อใดต่อไปนี้
1. x2 – 4x – 4y – 8 = 0 2. x2 – 8x – 8y – 8 = 0
3. x2 – 4x – 4y + 8 = 0 4. x2 – 8x – 8y + 8 = 0

30(แนว En) ให้ C เป็ นวงกลม x2 + y2 – 2x – 4y – 20 = 0 มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด ( h , k )


และมีรัศมี r และ P เป็ นพาราโบลาซึ่งมี (h , k) เป็ นจุดยอดและ x = r แล้วจุดในข้อใด
ต่อไปนี้ อยูบ่ น P
1. (6 , 0) 2. (4 , 0) 3. (0 , 6) 4. (0 , 4)

19
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.2.3 วงรี
วงรี (ellipse ) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่ งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆ ไปยัง
จุด F1 และ F2 ที่ตรึ งอยูก่ บั ที่มีค่าคงตัว โดยค่าคงตัวนี้ ตอ้ งมากกว่าระยะห่ างระหว่างจุดที่ตรึ ง
อยูก่ บั ที่ท้ งั สองจุดนั้น จุดสองจุดที่ตรึ งอยูก่ บั ที่น้ ีเรี ยกว่าโฟกัส ของวงรี
สมการวงรี รูปแบบมาตรฐานมี 2 รู ปแบบ ได้แก่
2
รู ปแบบที่ 1 ( x 2h )2  ( y 2k )  1
a b
สมการแบบนี้ เมื่อนาไปเขียนกราฟ จะได้กราฟเป็ นรู ปวงรี วางตัวยาวไปตามแนวราบ
Y
แกนโท
l1 l2
C=(h,k) * แกนเอก
*
A/=( h–a ,k) F/=( h–c , k ) F=( h+c , k ) A=( h+a , k )

X
เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ปตามแนวยาว เรี ยก แกนเอก ซึ่งจะมีความยาว = 2a
เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ปตามแนวกว้าง เรี ยก แกนโท ซึ่งจะมีความยาว = 2b
จุดตัดแกนเอกและแกนโทจะเป็ นจุดศูนย์กลางวงรี ซึ่งหาพิก ดั ได้จาก C = ( h , k )
ปลายแกนเอกทั้งด้านซ้ายและขวาจะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเท่ากับ a เท่ากัน เรี ยกจุด
ปลายนี้วา่ จุดยอด ซึ่ งหาพิกดั ได้จาก A = ( h+a , k ) และ A/ = ( h–a , k )
ปลายแกนโททั้งด้านบนและล่างอยูห่ ่างจากจุดศูนย์กลางเท่ากับ b เท่ากัน
มีจุด 2 จุดอยูบ่ นแกนเอกห่ างจากจุดศูนย์กลางไปทางด้านซ้ายและขวาเท่ากับ c เท่ากัน
จุดทั้งสองนี้เรี ยกจุด โฟกัส ซึ่ งหาพิกดั ได้จาก F = ( h+c , k ) และ F/ = ( h–c , k )
เมื่อ c2 = a2 – b2
หากลากเส้นตรงจากจุ ดโฟกัสแรก F ไปยังจุดบนเส้ นโค้งวงรี ณ.จุดใดๆ ก็ได้ ให้เป็ น
เส้นตรง l1 แล้วลากเส้นตรงจากจุดตัดเส้ นโค้งนี้ ไปยังจุดโฟกัสที่ เหลื อ F/ ให้เป็ นเส้นตรง l2
จะได้วา่ ความยาวของเส้นตรง l1 + l2 จะมีค่าคงที่เสมอ เรี ยกค่าคงที่น้ ี วา่ ผลบวกคงตัวซึ่ งจะมี
ค่าเท่ากับ 2a เสมอ
20
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
2
รู ปแบบที่ 2 ( y 2k )  ( x 2h )2  1
a b
สมการแบบนี้ เมื่อนาไปเขียนกราฟ จะได้กราฟเป็ นรู ปวงรี วางตัวยาวตามแนวดิ ่ง
Y แกนเอก A=( h , k+a )

* F=( h , k+c )

C=( h , k
แกนโท

* F/=( h , k–c )

A/=( h , k–a ) X

@ แกนเอกขนานแกน y มีความยาวเท่ากับ 2a
@ แกนโทขนานแกน x มีความยาวเท่ากับ 2b
@ จุดศูนย์กลาง = ( h , k)
@ จุดยอด A = ( h , k+a) และ A/ = ( h , k – a)
@ จุดโฟกัส F = ( h , k+c) และ F/ = ( h , k – c)
@ ผลบวกคงตัว = 2 a

เกีย่ วกับวงรีท้งั สองแบบ


1. a2  b2 เสมอ
2. c2 = a2 – b2 e = 0.95
เมื่อ c = ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางถึงโฟกัส
3. ความเยื้องศูนย์กลาง (e) = ac
3.1 0 < e < 1 e = 0.1
3.2 ถ้า e มีค่ามาก วงรี จะมีความรี มาก
ถ้า e มีค่าน้อย วงรี จะมีความรี นอ้ ย คือเกือบกลม

21
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
( x  h )2  ( y  k )2  1 ( y  k )2  ( x  h )2  1
a2 b2 a2 b2
แกน....... จุด.....
จุด.....
จุด......... แกน........ แกน.....
*
จุด......... จุด......... จุด.........* จุด......... จุด.....
แกน.......

จุด.....
จุด.....
สรุ ปเกีย่ วกับสมการวงรีรูปมาตรฐาน
2 2
รู ปแบบที่ 1 ( x 2h )2  ( y 2k )  1 รู ปแบบที่ 2 ( y 2k )  ( x 2h )2  1
a b a b
A=( h , k+a )
แกนโท F=( h , k+c )
แกนเอก C = ( h , k ) A=( h+a ,k )
A/=( h–a , k ) F/=( h–c ,k ) F=( h+c ,k ) แกนเอก
C=( h , k)
แกนโท

F/=( h , k–c )
A/=( h , k–a )
@ แกนเอกขนานแกน X ยาวเท่ากับ 2a @ แกนเอกขนานแกน Y ยาวเท่ากับ 2a
@ แกนโทขนานแกน Y ยาวเท่ากับ 2b @ แกนโทขนานแกน X ยาวเท่ากับ 2b
@ จุดศูนย์กลาง C = ( h , k) @ จุดศูนย์กลาง C = ( h , k)
@ จุดยอด A = ( h + a , k) @ จุดยอด A = ( h , k + a)
และ A/ = ( h – a , k) และ A/ = ( h , k – a)
@ จุดโฟกัส F = ( h + c , k) @ จุดโฟกัส F = ( h , k + c)
และ F/ = ( h – c , k) และ F/ = ( h , k – c)
@ ผลบวกคงตัว = 2 a @ ผลบวกคงตัว = 2 a
22
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
( x  h )2  ( y  k )2  1 ( y  k )2  ( x  h )2  1
a2 b2 a2 b2
A=.......
F=.......
C = ……
*
A/=........ F/=......... F=.........* A=.........
C=......

F/=.......
A/=.......
ฝึ กทา จากสมการวงรี ต่อไปนี้ จงหาจุดศูนย์กลาง จุดโฟกัส จุดยอดความยาวแกนเอก ความยาว
แกนโท ผลบวกคงตัวของระยะจากจุดใดๆ ไปยังโฟกัสทั้งสอง และความเยื้องศูนย์กลาง
2 2
1. (x  23) + (y  25) = 1 2. 16 x2 + 25 (y + 7)2 = 400
8 10

23
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
สมการวงรี รูปทัว่ ไป คือ
Ax2 + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 เมื่อ A.C > 0
จากสมการวงรี รูปทัว่ ไป สามารถเปลี่ยนให้เป็ นรู ปมาตรฐานได้ 2 วิธี ได้แก่
วิธีที่ 1 ใช้กาลังสองสัมบูรณ์ ดังแสดงในโจทย์ตวั อย่างถัดไป
วิธีที่ 2 ใช้สูตรลัดตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 หาจุดศูนย์กลางวงรี ( h , k) โดย
h = D2 A และ k = E2 C
ขั้นที่ 2 ตรวจสอบค่า Ah2 + Ck2 – F
ถ้า Ah2 + Ck2 – F < 0 สมการนี้ไม่ใช่สมการวงรี
ถ้า Ah2 + Ck2 – F > 0 สมการนี้เป็ นสมการวงรี
ขั้นที่ 3 กรณีที่ 1 ถ้า A.C = Ah2 + Ck2 – F
เขียนสมการรู ปมาตรฐานโดยไขว้สัมประสิ ทธิ์ ของ x2 (A) กับสัมประสิ ทธิ์
ของ y2 (C) ไปเป็ นตัวหารของเทอม (x – h)2 กับ (y – k)2 ดังนี้
( x  h )2  ( y  k )2  1
C A
ควรเปรี ยบค่าของ A กับ C ว่าค่าไหนมากกว่ากัน
และ a2 = ค่าของตัวที่มากกว่าของ A กับ C
b2 = ค่าของตัวที่นอ้ ยกว่าของ A กับ C
กรณีที่ 2 ถ้า A.C  Ah2 + Ck2 – F
เขียนสมการรู ปมาตรฐานจะได้ดงั นี้
( x  h )2  ( y  k )2 1
 2 2   2 2 
 Ah  Ck  F   Ah  Ck  F 
 A   C 
   
ควรเปรี ยบค่า  Ah2 ACk2 F  กับ  Ah2 CCk2 F  ว่าค่าไหนมากกว่ากัน
   
และ a2 = ค่าของตัวที่มากกว่าของ  Ah ACk F  กับ  Ah2 CCk2 F 
2 2
   
b2 = ค่าของตัวที่นอ้ ยกว่าของ  Ah2 ACk2 F  กับ  Ah2 CCk2 F 
   

24
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จากสมการวงรี ต่อไปนี้ จงหาจุดศูนย์กลาง จุดโฟกัส จุดยอดความยาวแกนเอก ความยาว
แกนโท ผลบวกคงตัวของระยะจากจุดใดๆ ไปยังโฟกัสทั้งสอง และความเยื้องศูนย์กลาง
1. 9x2 + y2 – 18x – 6y + 9 = 0 2. 4x2 + 9y2 – 48x – 72y + 144 = 0

31(แนว En) พื้นที่ของสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็ นจุดกาเนิด และจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี


x2 + 2y2 +4x – 4y – 2 = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด

25
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ขั้นตอนการหาสมการวงรี
1) วาดรู ปวงรี คร่ าว ๆ แล้วเลือกใช้สมการวงรี โดย
2
หากวงรี วางตัวอยูใ่ นแนวนอนใช้สมการ ( x 2h )2  ( y 2k )  1
a b
หากวงรี วางตัวอยูใ่ นแนวดิ่งใช้สมการ ( y  k )2  ( x  h )2  1
a2 b2
2) ต้องหาค่า h , k ซึ่งอาจหาได้จากจุดศูนย์กลาง
และค่า a , b ซึ่งอาจหาได้จาก
ความยาวแกนเอก = 2a
ความยาวแกนโท = 2b
ผลบวกคงตัว = 2a
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) = ac
c 2 = a2 – b2
เมื่อ c คือระยะห่างจากจุดศูนย์กลางถึงจุดโฟกัส
3) นาค่า h , k , a , b แทนลงในสมการที่เลือกใช้ แล้วทาสมการให้อยูใ่ นรู ปทัว่ ไป
32. สมการวงรี ซ่ ึงมีโฟกัสหนึ่งอยูท่ ี่ (–8 , 1) แกนโทยาว 4 หน่วย จุดศูนย์กลางคือ (0 , 1) คือ
ข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + 17y2 – 34y – 51 = 0 2. x2 + 17y2 – 34y + 51 = 0
3. y2 + 17x2 – 34x – 51 = 0 4. y2 + 17x2 – 34x + 51 = 0

26
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
33. สมการวงรี ซ่ ึ งมีจุด โฟกัสหนึ่ งอยู่ที่ (3 , 3) จุดศูนย์กลางอยู่บนแกน Y จุดยอดหนึ่ งอยู่ที่
(–5 , 3) คือข้อใดต่อไปนี้
1. 16x2 + 25y2 –150y – 50 = 0 2. 16x2 + 25y2 – 150y – 175 = 0
3. 16y2 + 25x2 –150x + 50 = 0 4. 16y2 + 25x2 – 150x + 175 = 0

34. สมการวงรี ซ่ ึงมีโฟกัสอยูท่ ี่ (0 , 2) และ (0 , –2) ผลบวกคงตัวเท่ากับ 6 คือข้อใดต่อไปนี้


1. 5x2 + 9y2 – 45 = 0 2. 5x2 + 9y2 + 45 = 0
3. 5y2 + 9x2 – 45 = 0 4. 5y2 + 9x2 + 45 = 0

27
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
35(แนว PAT1) วงรี รูปหนึ่งมีโฟกัสอยูท่ ี่จุด (3 , 0) และผ่านจุด (2 , 221 ) จุดในข้อใดต่อไปนี้
อยูบ่ นวงรี ที่กาหนด
1. (–4 , 0) 2. (0 , 5 2 2 ) 3. (6 , 0) 4.(0 , –3 2 )

6.2.4 ไฮเพอร์ โบลา


ไฮเพอร์ โบลา (hyperbolae ) คือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่ งผลต่างของระยะทาง
จากจุดใดๆ ไปยังจุด F1 และ F2 ที่ตรึ งอยูก่ บั ที่มีค่าคงตัว โดยค่าคงตัวนี้ ตอ้ งน้อยกว่าระยะห่าง
ระหว่างจุดที่ตรึ งอยูก่ บั ที่ท้ งั สอง จุดสองจุดที่ตรึ งอยูก่ บั ที่น้ ีเรี ยกว่าโฟกัส ของไฮเพอร์โบลา
สมการไฮเพอร์โบลารู ปแบบมาตรฐานมี 2 รู ปแบบ ได้แก่
2
รู ปแบบที่ 1 ( x 2h )2  ( y 2k )  1
a b
เมื่อเขียนกราฟ จะได้กราฟเป็ นรู ปไฮเพอร์โบลาวางตัวเปิ ดไปตามแนวราบ
Y
เส้นกากับ
l1
l2
/
F =( h–c , k ) C=( h , k ) F=( h+c , k )
* *
A/=( h–a , k ) แกนตามขวาง A=( h+a , k )
แกนสังยุค
เส้นกากับ X

เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ปตามแนวขวางกลางรู ป เชื่อมระหว่างจุดวกกลับของเส้นโค้งทั้งสอง


ด้าน เรี ยก แกนตามขวาง ซึ่ งจะมีความยาว = 2a
28
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
เส้นตรงที่แบ่งครึ่ งรู ป และตั้งฉากกับแกนตามขวางเรี ยก แกนสั งยุค ซึ่งจะมีความยาว = 2b
จุดตัดแกนตามขวางและแกนสังยุคจะเป็ นจุดศูนย์กลางไฮเพอร์ โบลา ซึ่ งหาพิก ดั ได้จาก
C=(h,k)
จุดวกกลับ ของเส้ นโค้ง ทั้งด้านซ้ายและขวาจะอยู่ตรงปลายแกนตามขวาง ห่ างจากจุ ด
ศูนย์กลางเท่ากับ a เท่ากัน เรี ยกจุดยอด หาพิกดั ได้จาก A = ( h+a , k ) และ A/ = ( h–a , k )
มีจุด 2 จุดอยูใ่ นแนวแกนตามขวางห่างจากจุดศูนย์กลางไปทางด้านซ้ายและขวาเท่ากับ c
เท่ากัน จุดทั้งสองนี้เรี ยกจุดโฟกัส ซึ่ งหาพิกดั ได้จาก F = ( h+c , k ) และ F/ = ( h–c , k )
เมื่อ c2 = a2 + b2
หากลากเส้นตรงจากจุดโฟกัสแรก F ไปยังจุดบนเส้นโค้ง ไฮเพอร์ โบลา ณ.จุดใดๆ ก็ได้
ให้ เป็ นเส้ น ตรง l1 แล้ว ลากเส้ น ตรงจากจุ ด ตัด เส้ น โค้ง นี้ ไปยัง จุ ด โฟกัส ที่ เหลื อ F/ ให้เป็ น
เส้ น ตรง l2 จะได้ว่า l1 – l2 จะมี ค่ าคงที่ เสมอ เรี ย กค่ าคงที่ น้ ี ว่าผลต่ างคงตัวซึ่ งจะมี ค่ า
เท่ากับ 2a เสมอ
เส้นทะแยงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางไปสัมผัสเส้นโค้งไฮเพอร์ โบลาเรี ยกเส้นก ากับ ซึ่ งหา
สมการเส้นกากับได้จาก ( y – k ) =  ba ( x – h )
2
รู ปแบบที่ 2 ( y 2k )  ( x 2h )2  1
a b
เมื่อเขียนกราฟ จะได้กราฟเป็ นรู ปไฮเพอร์โบลาวางตัวเปิ ดไปตามแนวดิ ่ง

Y เส้นกากับ เส้นกากับ
แกนตามขวาง
* F=( h , k+c )
A=( h , k–a )

แกนสังยุค C=( h , k )

A/=( h , k–a )

* F/=( h , k–c
X

29
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
@ แกนตามขวางขนานแกน y มีความยาวเท่ากับ 2a
@ แกนสังยุคขนานแกน x มีความยาวเท่ากับ 2b
@ จุดศูนย์กลาง = ( h , k)
@ จุดยอด A = ( h , k+a) และ A/ = ( h , k–a)
@ จุดโฟกัส F = ( h , k+c) และ F/ = ( h , k–c)
@ ผลต่างคงตัว = 2 a
@ สมการเส้นกากับหาได้จาก ( y – k ) =  ab ( x – h )
เงื่อนไขของสมการไฮเพอร์ โบลาทั้งสองกรณี
c2 = a 2 + b 2
เมื่อ c = ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางถึงโฟกัส

ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้อง


( x  h )2  ( y  k )2  1 ( y  k ) 2  ( x  h )2  1
a2 b2 a2 b2

เส้น............... เส้น...............
เส้น...............
จุด...............
จุด...............
จุด............... แกน.............. จุด...............
จุด............... จุด............... จุด............... แกน..............
จุด...............
แกน....... แกน.......
เส้น............... จุด...............
จุด...............

30
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรในรู ปต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
( x  h )2  ( y  k )2  1 ( y  k ) 2  ( x  h )2  1
a2 b2 a2 b2

F=.......
F/=......... C = …… F=......... A=.......
A/=........ A=......... C=......

A/=.......
F/=.......
สรุ ปเกีย่ วกับสมการไฮเพอร์ โบลารู ปมาตรฐาน
2 2
รู ปแบบที่ 1 ( x 2h )2  ( y 2k )  1 รู ปแบบที่ 2 ( y 2k )  ( x 2h )2  1
a b a b

F=( h , k+c )
A=( h , k+a )
F/=( h–c ,k ) C=(h,k) F=( h+c ,k )
A/=( h–a , k ) A=( h+a ,k ) C=( h , k)

A/=( h , k–a )
F/=( h , k–c )

@ แกนตามขวางขนานแกน X ยาวเท่ากับ 2a @ แกนตามขวางขนานแกน Y ยาวเท่ากับ 2a


@ แกนสังยุคขนานแกน Y ยาวเท่ากับ 2b @ แกนสังยุคขนานแกน X ยาวเท่ากับ 2b
@ จุดศูนย์กลาง C = ( h , k) @ จุดศูนย์กลาง C = ( h , k)
@ จุดยอด A = ( h + a , k) @ จุดยอด A = ( h , k + a)
และ A/ = ( h – a , k) และ A/ = ( h , k – a)
@ จุดโฟกัส F = ( h + c , k) @ จุดโฟกัส F = ( h , k + c)
และ F/ = ( h – c , k) และ F/ = ( h , k – c)
@ ผลต่างคงตัว = 2 a @ ผลต่างคงตัว = 2 a
@ สมการเส้นกากับ ( y – k ) =  ba ( x – h ) @ สมการเส้นกากับ ( y – k ) =  ab ( x – h )
31
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
เงื่อนไขของสมการไฮเพอร์ โบลาทั้งสองกรณี
c 2 = a2 + b 2
เมื่อ c = ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางถึงโฟกัส
ฝึ กทา จากสมการไฮเพอร์โบลานี้ จงหาจุดศูนย์กลาง จุดโฟกัส จุดยอด ความยาวแกนตามขวาง
ความยาวแกนสังยุค และ ผลต่างคงตัวของระยะจากจุดใดๆ ไปยังโฟกัสทั้งสอง
2 2
1. (x 23)  (y  52 ) = 1 2. 16 y2 – 25 (x + 7)2 = 400
8 10

สมการไฮเพอร์โบลารู ปทัว่ ไป คือ


Ax2 + Cy2 + Dx + Ey + F = 0 เมื่อ A.C < 0
จากสมการวงรี รูปทัว่ ไป สามารถเปลี่ยนให้เป็ นรู ปมาตรฐานได้ 2 วิธี ได้แก่
วิธีที่ 1 ใช้กาลังสองสัมบูรณ์ ดังแสดงในโจทย์ตวั อย่างถัดไป
วิธีที่ 2 ใช้สูตรลัดตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 หาจุดศูนย์กลางไฮเพอร์ โบลา ( h , k) โดย
h = D2 A และ k = E2 C
ขั้นที่ 2 ตรวจสอบค่า Ah2 + Ck2 – F
ถ้า Ah2 + Ck2 – F = 0 สมการนี้ไม่ใช่สมการไฮเพอร์โบลา
ถ้า Ah2 + Ck2 – F  0 สมการนี้เป็ นสมการไฮเพอร์ โบลา
32
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ขั้นที่ 3 กรณีที่ 1 ถ้า | A.C | = Ah2 + Ck2 – F
เขียนสมการรู ปมาตรฐานโดยไขว้สัมประสิ ทธิ์ ของ x2 (A) กับสัมประสิ ทธิ์
ของ y2 (C) (ไขว้เฉพาะขนาดของ A , C เครื่ องหมาย  ไม่ต้องไขว้ ) ไปเป็ นตัวหารของ
เทอม (x – h)2 กับ (y – k)2 ดังนี้
( x  h )2  ( y  k )2  1
C A
ควรเปรี ยบค่าของ A กับ C ว่าค่าไหนมีค่าเป็ นลบ
และ a2 = ขนาดของตัวที่เป็ นบวกของ A กับ C
b2 = ขนาดของตัวที่เป็ นลบของ A กับ C
กรณีที่ 2 ถ้า | A.C |  Ah2 + Ck2 – F
เขียนสมการรู ปมาตรฐานจะได้ดงั นี้
( x  h )2  ( y  k )2 1
 2 2   2 2 
 Ah  Ck  F   Ah  Ck  F 
 A   C 
   
ควรเปรี ยบค่า  Ah ACk F  กับ  Ah CCk2 F  ว่าค่าไหนมากกว่ากัน
2 2 2
   
และ a2 = ขนาดของตัวที่เป็ นบวกของ  Ah2 ACk2 F  กับ  Ah2 CCk2 F 
   
b2 = ขนาดของตัวที่เป็ นลบของ  Ah2 ACk2 F  กับ  Ah2 CCk2 F 
   
ฝึ กทา จากสมการไฮเพอร์โบลานี้ จงบอกจุดศูนย์กลาง ความยาวแกนตามขวาง แกนสังยุค
จุดยอด จุดโฟกัส ผลต่างคงตัว และสมการเส้นกากับ
1. y2 – 6x2 + 2y + 36x = 59 2. 2x2 – 3y2 – 20x – 24y – 4 = 0

33
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
ขั้นตอนการหาสมการไฮเพอร์ โบลา
1) วาดรู ปวงรี คร่ าว ๆ แล้วเลือกใช้สมการไฮเพอร์โบลาโดย
2
หากวงรี วางตัวอยูใ่ นแนวนอนใช้สมการ ( x 2h )2  ( y 2k )  1
a b
( y  k )2 ( x  h )2
หากวงรี วางตัวอยูใ่ นแนวดิ่งใช้สมการ  1
a2 b2
2) ต้องหาค่า h , k ซึ่งอาจหาได้จากจุดศูนย์กลาง
และค่า a , b ซึ่งอาจหาได้จาก
ความยาวแกนตามขวาง = 2a
ความยาวแกนสังยุค = 2b
ผลต่างคงตัว = 2a
c 2 = a 2 + b2
เมื่อ c คือระยะห่างจากจุดศูนย์กลางถึงจุดโฟกัส
3) นาค่า h , k , a , b แทนลงในสมการที่เลือกใช้ แล้วทาสมการให้อยูใ่ นรู ปทัว่ ไป
36. สมการไฮเพอร์ โบลาซึ่ งมี จุดศูนย์กลาง (0 , 0) จุดยอดหนึ่ ง (–2 , 0) และจุ ดโฟกัส หนึ่ ง
(4 , 0) คือข้อใดต่อไปนี้
1. 3x2 – y2 – 4 = 0 2. 3x2 – y2 – 12 = 0
3. x2 – 3y2 – 4 = 0 4. x2 – 3y2 – 12 = 0

34
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
37. สมการไฮเพอร์ โบลาซึ่ งมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (–7 , 0) โฟกัสหนึ่ งอยูท่ ี่จุดกาเนิ ดแกนตาม
ขวางยาว 6 หน่วย คือข้อใดต่อไปนี้
1. 40x2 – 9y2 + 560x + 40 = 0 2. 40x2 – 9y2 + 560x + 1600 = 0
3. 40x2 – 9y2 + 560x – 40 = 0 4. 40x2 – 9y2 + 560x – 1600 = 0

38. สมการไฮเพอร์ โบลาซึ่งมีจุดยอดอยูท่ ี่จุด (4 , 0) และ (4 , 4) แกนสังยุคยาว 4 หน่วย คือ


ข้อใดต่อไปนี้
1. y2 – 4y – x2 + 8x + 8 = 0 2. y2 – 4y – x2 + 8x + 16 = 0
3. y2 – 4y – x2 + 8x – 8 = 0 4. y2 – 4y – x2 + 8x – 16 = 0

35
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
หลักการพิจารณารู ปกราฟจากสมการ
จากสมการในรู ป Ax2 + Cy2 + Dx + Ey + F = 0
1) ถ้า A และ C เป็ นศูนย์พร้อมกัน กราฟจะเป็ นรู ปเส้นตรง
2) ถ้า A C = 0 เป็ นสมการพาราโบลา
3) ถ้า A = C เมื่อ A  0 และ C  0 เป็ นรู ปวงกลม
4) ถ้า A  C และ AC > 0 เป็ นรู ปวงรี
5) ถ้า A  C และ AC < 0 เป็ นรู ปไฮเพอร์ โบลา
ฝึ กทา จงบอกว่าสมการต่อไปนี้เป็ นสมการของภาคตัดกรวยรู ปใด
1. 25x2 + 16y2 – 100x + 96y – 156 = 0
2. 4x2 + 4y2 – 4x + 1 = 0
3. y2 + 2x – 6y + 9 = 0
4. 22x2 + 7y2 + 6 = 0
5. 2x2 – 4y2 + 6 = 0
6. 3y2 – 6x2 – 6x + 7y + 9 = 0

36
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
39. สมการเส้ น สั ม ผัส กราฟวงกลม x2 + y2 – 4x + 6y – 12 = 0 ที่ จุ ด (6 , 0) คื อ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. 4x + 3y + 24 = 0 2. 4x + 3y – 24 = 0
3. 3x + 4y + 24 = 0 4. 3x + 4y – 24 = 0

40. สมการเส้นตรงที่สัมผัสกราฟพาราโบลา y = x2 – 3x – 4 ที่จุด (2 , –6) คือข้อใดต่อไปนี้


1. y = x – 4 2. y = x – 8 3. y = x + 4 4. y = x + 8

2
41. สมการของเส้นสัมผัสกราฟวงรี y25  x92 = 1 ที่จุด  125 , 3 คือข้อใดต่อไปนี้
1. 60x + 27y + 225 = 0 2. 60x + 27y – 225 = 0
3. 60x + 27y + 500 = 0 4. 60x + 27y – 500 = 0

37
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
42. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = r = (x , y)  x2 + y2 = 25  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = [–5 , 5] , Rr = [–5 , 5] 2. Dr = [0 , 5] , Rr = [–5 , 5]
3. Dr = [–5 , 5] , Rr = [ 0 , 5 ] 4. Dr = [0 , 5] , Rr = [0 , 5]

43. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 25  x 2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = [–5 , 5] , Rr = [–5 , 5] 2. Dr = [0 , 5] , Rr = [–5 , 5]
3. Dr = [–5 , 5] , Rr = [ 0 , 5 ] 4. Dr = [0 , 5] , Rr = [0 , 5]

38
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

เฉลยบทที่ 6 เรขาคณิ ต วิ เ คราะห์


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบ 2 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 3.

39
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 6 เรขาคณิ ต วิ เ คราะห์ ชุ ด ที่ 1
6.1 ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับเรขาคณิตวิเคราะห์
6.1.1 ระยะทางระหว่ างจุดสองจุด
1(En 21) A , B และ C เป็ นจุดยอดของรู ปสามเหลี่ยม
ที่กาหนดให้ดงั รู ปโดยมีดา้ น BC ขนานกับแกน X Y
A ( , 4)
พื้นที่ของ ABC มีค่าเท่ากับ
1. 1 ตารางหน่วย 0 X

2. 21 ตารางหน่วย B (–3, ) C (4, –2)


3. 10 ตารางหน่วย
4. หาไม่ได้ เพราะจุดยอด A , B และ C บอกมาไม่สมบูรณ์

6.1.2 จุดกึง่ กลางระหว่ างจุดสองจุด


2(มช 35) กาหนด P(–1 , 0) , R(8 , 0) , S(0 , 6) เป็ นจุดยอดของรู ป สามเหลี่ ยมรู ป หนึ่ ง Q
เป็ นจุ ดกึ่ งกลางของด้าน RS ให้PQ แทนความยาวของส่ วนของเส้ นตรง PQ จะได้
PQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 34 2. 18 3. 34 4. 25

6.1.3 จุดซึ่งแบ่ งเส้ นตรงออกเป็ นอัตราส่ วนต่ างๆ


6.1.4 การหาพืน้ ทีร่ ู ปหลายเหลีย่ ม
6.1.5 จุดตัดเส้ นมัธยฐานของรู ปสามเหลีย่ ม
6.1.6 ความชันของเส้ นตรง

3(มช 35) ให้ A เป็ นจุดตัดของเส้นตรง x = 2 และ y = 5 เส้นตรง L ที่มีความชันเท่ากับ 21


ตัดกับเส้นตรง x = 2 ที่จุด B และตัดกับเส้นตรง y = 5 ที่จุด C(6 , 5) รู ปสามเหลี่ยม ABC
จะมีพ้ืนที่เท่ากับกี่ตารางหน่วย

40
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.1.7 เส้ นขนานและเส้ นตั้งฉาก
6.1.8 ความสั มพันธ์ ทมี่ ีกราฟเป็ นเส้ นตรง
4(En 38) ให้ A(–1 , 2) , B(3 , 0) และ C(5 , 4) เป็ นจุ ด ยอดทั้ง สามของสามเหลี่ ย ม ABC
สมการของเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ 1 และผ่านจุดตัดกันของเส้นมัธยฐานของ สามเหลี่ยม
ABC ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3x – 3y – 1 = 0 2. 3x – 3y + 1 = 0
3. 3x – 3y – 2 = 0 4. 3x – 3y + 2 = 0
5(มช 37) กาหนด L เป็ นเส้นตรงที่ผา่ นจุด P (–5, 4) และ Q (–1, –2) จงหาสมการเส้นตรง
ที่ผา่ นจุดกึ่งกลางของ P และ Q และตั้งฉากกับเส้นตรง L
1. x + 3y + 0 = 0 2. 3x – 5y – 15 = 0
3. x + y – 6 = 0 4. 2x – 3y + 9 = 0
6(En 26) เส้นตรงซึ่ งตั้งฉากและแบ่งครึ่ งส่ วนของเส้นตรงที่เชื่ อมระหว่างจุด (–1 , 3) และจุด
(5 , 7) คือกราฟของ
1. 2y + 3x – 8 = 0 2. 2y + 3x – 3 = 0
3. 2y + 3x – 16 = 0 4. 3 + 2x – 19 = 0
7(มช 34) ให้ L คือเส้นตรง 3 (y – 1) = –2 (x – 2) จงหาสมการเส้ นตรงที่ ต้ ังฉากกับ L มี
ระยะตัดแกน Y เป็ น –2
1. 3x – 2y – 4 = 0 2. 3x – 2y – 8 = 0
3. 3x + 2y – 4 = 0 4. 3x + 2y – 8 = 0
8(En 21) จากรู ป L1 และ L2 เป็ นส่ วนของเส้นตรงที่ต้ งั ฉากซึ่ งกันและกัน ถ้า y = mx + c
เป็ นสมการของเส้นตรง L2 c จะมีค่าเท่ากับ
1. 32 y
L1 L2
2. 23
0
3. 23 (–2, 0) (1, 0) x
2
4. 3 (0.–3)
41
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
9(En 29) กาหนดให้ L เป็ นเส้นตรงที่ผ่านจุด (1 , 6) และตั้งฉากกับเส้นตรง 2x + 3y – 7 = 0
ผลบวกของระยะตัดแกน X กับระยะตัดแกน Y ของ L จะมีค่าเท่ากับ
1. – 53 2. 23 3. 252 4. 503

10(En 40) ให้เส้นตรง  1 ผ่านจุด (5 , 2) และ (1 , –6) เส้นตรง  2 ผ่านจุด (3 , –1) และมี
ความชัน –1 ถ้า (a , b) เป็ นจุดตัดของเส้นตรงทั้งสอง แล้ว a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. –1 3. 1 4. 2

11(En41 ต.ค) กาหนดให้ a เป็ นจานวนจริ ง และ A(a , 1) , B(–5 , –4) , C(1 , –2) และ D(2 , 3)
เป็ นจุดยอดของรู ปสี่ เหลี่ ยมด้านขนาน ABCD ถ้า  เป็ นเส้ นตรงที่ ต้ งั ฉากกับ AC และ
ผ่านจุดกึ่งกลางของด้าน AC แล้วสมการของเส้นตรง  คือสมการในข้อใดต่อไปนี้
1. 5x – 3y + 6 = 0 2. 5x – 3y – 6 = 0
3. 5x + 3y + 9 = 0 4. 5x + 3y – 9 = 0

12(En 36) กาหนดให้ A (a , 3) , B (7 , –3) และ C (–4 , –2) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยมที่มีมุม


A เป็ นมุมฉาก ถ้า a > tan 60o แล้วสมการเส้นตรงที่ผา่ นจุด A และ C คือข้อใดต่อไปนี้
1. x – y + 2 = 0 2. 5x – 6y + 8 = 0
3. 5x – 4y + 12 = 0 4. 7x – 5y + 18 = 0
6.1.9 ระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงกับจุด และระยะห่ างระหว่ างเส้ นตรงที่ขนานกัน

13(มช 34) ให้ L คือ เส้นตรง 3x – 4y + 12 = 0 และ P มีโคออร์ ดิเนต (3, 2)


ก. ระยะห่างระหว่างเส้น L กับจุด P คือ………………
ข. สมการเส้นตรงที่ผา่ นจุด P และขนานกับ L คือ…………….
1. ก) 2.6 หน่วย ข) 3x–4y–1 = 0 2. ก) 2.5 หน่วย ข) 3x–4y–1 = 0
3. ก) 2.4 หน่วย ข) 3x–4y–1 = 0 4. ก) 2.3 หน่วย ข) 3x–4y–1 = 0

14(En48 มี.ค.) ข้อใดต่อไปนี้ ผิด


1. เส้นตรง y = 3x + 2 ขนานกับเส้นตรง 3x – y – 4 = 0
2. เส้นตรง y + 5x + 8 = 0 ตั้งฉากกับเส้นตรง 5y = x + 3
42
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
3. ระยะห่างระหว่างจุด (0 , 0) กับเส้นตรง 3x + 4y – 10 = 0 เท่ากับ 2
4. ระยะห่างระหว่างเส้นตรง x – 2y + 5 = 0 กับเส้นตรง x – 2y – 5 = 0 เท่ากับ 2
6.2 ภาคตัดกรวย
6.2.1 วงกลม
15(En 37) ถ้า O เป็ นจุดกาเนิด และ P เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม
x2 + 4x + y2 – 8y + 11 = 0 แล้วสมการของเส้นตรง OP และสมการของวงกลมที่มี
OP เป็ นเส้นผ่านศูนย์กลาง คือข้อใดต่อไปนี้
1. y = 4x และ x2 + 2x + y2 – 4y = 10
2. y = –4x และ x2 + 2x + y2 – 2y = 0
3. y = 2x และ x2 + 2x + y2 – 4y = 10
4. y = –2x และ x2 + 2x + y2 – 4y = 0
16(En 35) เส้ น ตรง  ผ่ า นจุ ด ศู น ย์ก ลางของวงกลม x2 – 2x + y2 + 10y – 39 = 0 และ
ขนานกับเส้นสัมผัสของวงกลมนี้ ที่จุด (2 , 3) แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยูบ่ นเส้นตรง 
1. (4 , – 438 ) 2. (5 , – 92 ) 3. (2 , –13) 4. (3 , –11)
17(แนว Pat1) ให้ a , b และ c เป็ นจานวนจริ ง ถ้าวงกลม x2 + y2 + ax + by + c = 0
มีจุดศูนย์กลางที่ (2 , 1) และมีเส้นตรง x – y + 2 = 0 เป็ นเส้นสัมผัสวงกลม แล้ว
 2a – b + 2c  เท่ากับเท่าใด
1. 5 2. 10 3. 13 4. 15
18(แนว Pat1) วงกลมรู ปหนึ่ งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (2 , 1) ถ้าเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด x = 1
เส้นหนึ่งมีความชันเท่ากับ 1 แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยูเ่ ส้นรอบวงของวงกลมที่กาหนด
3
1. (3 , 0) 2. (1 , 0) 3. (0 , 1) 4. (0 , 3)
19(En44 มี.ค) กาหนดให้  เป็ นเส้ นตรงที่ ผ่านจุด (1 , 4) และมีความชันเท่ากับ 43 ถ้า
เส้นตรง  สัมผัสวงกลม C ซึ่ งมีจุดศูนย์กลางที่จุด (1 , 2) แล้วจุดใดต่อไปนี้ เป็ นจุดบน
วงกลม C
1. (1 , 25 ) 2. (1 , 165 ) 3. ( 513 , 2) 4. ( 35 , 2)
43
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
20(En 26) วงกลมวงหนึ่งสัมผัสกับเส้นตรง 2x – y + 1 = 0 ที่จุด (2 , 5) และจุดศูนย์กลางของ
วงกลมนี้อยูบ่ นเส้นตรง x + y = 9 วงกลมนี้ มีสมการ
1. x2 + y2 – 6x – 6y + 25 = 0 2. x2 + y2 – 12x – 6y + 209 = 0
3. x2 + y2 – 12x – 6y + 25 = 0 4. 9x2 + 9y2 – 60x – 102y + 209 = 0

21(แนว Pat1) เส้ น ตรง L1 และ L2 สัม ผัส วงกลม (x – 5)2 + y2 = 20 ที่ จุด P และ Q
ตามลาดับ และจุ ดศูนย์ก ลางของวงกลมอยู่บ นเส้ นตรงที่ ผ่านจุ ด P และ Q ถ้า L1 มี
สมการเป็ น x – 2y + 5 = 0 แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยูบ่ นเส้นตรง L2
1. (0 , 5) 2. (8 , 0) 3. (0 , –8) 4. (15 , 0)

22(En 38) กาหนดให้ L เป็ นเส้นตรงที่มีความชันเป็ น – 43 ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลม


\

x2 + y2 – 4x + 2y – 4 = 0 และตัดวงกลมที่จุด A และ B ถ้าจุด C มีพิกดั เป็ น (–1 , –2)


แล้วพื้นที่สามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 53 2. 3 3. 9 4. 635

23(แนว Pat1) กาหนดให้ A = { (x , y)  x2 + y2 = 1}


และ B = { (x , y)  x2 + y2 – 10x – 10y + 49 = 0}
ถ้า p  A และ q  B แล้ว ระยะห่ างที่เป็ นไปได้มากที่สุดระหว่างจุด p และ q เท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2 หน่วย 2. 2+5 2 หน่วย 3. 2 5 หน่วย 4. 5+2 5 หน่วย

6.2.2 พาราโบลา

24(แนว Pat1) จุดยอดของพาราโบลา y2 + 2y – x – 2 = 0 อยูห่ ่างจากเส้นตรง y = 3x เท่ากับ


1. 1 2. 2 3. 4 4. 8
10 10 10 10

25(แนว Pat1) ระยะห่างระหว่างจุดโฟกัสของพาราโบลา y2 = –8 x กับเส้นตรง


2x – y – 6 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 5 หน่วย 2. 5 2 หน่วย 3. 52 หน่วย 4. 2 หน่วย
5
44
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
26(มช 31) ถ้า AD เป็ นเส้นมัธยฐานเส้นหนึ่ งของสามเหลี่ ยมที่มีจุดยอดอยู ่ที่ A(2 , 8) , B(0 , 0)
C(6 , 2) แล้วระยะทางระหว่างจุด D และจุดโฟกัสของพาราโบลา (x – 1)2 = 16(y – 1) คือ
1. 1 2. 5 3. 2 4. 2 5

27(En 38) ข้อใดต่อไปนี้ เป็ นสมการของเส้นตรงที่ผา่ นจุด (1 , 6) และผ่านจุดโฟกัสของพารา-


โบลา y2 – 4y – 4x = 8
1. 3x – 4y + 21 = 0 2. 4x – 3y + 14 = 0
3. 7x + 2y – 19 = 0 4. 2x + 7y – 44 = 0

28(En48 มี.ค.) กาหนดให้พาราโบลารู ปหนึ่งมีสมการเป็ น y2 – 4y – 16 x – 12 = 0


ถ้า  เป็ นเส้นตรงที่ผา่ นโฟกัสของพาราโบลารู ปนี้ และตั้งฉากกับเส้นตรง 3x – 2y + 5 = 0
แล้วระยะตัดแกน Y ของเส้นตรง  มีค่าเท่ากับเท่าใด

29(แนว Pat1) เส้นตรงเส้นหนึ่งผ่านจุดกาเนิด และจุดยอดของพาราโบลา y2 – 4y + 4x = 0


และตัดเส้นไดเรกตริ กซ์ที่จุด (p , q) แล้ว 5p – q มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7

30(En44 ต.ค) ก าหนดให้ P เป็ นพาราโบลา y2 – 2y – 8x – 7 = 0 ซึ่ งมี l เป็ นเส้ น


ไดเรกตริ กซ์ สมการวงกลมซึ่ งมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุดโฟกัสของ P และมี l เป็ นเส้นสัมผัส
คือข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + y2 + 2x – 2y – 14 = 0 2. x2 + y2 + 2x – 2y – 2 = 0
3. x2 + y2 + 2x + 2y – 2 = 0 4. x2 + y2 – 2x – 2y – 14 = 0
31(En 35) ให้ P เป็ นพาราโบลาซึ่ งมี จุด (1 , 3) เป็ นจุ ดโฟกัส และเส้ นตรง x = –5 เป็ น
ไดเรกตริ กซ์ ถ้าเส้นตรงซึ่ งลากผ่านจุดโฟกัสขนานกับไดเรกตริ กซ์ไปตัด P ที่จุด A และ
จุด B แล้วสมการของวงกลมที่มี AB เป็ นเส้นผ่านศูนย์กลางคือข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + y2 – 2x – 6y – 26 = 0 2. x2 + y2 – 2x – 6y – 39 = 0
3. x2 + y2 – 2x – 6y – 15 = 0 4. x2 + y2 – 2x – 6y – 6 = 0

45
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
32(แนว Pat1) วงกลม C มี จุดศู นย์กลางที่ จุดก าเนิ ด และผ่านจุ ดโฟกัส ของพาราโบลาซึ่ ง มี
สมการเป็ น (x – 2)2 = 8y โดยเส้นไดเรกตริ กซ์ของพาราโบลาตัดวงกลม C ที่จุด P และ
จุด Q ถ้าจุด R อยู่ที่ บนพาราโบลาและอยู่ห่างจากจุ ดโฟกัส เป็ นระยะทาง 3 หน่ วยแล้ว
สามเหลี่ยม PQR มีพ้ืนที่เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 หน่วย 2. 8 หน่วย 3. 10 หน่วย 4. 12 หน่วย

33(En42 ต.ค.) ถ้า A เป็ นจุดบนวงกลม x2 + y2 + 4x – 6y + 11 = 0 ซึ่ งอยูใ่ กล้กบั จุดโฟกัส F


ของพาราโบลา x2 – 12x + 4y + 52 = 0 มากที่สุด แล้วระยะระหว่างจุด A กับ F มีค่า
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2 2. 8 2 3. 7 2 – 2 4. 8 2 – 2
34(มช 39) จงหาสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของวงกลม
x2 – 4x + y2 + 2y + 4 = 0 และโฟกัสอยูท่ ี่จุด (2 , 1)
1. x2 – 4x + 8y + 12 = 0 2. x2 + 2x – 8y + 17 = 0
3. x2 + 2x + 8y – 15 = 0 4. x2 – 4x – 8y – 4 = 0

35(En 36) สมการพาราโบลาซึ่ งมีเส้นตรง y = 5 เป็ นเส้นไดเรกตริ กซ์ และมี โฟกัสอยู่ที่จุด


ศูนย์กลางของวงกลม x2 + y2 – 6x + 2y – 6 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้
1. x2 – 6x + 12 y – 15 = 0 2. x2 – 6x – 12y + 33 = 0
3. x2 – 6x + 12y + 21 = 0 4. x2 – 6x – 12y – 3 = 0

36(En43 มี.ค.) ให้ C เป็ นวงกลม x2 + y2 – 2x –4y – 20 = 0 มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (h , k)


และมี รั ศ มี r สมการพาราโบลาซึ่ งมี (h , k) เป็ นจุ ด ยอด และ x = r เป็ นสมการ
ไดเรกตริ กซ์คือข้อใดต่อไปนี้
1. y2 –4y + 20x –16 = 0 2. y2 + 4y – 16x –12 = 0
3. y2 –4y + 16x –12 = 0 4. y2 – 4y + 16x –14 = 0

37(แนว Pat1) พาราโบลามีจุดยอดที่ (–1 , 0) และมีจุดกาเนิดเป็ นโฟกัส ถ้าเส้นตรง y = x – 2


ตัดพาราโบลาที่จุด P และจุด Q แล้วระยะทางระหว่างจุด P กับจุด Q เท่ากับเท่าใด
1. 6 2 2. 8 2 3. 6 4. 8
46
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.2.3 วงรี
2 2
38(En 23) กาหนดสมการวงรี (x 361)  (y 202) = 1 จุดโฟกัสทั้งสองของวงรี น้ ี อยูท่ ี่จุด
1. (–5 , –2) และ (7 , –2) 2. (–4 , –2) และ (4 , –2)
3. (–3 , –2) และ (5 , –2) 4. (–3 , 2 ) และ (5 , 2)

39(มช 32) 4x2 + 2y2 + 4x + 4y – 5 = 0 เป็ นสมการของวงรี ที่มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่………..


และแกนเอกยาวเท่ากับ…………..…
1. (– 21 , –1 ) กับ 4 2. ( 21 , –1 ) กับ 4
3. (– 21 , 1 ) กับ 8 4. ( 21 , 1 ) กับ 8

40(มช 34) จุดโฟกัสของวงรี x2 + 2y2 – 4y = 0 อยูห่ ่างจากจุด (0 , 2) เป็ นระยะเท่ากับ….


1. 2 2. 2 3. 2 2 4. 4

41(En 39) เส้ นตรงที่ ผ่านจุดศูนย์กลางของวงรี 4x2 + 9y2 – 48x + 72y + 144 = 0 และตั้ง
ฉากกับเส้นตรง 3x + 4y = 5 มีสมการเป็ นข้อใดต่อไปนี้
1. 4x – 3y + 12 = 0 2. 4x – 3y – 12 = 0
3. 4x – 3y – 36 = 0 4. 4x – 3y + 36 = 0

42(En42 ต.ค.) พื้นที่ของสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็ นจุดกาเนิด และจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี


x2 + 2y2 + 4x – 4y – 2 = 0 มีค่าเท่ากับกี่ตารางหน่วย

43(En 37) ระยะห่ างระหว่างเส้ นคู่ขนานที่ ทามุม 45o กับแกน X และผ่านจุดโฟกัสทั้งสอง


ของวงรี x2 – 4x + 3y2 – 2 = 0 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 2. 4 2 3. 2 4. 4

44(มช 31) วงกลมที่สัมผัสกับเส้นตรง 4x – 3y + 10 = 0 และมีจุดศูนย์กลางร่ วมกับวงรี


(x – 5)2 + 2 (y – 5)2 = 10 จะมีสมการเป็ นข้อใด
1. x2 + y2 – 10x – 10y – 9 = 0 2. x2 + y2 – 10x – 10y + 41 = 0
3. x2 + y2 – 10x – 10y + 25 = 0 4. x2 + y2 + 10x + 10y + 41 = 0

47
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
45(แนว Pat1) วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของวงรี ที่มีสมการเป็ น
9x2 + 4y2 – 36x – 24y + 36 = 0 ถ้าวงกลมวงนี้สัมผัสกับเส้นตรงที่ผา่ นจุด (1 , 3)
และ (5 , 0) แล้วรัศมีของวงกลมวงนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. 45 3. 87 4. 139

46(En42 มี.ค.) วงรี วงหนึ่ งมีจุดศูนย์กลางที่ (3 , 1) จุดโฟกัสจุดหนึ่ งที่ (5 , 1) และสัมผัสแกน Y


ที่จุด (0 , 1) สมการของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (–2 , 1) และมีรัศมีเท่ากับครึ่ งหนึ่งของความ
ยาวแกนโทของวงรี คือข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + y2 + 4x – 2y = 0 2. x2 + y2 + 4x – 2y – 1 = 0
3. x2 + y2 + 4x – 2y –4 = 0 4. x2 + y2 + 4x – 2y – 15 = 0

47(มช 38) พาราโบลาซึ่ งมีไดเรกตริ กซ์คือเส้นตรง x = 4 และมีจุดยอดอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของ


วงรี x2 + 2y2 – 2x + 8y = 0 จะมีสมการตรงกับข้อใด
1. y2 + 4y + 12x  8 = 0 2. y2 + 4y – 12x + 16 = 0
3. x2 – 2x + 12y + 25 = 0 4. x2 – 2x – 12y – 23 = 0

48(En41 ต.ค.) สมการของพาราโบลาที่มีจุดยอดเป็ น (0 , –1) และผ่านจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี


3x2 + 4y2 – 16y + 4 = 0 ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้
1. ( 23 , 1) 2. ( 23 , 1) 3. ( 12 , 0) 4. ( 13 , 0)
49(En 40) สมการของพาราโบลาที่มีแกนพารา (แกนสมมาตร) อยูบ่ นแกน X มีจุดยอดอยู่ที่จุด
กาเนิด และผ่านจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี 4x2 + 3y2 – 16x + 4 = 0 คือสมการในข้อใด
1. y2 = x 2. y 2 = 4x 3. 2y2 = x 4. 8y2 = x
2 2
50(En48 มี.ค.) กาหนดให้เส้นตรง x = y ตัดวงรี x 91  y 41 = 1 ที่จุด A และ B
ถ้า F1 และ F2 เป็ นจุดโฟกัสของวงรี น้ ี แล้ว AF1 + AF2 + BF1 + BF2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
A ดยอดเป็ น..…
51(มช 31) วงรี ที่มีจุดโฟกัสอยูท่ ี่ (5 , –3) และ (–1 , –3) และผ่านจุด (2 , 1) จะจุ
1. (7 , –3) , (–3 , –3) 2. (7 , 3) , (–3 , 3)
3. (–7 , –3) , (3 , –3) 4. (–7 , 3) , (3 , 3)
48
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
52(En41 เม.ย.) ให้ A และ B เป็ นจุดโฟกัสและจุดยอด (ตามลาดับ) ของพาราโบลา
x2 – 8x + 4y + 4 = 0 ถ้าวงรี มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ A และจุดโฟกัสจุดหนึ่ งอยู่ที่ B โดยที่
จุดยอดจุดหนึ่งอยูบ่ นเส้นตรง y = 4 แล้วสมการวงรี คือข้อใดต่อไปนี้
2 2
1. (x – 4)2 + (y 22) = 1 2. (x 24) + (y –2)2 = 1
2 2 2 2
3. (x 34) + (y 42) = 1 4. (x 44) + (y 32) = 1

53(แนว Pat1) วงรี รูป หนึ่ งมี โฟกัสอยู่ที่ จุด (3 , 0) และผ่านจุ ด (2 , 221 ) จุดในข้อใด
ต่อไปนี้อยูบ่ นวงรี ที่กาหนด
1. (–4 , 0) 2. (0 , 5 2 2 ) 3. (6 , 0) 4. (0 , –3 2 )

54(แนว Pat1) วงรี E มี โฟกัสทั้งสองอยู่บนวงกลม C ซึ่ งมีสมการเป็ น x2 + y2 = 1 ถ้า E


สัมผัสกับ C ที่จุด (1 , 0) แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยูบ่ นวงรี E
1. ( 12 , 23 ) 2. ( 12 , 25 ) 3. ( 13 , 23 ) 4. ( 13 , 43 )

55(En46 มี.ค) ให้ E เป็ นวงรี ซ่ ึ งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆ บนวงรี E ไปยังจุด (–3 , 2)


และ (5 , 2) เท่ากับ 12 หน่วย ถ้า A และ B เป็ นจุดยอดของวงรี E และวงรี E ตัดแกน Y
ที่จุด C และ D แล้วพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 5 ตารางหน่วย 2. 20 5 ตารางหน่วย
3. 10 7 ตารางหน่วย 4. 20 7 ตารางหน่วย

56(แนว Pat1) ถ้า k ,  และ m เป็ นจานวนจริ งที่ทาให้วงรี kx2 +  y2 – 72x –24y + m = 0
มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (4 , 3) และสัมผัสแกน Y แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ความยาวแกนเอกเท่ากับ 8 หน่วย
2. ความยาวแกนโทเท่ากับ 5 หน่วย
3. ระยะห่างระหว่างจุดโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 4 5 หน่วย
4. จุด (2 , 6) อยูบ่ นวงรี

49
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
6.2.4 ไฮเพอร์ โบลา
57(En 23) ถ้าจุด (h , k) เป็ นจุดกึ่งกลางระหว่างจุดยอดทั้งสองของไฮเพอร์ โบลา ซึ่ งมีสมการ
x2 – 4y2 + 24y – 32 = 0 ดังนั้นจุด (h , k) คือ
1. (0 , 3) 2. (0 , –3) 3. (3, 0) 4. (–3, 0)

58(En 32) ถ้าภาคตัดกรวยมีสมการเป็ น 9x2 – 16y2 – 18x – 64y – 199 = 0 แล้วระยะทาง


จากโฟกัสถึงเส้นตรง 2x + 3y – 5 = 0 เท่ากับเท่าใดต่อไปนี้
1. 1 และ 19 2. 6 และ 24
13 13 13 13
3. 9 และ 11 4. 14 และ 16
13 13 13 13

59(มช 33) จงหาสมการเส้นตรงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางของไฮเพอร์ โบลา x2 – 4y2 + 2x = 35


และตั้งฉากกับเส้นตรง y = 2x
1. x + 2y + 1 = 0 2. x + 2y + 5 = 0
3. 2x + y + 1 = 0 4. 2x + y + 5 = 0

60(มช 38) จงหาสมการเส้นตรงที่ต้ งั ฉากกับแกน X และผ่านจุดโฟกัสที่อยูค่ วอดรันต์ที่หนึ่ง


ของไฮเพอร์ โบลา 2 (x – 1)2 – (y – 1)2 = 6
1. x = 2 2. x = 4 3. x = 6 4. x = 8
2 2
61(En47 ต.ค.) ก าหนดให้ A เป็ นจุ ดๆ หนึ่ งบนไฮเพอร์ โบลา x91  y162   1 ถ้า
ระยะห่ า งระหว่ า งจุ ด A และจุ ด โฟกั ส จุ ด หนึ่ งของไฮเพอร์ โ บลา คื อ 3 หน่ ว ยแล้ ว
ระยะห่างระหว่างจุด A กับจุดโฟกัสอีกจุดหนึ่งของไฮเพอร์ โบลา มีค่าเท่ากับกี่หน่วย
1. 9 2. 8 3. 4 4. 5

62(แนว Pat1) ถ้าเส้นกากับของไฮเพอร์ โบลา 16x2 – 9y2 + 3x + 36y = 164 ตัดแกน X ที่
จุด x1 , x2 แล้วระยะห่างระหว่าง x1 , x2 ยาวกี่หน่วย
1. 1 2. 3 3. 7 4. 10

50
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
63(En 36) ผลบวกของระยะทางจากจุดโฟกัสทั้งสองของไฮเพอร์ โบลา
9x2 – 16y2 – 18x – 64y – 199 = 0 ไปยังเส้นตรง 3x + 4y – 8 = 0 มีค่าเท่าใด
1. 6 2. 8 3. 4 4. 5
64(En41 เม.ย.) กาหนดให้ F เป็ นจุดโฟกัสในควอดรันต์ที่หนึ่งของไฮเพอร์ โบลา
4x2 – 5y2 – 8x + 20y – 36 = 0 วงกลมซึ่ งมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ F และสัมผัสแกน X มี
สมการเป็ นข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + y2 – 4x – 4y + 4 = 0 2. x2 + y2 – 4x – 4y + 8 = 0
3. x2 + y2 – 8x – 4y + 4 = 0 4. x2 + y2 – 8x – 4y + 16 = 0
65(En42 มี.ค.) ถ้าไฮเพอร์ โบลา H มีสมการเป็ น 16x2 – 64x – 9y2 – 80 = 0 แล้ววงรี ที่มีจุด
ยอดอยูท่ ี่จุดโฟกัสทั้งสองของ H และมีแกนโทคือแกนสังยุคของ H มีสมการเป็ นข้อข้อใด
ต่อไปนี้
1. 16x2 – 64x + 25y2 – 464 = 0 2. 16x2 – 64x + 25y2 – 336 = 0
3. 25x2 – 100x + 16y2 – 464 = 0 4. 25x2 – 100x + 16y2 – 336 = 0
66(แนว Pat1) ให้วงรี E มีโฟกัสอยูท่ ี่จุดยอดของไฮเพอร์ โบลา x2 – y2 = 1 ถ้า E ผ่านจุด
(0 , 1) แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยูบ่ นวงรี E
1. (1, – 22 ) 2. (1, 2 ) 3. (1, – 12 ) 4. (1, 23 )
67(En 38) ไฮเพอร์ โบลาที่มีจุดยอดที่ (3 , 2) และ (3 , –4) โฟกัสที่ (3 , –6) มีสมการตรงกับ
ข้อใดต่อไปนี้
+ 12  x  32 = 1
1. y 16 2. y  12  x  32 = 1
9 16 9
2 2 2 2
3. y 9 1  x 163 = 1 4. y 91  x 163 = 1
68(มช 31) ไฮเพอร์ โบลาที่มีความยาวของแกนสังยุคเป็ น 6 และมีจุดยอดอยู่แกน Y จุดยอดรู้
เป็ นจุดปลายทั้งสองเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม x2 + (y – 5)2 = 25 จะมีสมการเป็ น
2 2
1. (y255)  x92  1 2. (y255)  x362  1
2 2 2 2
3. x  (y 5)  1 4. x  (y 5)  1
9 25 36 25
51
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
69(En 37) ก าหนดให้ E เป็ นวงรี ซ่ ึ งมี ส มการเป็ น 6x2 + 5y2 + 12x – 20y – 4 = 0 และ H
เป็ นไฮเพอร์ โบลาซึ่ งมี จุดศูนย์กลางร่ วมกับ E มีจุดยอดทับจุดโฟกัสของ E และมีความ
ยาวแกนสังยุคเท่ากับความยาวแกนโทของ E ข้อใดต่อไปนี้ คือสมการของไฮเพอร์ โบลา H
1. x2 – 5y2 – 2x – 20y + 14 = 0 2. x2 – 5y2 + 2x + 20y – 14 = 0
3. x2 – 5y2 + 2x + 20y – 18 = 0 4. 5x2 – y2 – 2x + 20y + 18 = 0

70(En45 ต.ค) ถ้าไฮเพอร์โบลา H มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของวงรี


4x2 + 9y2 – 8x – 36y + 4 = 0 จุดยอดอยูท่ ี่จุดโฟกัสทั้งสองจุดของวงรี น้ ี และผ่าน
จุด (5 , 5) แล้วจุดโฟกัสของไฮเพอร์ โบลา H คือจุดในข้อใดต่อไปนี้
1.  1 – 7 , 2 และ 1 + 7 , 2
11 11
2. 1 – 8 , 2  และ  1 + 8 , 2
11 11
3. 1 – 9 , 2  และ  1 + 9 , 2
11 11
4. 1 – 10 , 2  และ  1 + 10 , 2
11 11
71(En 35) กาหนดให้ R เป็ นเซตของจานวนจริ ง
ถ้า r = {(x , y)  R x R  9x2 + 4y2 –18x + 16y – 11 = 0} แล้ว Dr  Rr เท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. [–1 , 3] 2. [–5 , 1] 3. [–1 , 1] 4. [–5 , 3]

72(แนว Pat1) กาหนดให้ S = [–2 , 2] และ r = {(x , y)  S x S  x2 + 2y2 = 2}


ช่วงในข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็ นสับเซตของ Dr – Rr
1. (–1.4 , –1.3) 2. (–1.3 , –1.2) 3. (1.2 , 1.4) 4. (1.4 , 1.5)



52
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 6 เรขาคณิ ต วิ เ คราะห์ ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบ 4 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 4
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบ 2 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบ 12 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 4.



53
สรุปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์

54
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม

7.1 เลขยกกำลังทีม่ เี ลขชี้กำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้ว
an = a . a . a . a ……… a
n ตัว
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
a– n = a1n เมื่อ a ≠ 0
เรี ยก an ว่าเลขยกกาลัง
เรี ยก a ว่าฐานของเลขยกกาลัง
เรี ยก n ว่าเลขชี้กาลัง
เช่น 35 = 3 . 3 . 3 . 3 . 3
บทนิยำม ถ้า a เป็ นจานวนจริ ง และ p , q เป็ นจานวนเต็มที่ (p , q) = 1 , q > 0
1
และ a q R โดยเมื่อ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็ น 0
p 1
aq = ( aq ) p
ทฤษฏีบท ให้ m , n เป็ นจานวนตรรกยะ และ am , an , bn เป็ นจานวนจริ ง จะได้
1. am . an = am+n
2. amn = am–n เมื่อ a ≠ 0
a
3. (am)n = am n
4. (a.b)n = an . bn
5. ab n =  abnn  เมื่อ b ≠ 0
 

กฏเกีย่ วกับเลขยกกำลัง (เพิ่มเติม)


(x2 – y2) = (x – y) (x + y) ผลต่างกาลัง 2
(x3– y3) = (x – y) (x2 + xy+ y2) ผลต่างกาลัง 3
(x3 + y3) = (x + y) (x2 – xy+ y2) ผลบวกกาลัง 3
(x – y)2 = x2 – 2xy + y2 กาลังสองสัมบูรณ์
(x + y)2 = x2 + 2xy + y2
1
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
7.2 รำกที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรู ปกรณฑ์
บทนิยำม เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
รากที่ n ของ a จะเท่ากับ b ก็ต่อเมื่อ bn = a
n
นัน่ คือ a = b ก็ต่อเมื่อ bn = a
2
เช่น 25 = 5 เพราะ 52 = 25
3
 64 = –4 เพราะ (–4)3 = –64
4
81 = 3 เพราะ 34 = 81
สมบัติเกีย่ วกับรำกที่ n ทีค่ วรรู้
n
1. x เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่ ให้ตอบเฉพาะคาตอบที่เป็ นบวกเท่านั้น
2
เช่น 25 = 5 เท่านั้น
n
2. ถ้า x < 0 แล้ว x จะคิดได้ 2 กรณี ดังนี้
n
x จะหาค่าจานวนจริ งไม่ได้ ถ้า n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  9 หาค่าไม่ได้
n
x จะหาค่าได้ ถ้า n เป็ นเลขคี่ เช่น 3  8 = –2
n 1 1
3. x = x n เช่น 3 8 = 8 3 เป็ นต้น
3 3 (53 ) 13 3
ลองพิจารณา 5 = = 5 จาง่าย ๆ 53 = 5
n
4. ( x )n = x เช่น ( 7 3 )7 = 3
3 3 = –8
x เมื่อ n เป็ นเลขคี่ เช่น 8
n n
5. x =
 x  เมื่อ n เป็ นเลขคู่ เช่น 2  6 2 =  –6  = 6
n n
6. = n x เมื่อ x > 0 และ y > 0 และ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่ไม่ใช่ 1
xy
y
n x y = n x  n y ถ้า x < 0 และ y < 0 จะใช้ได้ เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกคี่

2
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
4 1 9 1
1. ค่าของ ( a3 )6 ( a3 ) ( a7 )6 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 5
1. 1 2. a 3. a 8 4. a 8

2. ผลบวกคาตอบของสมการ x  9 + 11 = x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 16 3. 17 4. 23

7.3 ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล


บทนิยำม ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือฟังก์ชนั
f = { (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }
ข้ อควรทรำบ
1) ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียลมี 2 แบบได้แก่
1.1 ฟังก์ชันเพิม่ 1.2 ฟังก์ชันลด
ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะเพิ่ม ฟังก์ชนั นี้ เมื่อ x เพิ่มขึ้นค่า y จะลดลง
ตาม จะเกิดเมื่อ a > 1 เช่น y = 2x จะเกิดเมื่อ 0 < a < 1
Y Y

(0 , 1) (0 , 1)
X X

3
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
2) โดเมนของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยล คือเซตของจานวนจริ ง
เรนจ์ของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยล คือเซตของจานวนจริ งบวก

ฝึ กทำ. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้เป็ นฟั งก์เอกซ์โพแนนเชียลหรื อไม่


1) y = 5x 2) y = ( 23 )x 3) y = 0x 4) y = –0.5x 5) y = 1x

ฝึ กทำ. ฟังก์ชนั ต่อไปนี้เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มหรื อฟังก์ชนั ลด


x
1) y = 5x 2) y = ( 17 )x 3) y = 2 4) y = (sin 45)x 5) y = 12 x

วิธีกำรแก้สมกำรเอกซ์ โพแนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิ้ง คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
3. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 8 ( 29x ) = 64 (x + 3) เท่ากับเท่าใด

4
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
วิธีแก้อสมกำรเอกซ์ โพแนนเชียล
ขั้นที่ 1 ทาให้ฐานเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ตัดฐานทิ้ง คิดเฉพาะตัวชี้กาลังที่เหลือ
แต่ระวังว่า หาก 0 < ฐาน < 1 ต้องเปลี่ยนเครื่ องหมายอสมการเสมอ
( เปลี่ยนจากมากกว่าเป็ นน้อยกว่า หรื อเปลี่ยนจากน้อยกว่าเป็ นมากกว่า )

4. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับอสมการ 16x > 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –3] 2. (–3 , –1 ] 3. (–1 , 0] 4. (0 , )

5(แนว En) ค่ าของ x ที่ ส อดคล้องกับ อสมการ 12 


x2 3x 4 < 1 x9 เป็ นสั บ เซตของข้อใด
2
ต่อไปนี้
1. (– , –1 ) 2. (– , –2 ) 3. (–1 , 1 ) 4. ไม่มีมีขอ้ ที่ถูกต้อง

7.4 ฟังก์ชันลอกำริทมึ
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
จาก 34 = 81 จาก 23 = 8
อาจเขียนเป็ น 4 = log3 81 อาจเขียนเป็ น 3 = log2 8
จาก log2 16 = 4 จาก log10 100 = 2
อาจเขียนเป็ น 16 = 24 อาจเขียนเป็ น 100 = 102
5
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
ฝึ กทำ. จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้อยูใ่ นรู ปลอการิ ทึม
2
2
1. 4 = 16 2. 27 3 = 9 3. ( 12 )2 = 14 4. 2–6 = 641 5. 31 = 3

ฝึ กทำ. จงเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปเลขยกกาลัง


1. log10 100 = 2 2. log5 1 = 0 3. log3 3 = 1 4. log 1 25 = –3 5. log2 32 = 5
5

จากฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล ax = y เมื่อ a > 0 และ a  1


อินเวอร์ สของฟังก์ชนั นี้คือ ay = x เมื่อ a > 0 และ a  1
ซึ่ งอาจเขียนรู ปใหม่เป็ น y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1
ฟังก์ชนั อินเวอร์ สของฟังก์ชนั เอกซ์โพแนนเซี ยลนี้ เรี ยกฟังก์ ลอกำริทึม
บทนิยำม ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือ
{ (x , y)  R+ x R  y = loga x เมื่อ a > 0 และ a  1 }
เป็ นฟังก์ชนั ผกผันของฟังก์ชนั เอกโพเนนเชียล
{ (x , y)  R x R  y = ax เมื่อ a > 0 และ a  1 }

ข้ อควรทรำบเกีย่ วกับฟังก์ชันลอกำริทมึ
1) ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม มี 2 แบบได้แก่ Y
1.1) ฟังก์ชนั เพิ่ม
คือ ฟังก์ชนั ซึ่งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว X
ค่า y จะเพิ่มตามเกิดเมื่อ a > 1 (1 , 0)

6
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
1.2) ฟังก์ชนั ลด Y

คือ ฟังก์ชนั ซึ่งเมื่อค่า x เพิ่มแล้ว


ค่า y จะลดลงเกิดเมื่อ 0 < a < 1 (1 , 0) X

2) โดเมนของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ งบวก


เร็ นจ์ของฟังก์ชนั ลอการิ ทึม คือจานวนจริ ง

สมบัติของลอกำริทมึ
1. loga (M.N) = loga M + loga N
2. loga ( MN ) = loga M – loga N
3. loga Mx = x loga M
4. log x M = 1x loga M
a
1
5. log x M = log a M x
a
6. loga M = log x M x
a
7. loga a = 1
หมายเหตุ ; loga 0 = หาไม่ได้
8. log a 1 = 0
log0 a = หาไม่ได้
9. a logaM = M
log M log1 a = หาไม่ได้
10. logN M = log N a
a
1
11. loga N = log 1 N
a
12. loga b = log1 a
b
13. loga x = loga y ก็ต่อเมื่อ x = y
6. กาหนดให้ y = log381 + log232 + log  1  64 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4
 

1. 0 2. 3 3. 6 4. 7

7
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
log 2
7. กาหนดให้ y = log216 + log3( 19 ) + 9 3 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 5 3. 6 4. 7

(1  log815  log9 2  log32)


8. กาหนดให้ A = 81 แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 814 3. 405
4 4. 581
4

9. กาหนดให้ A = log321 + log318 – log37 + log39 – log36 แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใด


ต่อไปนี้
1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

8
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
7.5 กำรหำค่ ำลอกำริทมึ
ลอการิ ทึมที่ใช้มากในการคานวณคือ ลอกำริทมึ สำมัญ (common logarithm)
ลอกำริทมึ สำมัญ คือลอการิ ทึมที่มีฐานเป็ น 10 เช่น log10a
การเขียนลอการิ ทึมสามัญ อาจไม่ตอ้ งเขียนแสดงฐาน 10 ละไว้ในฐานที่เข้าใจก็ได้
เช่น log10 a = log a เป็ นต้น
ลองพิจำรณำและจดจำตัวอย่ำงต่ อไปนี้
log 10 = log10 10 = 1
log 100 = log 102 = 2 log 10 = 2(1) = 2
log 1000 = log 103 = 3 log 10 = 3(1) = 3
log 0.01 = log 10–2 = –2 log 10 = –2(1) = –2
log 1 = log10 1 = 0
10. log 35 + log 6 – log 7 + log 10 – log 3 มีค่าเท่ากับเท่าใด

11(แนว มช) 6 log 5 – log 4 + log 108 log 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

7.6 กำรเปลีย่ นฐำนลอกำริทมึ


การเปลี่ยนฐานลอการิ ทึมจากฐานเดิมไปเป็ นฐานอื่นๆ สามารถทาได้โดยใช้สมบัติต ่อไปนี้
log M
logN M = loga N
a
log 2
เช่น log3 2 = log10 3 = 0.3010
0.4771 = 0.6309
10
9
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
12. log2 10 + log2 9 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3.3219 2. 3.1700 3. 6.6438 4. 6.4919

ลอกำริทมึ ธรรมชำติ ( ลอกำริทมึ แบบเนเปี ยร์ ) คือลอการิ ทึมฐาน e


เมื่อ e คือจานวนธรรมชาติซ่ ึ งเท่ากับ 2.71828
ลอการิ ทึมฐาน e อาจเขียนให้อยูใ่ นรู ป ln ก็ได้
เช่น loge a = ln a
ตัวอย่ำงกำรหำค่ ำลอกำริทมึ ธรรมชำติ
ln 2 = loge2 = log 2 log 2 0.3010
log e = log 2.71828 = 0.4343 = 0.6931
13. กาหนดให้ A = ln2 + ln10 – ln20 และ B = e (ln5 + ln4 – ln2)
แล้ว A + B มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 20 4. 25

7.7 สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียลและสมกำรลอกำริทมึ


14. คาตอบของสมการ 5 log 5 x – 3 log 3 9 = 2 log 5 x มีค่าเท่ากับเท่าใด

10
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม

log 7 (x 2  2x)
15. คาตอบที่มากที่สุดของสมการ log4 log3 log2 7 = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด

16. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x – 2) = log x – log 2 เท่ากับข้อใด


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

17. ผลบวกของคาตอบของสมการ log (x + 2) + log (3x – 4) = log (1 + 2x) เท่ากับข้อใต่อไปนี้


1. – 3 2. 0 3. 3 4. 3

11
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
18. ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ (log3 5) (log5 10) (log10 x) = 4 เป็ นสับเซตของช่วงข้อใด
ต่อไปนี้
1. (– , 2] 2. (2 , 6 ] 3. (6 , 10] 4. (10 , )

19. ในช่วงเปิ ด (a , b) เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log16 x + log4 x + log2 x  7 แล้ว


a + b มีค่าเท่าใด
1. 13 2. 16 3. 29 4. 32

20. ช่วงคาตอบของอสมการ log (1 ) (2x  15)  0 คือข้อใดต่อไปนี้


3
1. (– , 7.5) 2. (7.5 , 8)
3. (7.5 , ) 4. (– , 7.5)  (8 , )

12
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
21. ผลบวกของ x ที่สอดคล้องกับสมการ 3x = 103 – 3–x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

22. ผลบวกของคาตอบของสมการ log3 x + 4 logx 3 = 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 36 2. 62 3. 84 4. 256

23. ค่าของ x จากสมการ 5x = 4x+1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2 3loglog2 2 2. 12log 2
log 3 3. 1 2 3loglog2 2 4. 1 2loglog2 3

13
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม

เฉลยบทที่ 7 ฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและฟังก์ ชันลอกำริทึม


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 5 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบ 2 11. ตอบ 6 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบ 25 15. ตอบ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3.

14
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
ตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม
ึ ชุดที่ 1
7.1 เลขยกกำลังทีม่ เี ลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็ม
b1 a ab )
1(มช 36) กาหนดให้ (3 a)1. (3
b 1 = 3k จงหาค่าของ k
(3 ) 

1. a 2. a – 1 3. a + 1 4. 1

7.2 รำกที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริงในรู ปกรณฑ์


2(En43 ต.ค.) กาหนดให้ A = x   x – 4  > 5
B = x  x  3 – x  1
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. A  B = (– , –1)  (1 , ) 2. ( A  B) = (9 , )
3. B – A = [1 , 9) 4. A – B = (– , –1)

7.3 ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล


3 3 3 3
3(แนว Pat1) ให้ A = 7 5 , B = 5 7 , C = 5 7 , D= 7 5
ข้อใดต่อไปนี้มีค่าน้อยที่สุด
1. A 2. B 3. C 4. D

4(มช 34) ถ้า 4x + 22x = 8 แล้ว (3x)x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

5แนว Pat1) ถ้า x > 0 และ 8x + 8 = 4x + 2x+3 แล้ว ค่าของ x อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้
1. [0 ,1) 2. [1 , 2) 3. [2 , 3) 4. [3 , 4)

6(En43 มี.ค.) ถ้า x เป็ นรากของสมการ 23x–1 . 6x . 255x–1 = 75x แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด

15
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
7(En41 เม.ย.) ถ้า A = {x  R  ( 23 )x (1 – x) > 49 } แล้วเซต B เป็ นช่ วงใดต่อไปนี้ ที่ทาให้
B  A = 
1. (–2 , –1) 2. (–1 , 0) 3. (0 , 1) 4. (1 , 2)

8(แนว PAT1) ให้ R แทนเซตของจานวนจริ ง ถ้า A เป็ นเซตคาตอบของอสมการ


2
35 (5x 233)  53 (x5) แล้ว A เป็ นสับเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. {xR  (5x – 1) (x–3) < 0} 2. {xR  (4x – 1) (x–4) < 0}
3. {xR  (2x – 1) (x–5) < 0} 4. {xR  (x – 1) < 2}

7.4 ฟังก์ชันลอกำริทมึ
cd
9(แนว En) ถ้า a , b , c และ d เป็ นจ านวนจริ ง บวก ซึ่ งไม่ เท่ า กับ 1 แล้ว a b เป็ น
คาตอบของสมการใด
1. loga [logb (logc x)] = d 2. logb [logc (logd x)] = a
3. logc [logb (loga x)] = d 4. logd [logc (logb x)] = a

7.5 กำรหำค่ ำลอกำริทมึ

7.6 กำรเปลีย่ นฐำนลอกำริทมึ


log 8
10(แนว 9 สำมัญ) ค่าของ log 2 (3 3 ) เท่ากับเท่าใด

11(En 38) กาหนดให้ log 3 = c ค่าของ log 1 9  log 3 3 3 – log 0.81 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9
4
1. 3 – 4c 4
2. 3 + 4c 3. 83 – 4c 4. 83 + 4c

12 (En42 มี.ค.) log10 28 – log 1 325 + log 1 91 มีค่าเท่าใด


10 100

13(มช 36) กาหนดให้ log273 = a , log2b = –3 และ logc 49  = –2


จงหาค่าของ a + b + c

14(แนว 9 สำมัญ) (log7 125) (log5 49) มีค่าเท่ากับเท่าใด


16
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
15(แนว Pat 1) กาหนดให้ a , b , c > 1 ถ้า loga d = 30 , logb d = 50 และ logabc d = 15
แล้วค่าของ logc d เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 75 2. 90 3. 120 4. 150

7.7 สมกำรเอกซ์ โพเนนเชียลและสมกำรลอกำริทมึ


16(แนว 9 สำมัญ) ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ log4 x = log9 3 + log3 9 มีค่าเท่ากับ
เท่าใด

17(แนว 9 สำมัญ) ถ้า log [ x + 27log3 2 ] = 1 แล้ว x4 มีค่าเท่ากับเท่าใด

3 
18(En41 เม.ย.) ผลบวกของค าตอบทั้ง หมดของสมการ log 1 log 1 log 1  2 1  =0
4 3 2  x  3x  4 
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

19(En41 ต.ค.) เซตคาตอบของสมการ log2(x2 – x –4)2 = log0.1(0.01) เป็ นสับเซตของเซตใน


ข้อใดต่อไปนี้
1. R – [–2 ,2] 2. R – [–1 , 3] 3. [–4 , 2] 4. [–3 , 3]

20(แนว Pat 1) log (4  x)  log 2(9  4x)  1 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้


2
1. [–10 , –6) 2. [–6 , –2) 3. [–2 ,2) 4. [2 ,6)

21(แนว Pat1) รากที่มีค่าน้อยที่สุดของสมการ 2log(x – 2)  2log(x – 3) = 2log2 มีค่าเท่าใด

22(En 38) ถ้า A และ B เป็ นเซตคาตอบของสมการ  และ  ตามลาดับดังนี้


log (x – 2) + log (x + 2) – log 5 = 0  
(log34) (log45) (log5x) = 1  
แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. A = B 2. A  B = 
3. A เป็ นสับเซตแท้ของ B 4. B เป็ นสับเซตแท้ของ A
17
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
23(แนว Pat1) ถ้า x และ y เป็ นจานวนจริ งบวกและสอดคล้องกับสมการ
2log 2 (x  2y)  log 1 x  log 1 y  0
2 2
แล้ว y  – 8 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x 2
1. 2 2. 8 3. 10 4. 17

24(แนว 9 สำมัญ ) ถ้า S = { x  x เป็ นจานวนเต็ม ที่ ส อดคล้องกับ อสมการ log x (x – 15)  2 }
แล้วจานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 10 3. 12 4. 15 5. 26

25(En44 ต.ค.) ในช่วงเปิ ด (a , b) เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log (3x + 4)  log (x – 1) + 1


แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด

26(En44 มี.ค.) กาหนดให้ A เป็ นเซตคาตอบของอสมการ log4 log3 log2 (x2 + 2x)  0
จานวนเต็มที่เป็ นสมาชิกของ A มีท้ งั หมดกี่จานวน

27(แนว 9 สำมัญ) ค่าในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นคาตอบของสมการ


2x . 2x+1 . 2x+2 = 4x + 4x+1 + 4x+2
21
1. log2 10 2. log2 21 3. log2 216 4. log2 21 5. log2 212
8 4
x  log3 2
28(En 38) ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ 9x – 3 = –1 อยูใ่ นเซตใดต่อไปนี้
1. (–3 , –1) 2. (–1 , 1) 3. (1 , 2) 4. (2 , 3)

29(แนว 9 สำมัญ) ผลคูณของคาตอบของสมการ 4x + 24 = 65(2x – 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –5 2. –4 3. 23 4. 4 5. 5

30(En 36) กาหนดให้ x เป็ นจานวนจริ งบวก ซึ่งสอดคล้องสมการ


2x = 103 – 2–x
และ y = log64 log86 log108
ค่าของ x y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 log 3 2. –2 log 3 3. 2 log 2 4. –2 log 2

18
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
31(แนว PAT1) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ 3(1+2x) + 9(2–x) = 244 แล้วเซต A
เป็ นสับเซตของช่วงใดต่อไปนี้
1. (–1 , 4) 2. (–2 , 0.5) 3. (–3 , 0) 4. (0 , 5) 5. (3 , 7)

 2x  3) x  12 
32(En42 ต.ค.) ก าหนดให้ A = 
x  R |5 (3  25 5(3 )  ผลบวกของสมาชิ ก

 

ทั้งหมดของ A มีค่าเท่ากับเท่าใด


 2x 1
x  12 (x  12 ) 
33(En 36) ก าหนดให้ A = 
x 3[2 9( 2 )  32]  27 2 
 แล้ ว ผลบวก
 
 
ของสมาชิกทั้งหมดของ A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

34(แนว 9 สำมัญ) ผลคูณของคาตอบทั้งหมดของสมการ


log2 x + 6 logx 2 – 5 = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 10 3. 12 4. 16 5. 32

35(แนว Pat1) คาตอบที่เป็ นจานวนเต็มของสมการ log3x + logx3 = 103 มีค่าเท่ากับข้อใด

36(แนว Pat1) ผลบวกของคาตอบทั้งหมดของสมการ log 3 x = 1 + log x 9 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้


1. [0 , 4) 2. [4 ,8) 3. [8 ,12) 4. [12 ,16)

37(แนว Pat1) กาหนด logy x + 4 logx y = 4 แล้ว logy x3 มีค่าเท่าใด

38(En 40) ผลบวกของรากของสมการ 2 log3x – 2 log x2 9 + 3 = 0 มีค่าใกล้เคียงข้อใดมากที่สุด


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
[log2x  1]
39(แนว 9 สำมัญ) ผลคูณของคาตอบของสมการ x  64 มีค่าเท่ากับเท่าใด

19
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 7 ฟังก์ชนั่ เอกซ์โปแนนเชียลและลอการิทึม
40(แนว Pat1) ให้ R แทนเซตของจานวนจริ ง
ให้ A =  xR  x2 + x 2  3x  4 > 3x + 2 
แล้วจานวนเต็มที่เป็ นสมาชิกของเซต A/ มีกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

41(แนว Pat1) ถ้า 4x–y = 128 และ 32x+y = 81 แล้วค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –2 2. –1 3. 1 4. 2

42(แนว Pat1) กาหนดให้ x , y > 0 ถ้า xy = yx และ y = 5x แล้วค่าของ x อยูใ่ นช่วงใด


ต่อไปนี้
1. [0 , 1) 2. [1, 2) 3. [2 , 3) 4. [3, 4)



เฉลยตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
บทที่ 7 ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชน
ั ลอการิทม
ึ ชุดที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบ 0.25 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบ 3 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบ 1
13. ตอบ 1.125 14. ตอบ 6 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบ 0032.00
17. ตอบ 16 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบ 4. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบ 3. 26. ตอบ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบ 1
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 5. 35. ตอบ 27 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบ 6 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบ 0.50 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2.


20
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
การกาหนดค่าของฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติ ทาได้โดยใช้วงกลมรัศมียาว 1 หน่ วย ซึ่ งมีจุด
ศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (0 , 0) ซึ่ งจะเรี ยกว่าวงกลมหนึ่งหน่ วย (The unit circle)
หากเราวัดความยาวเส้นโค้งจากจุดตัดแกน +X ทวนเข็มนาฬิกาไปจนครบ 1 รอบ จะได้ว ่า
ความยาวเส้นโค้ง 1 รอบ = เส้นรอบวง = 2 R = 2 (1) = 2
ดังนั้น ความยาวเส้นโค้งครึ่ งรอบวงกลม = 
ความยาวเส้นโค้ง 41 รอบวงกลม = π2
ความยาวเส้นโค้ง 43 รอบวงกลม = 32π
และที่จุดน่าสนใจอื่นๆ ความยาวเส้นโค้งจะเป็ น
ดังรู ป ความยาวส่ วนโค้งดังกล่าวนี้จะมีหน่วย
เป็ นเรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั

ความยาวส่ วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วย สามารถเทียบเป็ นมุมองศาได้ โดยถือหลักว่า


2  เรเดียน ( 1 รอบวงกลม ) มีขนาดเท่ากับ 360o
ดังนั้น  เรเดียน จึงมีขนาดเท่ากับ 180o
จากหลักการดังกล่าวเรานาไปใช้เปลี่ยนความยาวส่ วนโค้งเป็ นมุมองศา หรื อเปลี่ยนมุมองศา
เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่ำง จงหาว่าความยาวส่ วนโค้ง π6 เรเดียน มีขนาดเท่ากับกี่องศา
แนวคิด ให้เปลี่ยน  เรเดียน เป็ น 180o ได้โดยตรงดังนี้
π = 180 = 30o
6 6

1
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาว่า 150o มีค่าเท่ากับกี่เรเดียน
แนวคิด ให้คูณด้วย 180π  ดังนี้
150o = 150o x 180π  = 56π เรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั
ทั้งในรู ปแบบ  เรเดียน และมุมเป็ นองศา

ฝึ กทำ. จงหาว่าความยาวส่ วนโค้งเป็ นเรเดียนต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับกี่องศา


1. 23π 2.  56π 3. 113π 4. 4 
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาเปลี่ยนมุมขนาดต่อไปนี้ให้เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ( เรเดียน )


1. 300o 2. –315o 3. 120o 4. –510o
แนวคิด

เมื่อพิจารณาพิกดั ( x , y ) ของจุดซึ่ งมีความยาวส่ วนโค้ง  ใดๆ บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะพบว่า


ในควอร์ดรันต์ที่ 1 0o <  < 90o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 2 90o <  < 180o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 3 180o <  < 270o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นลบ
ในควอร์ดรันต์ที่ 4 270o <  < 360o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นลบ
2
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์
+Y
( , ) ( , )

X +X
( , ) ( , )

Y
ฟังก์ชนั โคไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , x )
ฟังก์ชนั ไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , y )
เขียนแทนด้วย x = cos  และ y = sin 
เมื่อ ( x , y ) เป็ นจุดปลายส่ วนโค้งที่ยาว  หน่วย บนวงกลมหนึ่งหน่วย

เช่นจากรู ปจะได้วา่
sin 0o = 0 cos 0o = 1
sin 90o = 1 cos 90o = 0
sin 180o = 0 cos 180o = –1
sin 270o = –1 cos 270o = 0
sin 30o = 12 cos 30o = 23

3
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
sin 45o = 22 cos 45o = 22
sin 60o = 23 cos 60o = 12
ฝึ กทำ. จงเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์

ฝึ กทำ. จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


sin 0o = cos 0o =
sin 90o = cos 90o =
sin 180o = cos 180o =
sin 270o = cos 270o =
sin 30o = cos 30o =
sin 45o = cos 45o =
sin 60o = cos 60o =
โปรดสั งเกต
Y
1) เนื่ องจากวงกลมหนึ่งหน่วยมีรัศมียาว 1 หน่วย 1

ดังนั้น – 1  x  1 จึงได้วา่ – 1  cos   1


–1 1 X
และ – 1  y  1 จึงได้วา่ – 1  sin   1
–1
2) จากสมการกลมซึ่งมีรัศมียาว 1 หน่วย จุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (0 , 0)
x 2 + y2 = 1
จึงได้วา่ cos2 + sin2 = 1
4
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
วิธีกำรหำค่ ำ sin  และ cos  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
sin ( – ) = – sin  และ cos ( – ) = cos 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
sin  = sin ( 180o –  ) และ cos  = – cos ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin (  – 180o ) และ cos  = – cos (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin ( 360o –  ) และ cos  = cos ( 360o –  )
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos (–690o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
cos (–) = cos 
cos (–690o ) = cos 690o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
cos (690o ) = cos ( 690o – 360o ) = cos 330o
ขั้นที่ 3 330o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 4
จะได้วา่ cos 120o = cos ( 360o– 330o ) ] = cos 30o = 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin (–570o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
sin (–) = – sin 
sin (–570o ) = – sin 570o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
–sin (570o ) = – sin ( 570o – 360o ) = – sin 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
จะได้วา่ – [sin 210o ] = – [ –sin ( 210o–180o ) ] = sin 30o = 12
5
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos 150o
แนวคิด 150o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 2
ดังนั้น cos 150o = – cos ( 180o – 150o ) = – cos 30o = – 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin 240o
แนวคิด 240o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น sin 240o = – sin ( 240o – 180o ) = – sin 60o = – 23
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 120o 2. sin 210o 3. sin 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 120o 2. cos 210o 3. cos 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 495o 2. cos 510o 3. cos 540o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos (–315o) 2. sin (–120o) 3. sin (–690o)
แนวคิด

6
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin ( 176π ) 2. cos ( 294π ) 3. sin ( 43π )
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 43π 2. sin 53π 3. cos 116π
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาจานวนจริ ง  มาห้าจานวนที่ทาให้ sin  = 1

8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
ฟังก์ ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ทีค่ วรรู้จักได้ แก่
tangent  = tan  = cos sin θ เมื่อ cos   0
θ
cotangent  = cot  = tan1 θ = cos θ
cin θ เมื่อ sin  และ cos   0
secant  = sec  = cos1 θ เมื่อ cos   0
cosecant  = cosec  = sin1 θ เมื่อ sin   0
ค่ ำ tan  ทีค่ วรจดจำ
tan 0o = 0 , tan 90o = หาค่าไม่ได้ , tan 180o = 0 , tan 270o = หาค่าไม่ได้
tan 30o = 1 , tan 45o = 1 , tan 60o = 3
3
7
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
วิธีกำรหำค่ ำ tan  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
tan ( – ) = – tan 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
tan  = tan (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 360o –  )
ตัวอย่ ำง จงหาค่าของ tan ( –570o )
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่องจาก  มีค่าเป็ นลบ จึงใช้สูตร tan ( – ) = – tan 
ดังนั้น tan ( –570o ) = – tan (570o )
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
จะได้ 570o – 360o = 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น tan (150o ) = – tan ( 180o – 150o ) ] = – tan 30o = – 1
3
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 120o 2. tan 210o 3. tan 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 480o 2. tan (–570o) 3. tan (–675o)
แนวคิด

8
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sec 150o 2. sec (–240o) 3. sec (–330o)

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. csc 120o 2. csc (–210o) 3. csc (–315o)

1(แนว มช) sin ( π6 ) – cos ( 56π ) tan ( 76π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 33

2(แนว มช) cosec 76π sec 103π cot 254π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 4 3. 8 4. 0

ควำมเกีย่ วพันธ์ ของฟังก์ชันตรีโกณทีค่ วรทรำบ


cos2  + sin2  = 1
cos2  = 1 – sin2 
cos  =  1  sin 2θ
sin2  = 1 – cos2
sin  =  1  cos2θ
sec2  = 1 + tan2 
csc2  = 1 + cot2 
9
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
sin ( n   ) =
– sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
cos ( n   ) =
– cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
Co – Function
sin A = cos ( 90o – A ) เช่น sin 20o = cos 70o
tan A = cot ( 90o – A ) เช่น tan 10o = cot 80o
sec A = cosec ( 90o – A ) เช่น sec75o = cosec15o
tan A . tan( 90o – A ) = 1 เช่น tan 20o tan70o = 1
cot A . cot( 90o – A ) = 1 เช่น cot 10o cot 80o = 1
ฝึ กทำ. จงเติมคาตอบที่ถูกต้อง
cos2  + sin2  =
cos2  =
cos  =
sin2  =
sin  =
sec2  =
csc2  =
3. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.6 แล้ว ค่าของ sin (–) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –0.8 2. –0.6 3. 0.6 4. 0.8

4. จากข้อที่ผานมา ค่าของ tan  + sec  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0.33 2. 0.50 3. 2 4. 3

10
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
5. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 0.6 แล้ว ค่าของ cos  + sin (–) เท่ากับข้อใด
1. –0.2 2. 0.2 3. 0.6 4. 0.8

ฝึ กทำ. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้
cos (2 + π2 ) =
sin (4 + π6 ) =
cos (3 + π2 ) =
sin (7 + π4 ) =
cos (6 – π2 ) =
cos (8 – π4 ) =
cos (7 – π4 ) =
sin (180o + 50o ) =
cos (360o + 25o ) =
6. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.20 แล้ว ค่าของ sin (3 – ) + cos ( – ) มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.98 2. –0.78 3. 0.20 4. 0.78

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1 sin 40o = cos …… 2 tan 40o = cot ….. 3 sec 40o = cosec…….
4 cos 10o = ..…. 80o 5 cot 20o = ….. 70o 6 cosec30o = …. …60o
7. cos ( π2  B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin B 2. –sin B 3. cos B 4. –cos B

11
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก
พิจารณารู ปสามเหลี่ยมมุมฉากดังรู ป
กาหนดให้ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก = ฉาก
ความยาวด้านตรงข้ามมุม  = ข้าม
ความยาวด้านตรงประชิดมุม  = ชิด ข้ าม ฉาก
จะได้วา่ ข้าม
sin  = ฉาก

ชิด
cos  = ฉาก ชิด
tan  = ข้า ม
ชิด
8(แนว มช) ถ้า น.ส. ก้อยยืนอยู่ที่จุด A ห่ างจากต้นไม้ 150 เมตร แล้วสังเกตเห็ นว่ามุ มระหว่าง
พื้นดินและยอดของต้นไม้
ที่มีความสู ง h คือ 30o
(ดังรู ป) ข้อใดคือความสู ง h
h ของต้นไม้
30o
1. 50 2. 50 3 A ต้ นไม้
3. 150 3 4. 450 3 150 ม.

9. ตึกสองหลังที่มีหลังคาเรี ยบตั้งอยูห่ ่างกัน 60 ฟุต


จากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่า ซึ่งสู ง 40 ฟุต มุมที่
วัดจากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่าไปยังหลังคาของ
40o
ตึกที่สูงกว่ามีขนาด 40o ดังรู ป ตึกที่สูงกว่าจะ 60 ฟุต
40 ฟุต
มีความสู งเท่ากับกี่ฟุต (tan40o = 0.8391 )
1. 80.2 2. 85.5 3. 90.3 4. 95.8

12
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
10. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 45 แล้ว sec  + cosec  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 35 2. 45 3. 75 4. 1235

11. กาหนด sin  = 35 และ 2 <  <  จงหาค่าของ cos  .tan  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. – 45 31
3. 20 4. 12
20

12. กาหนด cos  = – 45 และ  <  < 3


2 จงหาค่าของ sin  . tan 
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

13. กาหนดให้ 3π2 <  < 2 และ tan  = – 13 แล้ว 2 cos  + cot  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 3 10  15 2. 3 10  15 3. 3 10  15 4. 3 10  15
5 5

13
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
14. กาหนด sin  > 0 โดยที่ cos  = – 35 แล้ว จงหาค่าของ sec  + cosec 
1. – 124 2. 124 3. – 125 4. 125

15. กาหนด sin  < 0 โดยที่ cos  = 45 แล้ว จงหาค่าของ 4 cot 


1. – 5 2. –3 3. – 163 4. 125

8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sin x

จากลักษณะของกราฟ y = sin x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ –1  sin x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1
(แอมปลิจูด อาจจะเรี ยกว่าเป็ นความสู งของคลื่นไซน์ก็ได้ )

14
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cos x

จากลักษณะของกราฟ y = cos x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ – 1  cos x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = tan x

จากลักษณะของกราฟ y = tan x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเ มนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –  < tan x < 
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ด และต่าสุ ด

15
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cosec x

จำกลักษณะของกรำฟ y = cosec x เรำสรุ ปได้ ดังนี้


1. กรำฟไม่ ผ่ำนจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชัน คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ ของฟังก์ชัน คือ y  1 หรือ y  – 1
4. คำบของฟังก์ชันยำว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ ชันไม่ มี

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sec x

จากลักษณะของกราฟ y = sec x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ y  1 หรื อ y  – 1
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี
16
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cot x

จากลักษณะของกราฟ y = cot x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –   cot x  
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ดและต่าสุ ด
ฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติทุกฟั งก์ชนั เป็ นฟั งก์ชนั ที่เป็ นคาบ คือสามารถแบ่งแกน X ออกเป็ นช่ วง
ย่อย โดยที่ความยาวของแต่ละช่วงย่อยเท่ากัน และกราฟในแต่ละช่วงย่อยมีลกั ษณะเหมือนกัน
คำบ ( period ) ของฟังก์ ชัน คือความยาวของช่ วงย่อยที่ส้ ันที่สุดซึ่ งแต่ละช่วงย่อยนั้นมีกราฟ
เหมือนกัน
แอมพลิจูด ( amplitude ) ของฟังก์ชนั คือค่าที่เท่ากับครึ่ งหนึ่ งของค่าสู งสุ ดลบด้วยค่าต่าสุ ดของ
ฟังก์ชนั

17
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
การหาคาบและแอมปลิจูด ของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
กาหนดให้ a , b , c และ d เป็ นค่าคงที่ใดๆ และ b > 0
ลาดับ รู ปทัว่ ไปอย่างง่าย สู ตรหาคาบ สู ตรหาแอมปลิจูด
1. y = a sin bx 2π a
b
2. y = a cos bx 2π a
b
3. y = a cosec bx 2π ไม่มี
b
4. y = a sec bx 2π ไม่มี
b
5. y = a tan bx π ไม่มี
b
6. y = a cot bx π ไม่มี
b
16. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 sin x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

17. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 cos ( 2x – 2 ) + 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

18. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –3 tan 1 x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

18
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
19. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 41 cosec ( 13 x + π6 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 2 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = 2 4. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

20. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 12 sec ( 2x – π3 ) + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม


ฟังก์ชันของผลบวกหรือผลต่ ำง
cos (A + B) = cos A cos B – sin A sin B
cos (A – B) = cos A cos B + sin A sin B
sin (A + B) = sin A cos B + sin B cos A
sin (A – B) = sin A cos B – sin B cos A
tan (A + B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
tan (A – B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
cot (A + B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
cot (A – B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
19
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลคูณเป็ นผลบวก
2 sin A cos B = sin (A + B) + sin (A – B)
2 cos A sin B = sin (A + B) – sin (A – B)
2 cos A cos B = cos (A + B) + cos (A – B)
2 sin A sin B = cos (A – B) – cos (A + B)

ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลบวกเป็ นผลคูณ


sin A + sin B = 2 sin A2B . cos A2 B
sin A – sin B = 2 cos A2B . sin A2 B
cos A + cos B = 2 cos A2B . cos A2 B
cos A – cos B = – 2 sin A2B . sin A2 B

ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น 2A


sin 2A = 2 sin A cos A
sin 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cos 2A = cos2A – sin2A
cos 2A = 2 cos2A – 1
cos 2A = 1 – 2 sin2A
tan 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cot 2 A = cot2 cot 2 A 1
A

ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น A2


sin A2 =  1  cosA 2
cos A2 =  1  2cosA
tan A2 =  11  cos cosA
A

20
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
cos(A + B ) = =
cos(A – B ) = =
sin(A + B ) = =
sin(A – B ) = =
21. sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

22. cos 75o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

23. ค่าของ cos( π9 ) cos ( 18π ) – sin ( π9 ) sin ( 18π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 12 4. 23

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)

tan(A + B ) = = =

tan (A – B ) = = =

cot(A + B ) = = =

cot (A – B ) = = =
21
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
24. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. tan (45o + A) = 11  tanA
tanA ข. 1tan20 o  tan25o = 1
 tan20 o tan25o
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 cosA sinB = …...…(A + B) – ……..(A – B) = …...…(A + B) – ……..(A – B)
2 cosA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 sinA. sinB = …...…(A – B) – ……..(A + B) = …...…(A – B) – ……..(A + B)

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA . cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 sinA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
25. จงหาค่าของ 2 sin75o cos15o
1. 1 2 3 2. 1 2 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

26. จงหาค่าของ sin 45o . cos 15o


1. 3 4
1 2. 3 4
1 3. 3 
2
1 4. 3 
2
1

22
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
sinA + sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
sinA – sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA + cosB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA – cosB = –2…….. A2B ……… A2 B =

27. จงหาค่าของ sin 75o + sin 15o


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

28. จงหาค่าของ cos 75o – cos 15o


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin2A
sin2A
cos2A
cos2A
cos2A
tan2A
cot2A
23
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
29. ถ้า cos x = 73 แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

30. ถ้า sin x = 4


5
แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

31. ถ้า tan x = 12 แล้ว tan 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 43 2. – 43 3. 43 4. 43

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin A2 = = =
cos A2 = = =
tan A2 = = =

24
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
32. ค่าของ cos 15o เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 3 2. 2 3 3. 2 3 4. 2 3
2 2

33(แนว มช) ถ้า cos 70o = k เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว แล้ว sin 35o มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. k 2 1 2. – k 2 1 3. 1 2 k 4. – 1 2 k

8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ


8.7.1 เอกลักษณ์
เอกลักษณ์ตรี โกณมิติ คือสมการตรี โกณมิติซ่ ึงเป็ นจริ งเสมอ
เช่น cos2  + sin2  = 1
สมการนี้เป็ นจริ งเสมอไม่วา่  จะมีค่าเป็ นเท่าใดก็ตาม สมการนี้จึงเรี ยกเอกลักษณ์ตรี โกณมิติ
34. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) tan  cot  – cos2  = sin2 
b) cos  ( tan + cot ) = csc 
c) csc x – sin x = cos x cot x
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

25
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
35. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) tan2  – sin2  = tan2  sin2 
(ข) sin2  tan  + cos2  cot  + 2 sin  cos  = tan  + cot 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

36. ถ้า A + B + C = 180o จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


(ก) sin A = sin (B + C) (ข) cos A = – cos(B + C)
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
สมการตรี โกณมิติ คือสมการที่มีฟังก์ชนั ตรี โกณมิติปรากฏอยู่
ขั้นตอนการแก้สมการตรี โกณมิติเบื้องต้น
ขั้นที่ 1 หาว่าคาตอบจะอยูใ่ นควอดรันต์ที่เท่าใด
ขั้นที่ 2 หาคาตอบพื้นฐาน โดยไม่ตอ้ งสนใจค่าบวกและลบของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
ขั้นที่ 3 หาคาตอบจริ งในควอดรันต์ที่หาไว้จาก
ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 2 = 180o – ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2
26
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

ตัวอย่ำง จงแก้สมการ sin  = – 23


แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่องจากค่า sin  เป็ นลบ แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3 และ 4
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ sin  = 23
จะได้  = 60o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 60o = 240o
ในควอร์ ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2 = 360o – 60o = 300o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 240o , 300o }
ตัวอย่ำง จงแก้สมการ tan  = 1
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่ องจากค่า tan  เป็ นบวก แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 และ 3
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ tan  = 1
จะได้  = 45o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2 = 45o
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 45o = 225o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 45o , 225o }
ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้
1. sin  = 12 2. cos  = – 23 3. tan  = – 3

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = – 23 2. cos  = 12 3. tan  = 1

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = 1 2. sin  = 0 3. sin  = –1 4. cos  = 1 5. cos  = 0 6. cos  = –1

27
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้
1. sec  = –2 2. cot  = 1 3. cosec  = – 2
3 3

37. ถ้า 0o    360o แล้วผลบวกคาตอบของสมการ 2 sin  – 1 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. 90o 2. 180o 3. 270o 4. 360o

38. ถ้า 0o    360o แล้วสมการ 3 tan2  – 1 = 0 มีคาตอบกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

39. ค่าของ x จากสมการ 4 cos x = 3 sec x เมื่อ 0o  x  360o มีกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

40. ค่า  ที่เป็ นคาตอบของสมการ sin2  – 3cos2  = 0 เมื่อ 90o    180o มีกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

28
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
41. ถ้า 0    2 แล้ว คาตอบของสมการ 2 cos2  + cos  = 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้
1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , 32π , 23π , 43π } 4. { π2 , π3 , π4 , π6 }

42. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – sin  – 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

43. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – 3 cos  = 3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

เทคนิค กำรแก้ สมกำรตรีโกณมิติของมุม 2 , 3 , 4 , ……


ขั้นที่ 1 หาค่า n  ในช่วง 0  x  2 ก่อน
ขั้นที่ 2 หากต้องการหาคาตอบของ n ให้นา 2 , 4 , 6 , ..... , 2n บวกมุมจากขั้น 1
ขั้นที่ 3 นา 2 , 3 , 4 , .... , n หารตลอด

29
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
44. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ sin 3x = 0 มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

45. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ 2 cos 2x = 1 มีคา่ เท่ากับข้อใด


1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
f = { (x , y)  y = sin x , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั ไซน์
f–1 = { (x , y)  x = sin y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
f–1 = { (x , y)  y = arcsin x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
g = { (x , y)  y = cos x , 0  x   } ฟังก์ชนั โคไซน์
g–1 = { (x , y)  x = cos y , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
g–1 = { (x , y)  y = arccos x , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
h = { (x , y)  y = tan y , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  x = tan y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คแทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  y = arctan x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arc ของจำนวนจริงทีม่ ีค่ำเป็ นลบ
arccos ( –x ) = 180o – arccos ( x )
arcsin ( –x ) = – arcsin ( x ) = 360o – arcsin ( x )
arctan ( –x ) = – arctan ( x ) = 360o – arctan ( x )
30
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arccot , arcsec , arccosec
arccot (x) = arctan ( x1 )
arcsec (x) = arccos ( x1 )
arccosec (x) = arcsin ( x1 )
สู ตรทีค่ วรทรำบเกีย่ วกับ arc
arcsin (x) = arccos ( 1  x 2 )
arccos (x) = arcsin ( 1  x 2 )
sin (arcsin x) = x เมื่อ –1  x  1
cos (arccos x) = x เมื่อ –1  x  1
tan (arctan x) = x เมื่อ –   x  +
arcsin (sin x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arccos (cos x) = x เมื่อ 0 x
arctan (tan x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arcsin x + arccos x = π
2
arctan x + arccot x = π
2
arcsec x + arccosec x = π
2
arctan A + arctan B = arctan 1AA.B
B

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin ( 12 ) 2) arccos ( 23 ) 3) arctan ( 1 )
3

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (1) 2) arcsin (0) 3) arcsin (–1)
4) arccos (1) 5) arccos (0) 6) arccos (–1)

31
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (– 22 ) 2) arctan (–1) 3) arccos (– 22 )

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsec (2) 2) arccosec ( 2 ) 3) arccot ( 3 )
3

46. ค่าของ tan (arccos 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

47. ค่าของ cos (arctan 125 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 135 2. 12
13 3. 125 4. 1

48. ค่าของ sin (arctan [– 409 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 40
41 2. – 419 3. 4041 4. 419

32
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
49. ค่าของ tan (arccos [– 40
41 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
41
1. – 40 2. – 409 3. 4041 4. 419

50(แนว มช) sin [ 2 arctan (– 125 ) ] มีค่าเท่ากับค่าในข้อใด


1. – 12
13 2. 1213 3. 120
169 4. – 120
169

51(แนว En) cos (2 arcsin 1 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


3
1. 13 2. 12 3. 2 4. 3

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) tan arc tan (–1) 2. tan arc cot (– 3 ) 13 )
3) cos arc sec (– 12

4) sin arc cosec 2 5) cos arc sin 45  6) sin arc cos 45 

7) cos  – arc cos x  8) cos (arccos 7 ) 9) sin (arccosec 1 )


9

33
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
52(แนว มช) arcsin (sin 150o) มีคา่ เท่ากับค่าในข้อใด
1. 30o 2. 150o 3. 210o 4. 330o

53(แนว En) sec  12 (arcsin 35 + arccos 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 1 + 2 4. 2 + 3

54(แนว En) tan  12 (arcsec 45 + arccosec 45 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

55(แนว En) ถ้า arccos x – arcsin x = π6 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 2

34
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
56(แนว A–Net) sin (arctan 2 + arctan 3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 1 3. 1 4. 12
2 2

8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์


พิจารณาสามเหลี่ยมที่มีมุมเป็ น A , B , C และมีดา้ นตรงกันข้ามแต่ละมุมยาวเท่ากับ a ,
b และ c ตามลาดับ ดังรู ป
กฎของไซน์ กล่ำวว่ำ
a b c
sinA  sin B  sin C
กฎของโคไซน์ กล่ำวว่ำ A
c
a2 = b2 + c2 – 2bc cos A
b
b 2 = a2 + c2 – 2ac cos B B

c 2 = a 2 + b2 – 2ab cos C
a
สู ตรสำหรับหำพืน้ ทีร่ ู ปสำมเหลีย่ ม C
1
พื้นที่ ABC = 2 ab sin C
พื้นที่ ABC = 12 bc sin A
พื้นที่ ABC = 12 ac sin B
57. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 120o ,
B = 45o , b = 5 2 แล้ว a มีค่า
a=?
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ b=5 2
1. 5 2. 5 3 120 o 45 o
3. 10 4. 10 3 A B

35
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
58. ในสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 2 , b = 2 2 และ A = 30o แล้ว แล้วมุม B มีขนาดเท่าใด
1. 45o 2. 90o 3. 135o 4. ข้อ 1. และข้อ 2. ถูก

59. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า Â = 60o , b = 40 และ c = 60 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 10 2. 10 7 3. 20 4. 20 7

60. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B̂ = 120o , a = 4 และ c = 6 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 2 2. 2 19 3. 4 4. 4 19

36
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.10 กำรหำระยะทำงและควำมสู ง
61. พิเชษฐ์ยนื อยูห่ ่างจากตึกหลังหนึ่ง 18 เมตร มองเห็นยอดตึกและเสาอากาศซึ่ งอยูบ่ นยอดตึกเป็ น
มุมเงย 30o และ 60o ตามลาดับ แล้วความสู งของเสาอากาศในหน่วยเป็ นเมตร
1. 6 2 2. 6 3 3. 12 2 4. 12 3

62. เรื อสองลาทอดสมออยูห่ ่างกัน 60 เมตร และอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกับประภาคาร ทหารใน


เรื อแต่ละลามองเห็นยอดประภาคารเป็ นมุมเงย 45o และ 30o จงหาว่าเรื อลาที่อยูใ่ กล้ประภาคาร
อยูห่ ่างจากประภาคารกี่เมตร
1. 10 ( 3 +1 ) 2. 20 ( 3 +1 ) 3. 30 ( 3 +1 ) 4. 40 ( 3 +1 )

37
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
เฉลยบทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 3.



38
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 8 ฟังก์ชน ั ตรี โ กณมิ ติ ชุ ด ที่ 1
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก
1(มช 33) ถ้า sin  = – 35 และ tan  > 0 แล้วค่าของ sec  – cosec  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 121 2. 125 3. 127 11
4. 12
8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม
2(En41 เม.ย.) tan  11
12  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 1  3 3. 1  3 4. 3
1 3 1 3 1 3 1 3
3(แนว Pat 1) ถ้า cos – sin = 35 แล้วค่าของ sin 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 134 2. 139 3. 49 4. 139
4(แนว Pat 1) ค่าของ sin30
sin10 o  cos10o  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
o cos30o
1. –1 2. 1 3. 2 4. –2
5(แนว Pat 1) ถ้า 1 – cot 20o = x แล้ว x มีค่าเท่าใด
1  cot 25
6(En48 มี.ค.) ถ้า sin22 3A  cos22 3A = 2 แล้ว cos 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
sin A cos A
1. 4 1 1
2. 2 3. 1 4. 1
2 3
7(En46 ต.ค.) ถ้า sin A 2 cos A
sin B = 3 และ cos B = 2
1 แล้ว tan2 B มีค่าเท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. 4 2. 23 3. 1 4. 23
39
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

8(En 38) กาหนดให้ cos ( + ) = 3 10 4 3 และ cos ( – ) = 3 104 3 ค่า ข อ ง


sin 2 sin 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1225 3 2. 625 3 3. 6 253 4. 1225 3

9(En44 ต.ค.) ถ้า sin 15o + sin 55o = x และ cos 15o + cos 55o = y แล้ว (x + y)2 – 2xy
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 cos2 20o 2. 2 cos2 20o
3. 4 cos2 40o 4. 2 cos2 40o

10(En 40) กาหนดให้ 5 cos 3A cosA + 5 sin 3A sin A = –3 เมื่อ 0  A  2


ข้อใดต่อไปนี้คือค่าของ tan A
1. 21 2. 1 3. 23 4. 2

8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ


8.7.1 เอกลักษณ์
8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
11(En 40) กาหนดให้ x  0 , 4 เซตคาตอบของสมการ cos x = 3 (1 – sin x) คือ
ข้อใดต่อไปนี้
1. 6 , 56 , 136 2. 56 , 2 , 136
3. 6 , 2 , 136 , 52 4. 6 , 56 , 2 , 54

12(En42 ต.ค.) cos A  0  A  4


3 และ 5 – 3 sin 3A มีค่ามากที่สุด เป็ นสับเซตของ
เซตในข้อใดต่อไปนี้
1. { – 12 , 0 , 23 } 2. { – 23 , – 12 , 0 }
3. { 0 , 12 , 23 } 4. { – 23 , – 12 , 23 }

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
13(มช 31) arcsin 1 + arcsin (– 12 ) + arctan ( 1 ) มีค่าเท่ากับข้อใด
3
1. 2 2. 3 3. 2 3 4. 56
40
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

14(มช 35)  + arccos 23 + arctan (–1) มีค่าเท่ากับ ...............


1. 2 2. 3 3. 7π12 4. 11π
12
arcsin(12 )  arcsin(1)
15(มช 41) จงหาค่าของ
arccos (  2 3 )
1. –1.6 2. –0.8 3. 0.8 4. 1.6

16(En46 ต.ค.) 1 + cos ( 2 + (arccos 45 – arctan 43 ) ) เท่ากับเท่าใด

17(แนว Pat1) ถ้า (sin  + cos )2 = 23 เมื่อ 0    4 แล้ว arccos (tan 3) มีค่า เท่าใด

18(En48 มี.ค.) ถ้า tan (arccos x) = – 3 แล้ว ค่าของ x sin (2arccos x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.  43 2.  12 3. 12 4. 43

19(En41 เม.ย.) ให้ arccos 45 + arcsin 12 


13 + X = 2 แล้ว tan X มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16
63 2. 636 3. 6316 4. 636

20(En 39) ค่าของ tan  2 arcsin   1   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


  5 
1. –1 2. 1 3. 43 4. – 43

21(En47 มี.ค.) ค่า sin 2 arctan 12  + cot2  arcsin 13  เท่ากับเท่าใด

22(มช 26) จงหาค่า sin (2 tan–1 x2 )


1.  2x 24  2.  2x 22  3.  2x  4.  2x 4 
1 x  1 x   1  x2   1  x4 

23(En 39) ค่าของ tan [ 2 arcsin (– 1 ) ] เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


5
1. – 1 2. 1 3. 43 4. – 43
24(มช 34) จงหาค่า sin [2 arccos (– 35 ) ]
1. 16
25 2. 24
25 3.  16
25 4.  24
25
25(En41 ต.ค.) sec (2 arcsin 1 ) มีค่าเท่ากับเท่าใด
3
41
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
26(En42 มี.ค.) ให้ A เป็ นเซตคาตอบของสมการ cos (2 arc sin x) + 2 = 4 sin2 (arc cos x)
ข้อใดต่อไปนี้คือผลคูณของสมาชิกในเซต A
1. – 14 2. – 14 3. 14 4. 14
27(En46 มี .ค.) ถ้า arccos x – arcsin x = π6 แล้ว arccos x – arctan 2x มี ค่ า เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้

1. 12 2. 5 3. 7 4. 11
12 12 12
28(แนว Pat1) ถ้า arcsin (5x) + arcsin (x) = π2 แล้วค่าของ tan ( arcsin x ) เท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. 15 2. 13 3. 1 4. 12
3
 แล้ว
29(แนว Pat1) ให้ –1  x  1 เป็ นจานวนจริ งซึ่ง arccos x – arcsin x = 2552
 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ไป
ค่าของ sin ( 2552
1. 2x 2. 1 – 2x2 3. 2x2 – 1 4. –2x
30(En 38) เซตคาตอบของสมการ arctan (1 + x) + arctan (1 – x) = 4 เป็ นสับเซตของ
เซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (–4, 0) 2. (–3, 1) 3. (–2, 2) 4. (–1, 3)
31(En 40) จานวนสมาชิ ก ของเซตค าตอบของสมการ arccos (x – x 2) = arcsin x + arcsin(x – 1)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์


32(แนว Pat1) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มีมุม A เท่ากับ 60o , BC = 6 และ
AC = 1 ค่าของ cos (2B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 41 2. 12 3. 23 4. 43

33(En47 ต.ค.) กาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีดา้ น BC ยาว 3 หน่วย ด้าน AC ยาว


2 หน่วย ถ้ามุม B = arctan  1  แล้วค่าของ sin (A + B) + sin (A – B) เท่ากับเท่าใด
 3
42
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
34(En41 เม.ย.) ให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมดังรู ป ค่า sin2 B2 เท่ากับในข้อใดต่อไปนี้
A
1. 283
2. 287
5 7
3. 12
28
21
4. 28
C 8 B

35(แนว Pat 1) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมและ D เป็ นจุดกึ่งกลาง BC ถ้า AB = 4
หน่วย AC = 3 หน่วย และ AD = 25 หน่วย แล้วด้าน BC ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6



เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 8 ฟังก์ชนั ตรี โ กณมิ ติ ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบ 2 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบ 1.28
17. ตอบ 0 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบ 8.8 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบ 3 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบ 0.75 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 3.



43
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
รู ปภาพต่อไปนี้ เป็ นรู ปแสดงพิกดั ฉากสามมิติตามกฏมือขวา
Z

(x,y,z)
O Y

แกน +Z จะมีทิศไปตามนิ้วหัวแม่มือ
แกน +X จะมีทิศตามหน้ามือ
แกน +Y จะมีทิศมาตามแขนขวา ดังรู ป
จุด ( x , y , z ) คือจุดซึ่ งอยูห่ ่ างจากจุด O มาตามแนวแกน X เท่ากับ x หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Y เท่ากับ y หน่วย
และอยูห่ ่างจากจุด O มาตามแนวแกน Z เท่ากับ z หน่วย
การหาระยะระหว่ างจุด 2 จุด บนพิกดั สามมิติ
หากจุด ( x1 , y1 , z1) และ ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุ ดซึ่ งอยู่บ นพิ ก ัด 3 มิ ติ ระยะห่ า ง
ระหว่างจุดทั้งสองสามารถหาค่าได้จากสมการ
d = (x1  x 2 ) 2  (y1  y 2 ) 2  (z1  z 2 ) 2
เมื่อ d คือระยะห่างระหว่างจุดทั้งสองนั้น

1
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.2 เวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์ คือปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาด และทิศทางจึงจะสมบูรณ์
ปริมาณสเกลลาร์ คือปริ มาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียวก็สมบูรณ์ได้
โดยทัว่ ไปแล้วเราจะใช้ลูกศรเขี ยนแทนเวกเตอร์ ท้ ังขนาดและทิ ศทางของเวกเตอร์ และใช้
อักษรแทนจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ และอาจใช้อกั ษรจุดเริ่ มต้นกับจุดสุ ดท้ายนั้นมาเขียน
เป็ นชื่ อของเวกเตอร์ ก็ได้ นอกจากนี้ การเรี ยกชื่ อของเวกเตอร์ น้ นั อาจใช้อกั ษรเพียงตัวเดี ยวแทนชื่ อ
ของเวกเตอร์ ก็ได้ดงั รู ป
B C
v
A u
D
AB อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" CD อ่านว่า "เวกเตอร์เอบี" u อ่านว่า "เวกเตอร์ย"ู v อ่านว่า "เวกเตอร์ว"ี
สาหรับความยาวของเวกเตอร์ใดๆ อาจเขียนแทนด้วย   ได้เช่น
 AB  แทนความยาวของเวกเตอร์ AB
 u  แทนความยาวของเวกเตอร์ u
เวกเตอร์ ศูนย์ ( Zero Vector ) คือเวกเตอร์ ที่มีขนาดเท่ากับ 0 และมีทิศใดๆ ก็ได้ เขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ 0
นิยามเบื้องต้ นของเวกเตอร์
นิยาม 1 u และ v จะขนานกันก็ต่อเมื่อ
u และ v มีทิศเดียวกันหรื อตรงกันข้าม

นิยาม 2 u และ v จะเท่ากันก็ตอ่ เมื่อ


เวกเตอร์ ท้ งั สองมีขนาดเท่ากันและมีทิศเดียวกัน

นิยาม 3 นิเสธของ u คือเวกเตอร์ที่มี


ขนาดเท่ากับขนาดของ u แต่มีทิศทางตรงกัน
ข้ามกับขนาดของ u เขียนแทนด้วย – u

2
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
โปรดสั งเกต
1) u จะขนานกับ – u เสมอ
2) ปกติแล้ว u  – u ยกเว้น u = 0 จะได้วา่ u = – u
3) – AB = BA
– DC = CD
PQ = – QP
ST = – TS
การบวกเวกเตอร์
นิยาม ถ้าจุดปลายของ u เป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ v แล้ว u + v คือเวกเตอร์ซ่ ึงมี
จุดตั้งต้นเป็ นจุดเดียวกับจุดตั้งต้นของ u และมีจุดสิ้ นสุ ดเป็ นจุดจุดเดียวกับจุดสิ้ นสุ ดของ v
ตัวอย่าง

คุณสมบัติของการบวกเวกเตอร์
ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ แล้ว
(1) u + v เป็ นเวกเตอร์ ในระนาบเดียวกับ u , v
(2) u + v = v + u
(3) ( u + v ) + w = u + ( v + w )
(4) 0 + u = u และ u + 0 = u
(5) u + (– u ) = 0 และ (– u ) + u = 0
(6) ถ้า u = v แล้วจะได้ u + w = v + w
(7) u  k ไม่มีความหมาย เมื่อ k เป็ นสเกลลาร์ เช่น u + 8 ไม่มีความหมาย
การลบเวกเตอร์
นิยาม ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระนาบ
แล้ว u – v และ u + (– v )
จะเห็นว่าการลบเวกเตอร์ ก็คือการบวกด้วยนิ เสธของ
เวกเตอร์ น้ นั ๆ นัน่ เอง

3
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ฝึ กทา. จงเขียนเวกเตอร์ PQ ให้อยูใ่ นรู ปผลบวก ลบ ของเวกเตอร์ a , b หรื อ c
1. Q
2. b 3. Q
4. b
a a c
c
b P
b P
P P Q
a Q a
PQ =................ PQ =................ PQ =................ PQ =................

1. จากรู ปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง


A B
1. AB + BC = AC
2. AE + ED = AB + BD F C

3. AF + FE + ED = AC + CD E D

4. AC + CD + DE = AF + FD

2. กาหนดจุด A , B , C , D , E และ F บนระนาบ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


(ก) DC + BA + CB + AD = 0
(ข) AB + DE + BC + EF + CA + FD = 0
(ค) AB – DC + BC – FE + DE – AF  0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 1 ข้อ 2. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกเพียง 2 ข้อ
3. ข้อความ (ก) – (ค) ถูกทุกข้อ 4. ข้อความ (ก) – (ค) ผิดทุกข้อ

การคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลลาร์
นิยาม ให้ a เป็ นจานวนจริ งและ u เป็ นเวกเตอร์ ผลคูณระหว่าง a และ u เป็ น
เวกเตอร์ที่เขียนแทนด้วย a u โดยที่
1) ถ้า a > 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a u
และมีทิศทางเดียวกับ u
2) ถ้า a < 0 แล้ว a u จะมีขนาดเท่ากับ a  u 
และมีทิศตรงกันข้ามกับ u
3) ถ้า a = 0 แล้ว a u = 0
4
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
คุณสมบัติของการคูณเวกเตอร์ ด้วยสเกลาร์
ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ใดๆ a และ b เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
(1) a u เป็ นเวกเตอร์
(2) a (b u ) = ( a b) u = b (a u )
(3) (a + b) u = a u + b u
(4) a ( u + v ) = a u + a v
(5) 1u = u
3. ในรู ป ABC เส้น AD เป็ นเส้นมัธยฐาน BA = a
และ BD = b จงหาว่า CA คือข้อใด
1. a 2. a – b
3. a – 2 b 4. a + 2 b

4. จากรู ป BD : DC = 1 : 2 จงเขียน AD ในเทอม


ของ u และ v
1. 2 u  v 2. 2 u  v
3 3
3. v  u 4. v  u
2 2

5. ถ้า  AC  :  CB  = 5 : 2 แล้ว จงเขียน OC ในรู ป O


ของ u และ v
v
1. 2 u  3
5v 2. 2 u  v u
3
3. 2 u  5v 4. 2 u  v 5 2
7 7 A C B

5
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
6(แนว Pat 1) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มี D เป็ นจุดบนด้าน AC และ F เป็ นจุดบน
ด้าน BC ถ้า AD = 14 AC , BF = 13 BC และ DF = a AB + b BC แล้ว
4a + 24b เท่ากับเท่าใด

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติน้ นั เราอาจเขียนสัญลักษณ์แทนเวกเตอร์ ใดๆ ในรู ป x 
 y 

โดยที่ x คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึ งจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ ในแนวนอน ถ้า x มีค่าเป็ น


บวกแสดงว่ามีทิศไปทางขวามือ ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศไปทางซ้ายมือ
และ y คือความยาวจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของเวกเตอร์ ในแนวดิ่ง ถ้า y มีค่าเป็ นบวก
แสดงว่ามีทิศขึ้นไปด้านบน ถ้ามีค่าเป็ นลบแสดงว่ามีทิศลงไปทางด้านล่าง
ตัวอย่าง

ถ้าเวกเตอร์ AB มีจุดเริ่ มต้นอยูท่ ี่จุด A (x1 , y1)


B (x2 , y2)
และจุดสุ ดท้ายอยูท่ ี่ B (x2 , y2) จะได้วา่
x  x 
AB =  2 1 
y 2  y1  A (x1 , y1)
6
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ฝึ กทา. จงวาดรู ปคร่ าวๆ ของเวกเตอร์ ต่อไปนี้
2   4   2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1    4    5 

7. กาหนดจุด A (1 , 2) และ B (3 , 4) แล้ว AB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2   4  2   2 
1.   2.   3.   4.  
 3   1   2    2 

9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


x 
 
เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ จะเขียนอยูใ่ นรู ป y 
 
 z 
เมื่อ x คือความยาวตามแนวแกน X จากจุดเริ่ มต้น
y คือความยาวตามแนวแกน Y จากจุดเริ่ มต้น
z คือความยาวตามแนวแกน Z จากจุดเริ่ มต้น
ถ้า A ( x1 , y1 , z1) และ B ( x2 , y2 , z2) เป็ นจุดตั้งต้นและจุดปลายของ AB ใดๆ แล้ว
x  x 
 2 1
จะได้วา่ AB = y  y 
 2 1
z  z 
 2 1
8. ให้ P มีพิกดั เป็ น (3 , 4 , –4 ) และ Q มีพิกดั เป็ น (5 , 0 , 7 ) แล้ว PQ คือข้อใดต่อไปนี้
 2   2  2   2
   4   4   4
1.  4  2.   3.   4.  
 11    11  11    11

7
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ

บทนิยาม เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ


a  d 
a  c     
     b  e 
การเท่ากัน  b  d     
 c   f 
ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ก็ต่อเมื่อ a = d , b = e และ c = f
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การบวกเวกเตอร์          b    e    b  e 
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a  d  a  d 
a   c  a  c       
การลบเวกเตอร์          b  e  b  e
   
 b  d   b  d       
 c   f   c  f 
a  a   a  a 
การคูณเวกเตอร์          
 b  b   b  b
ด้ วยสเกลาร์    
เมื่อ  เป็ นจานวนจริงใดๆ  c  c 
0 
0   
เวกเตอร์ ศูนย์ เวกเตอร์ ศูนย์ คือ   เวกเตอร์ ศูนย์ คือ 0 
0   
0 

 3
9. กาหนดให้ CD =   และ C (2 , 3) แล้วพิกดั ของจุด D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 
1. (1 , 4) 2. (–1 , 4) 3. (1 , –4) 4. (–1 , –4)

 5
10. ก าหนดให้ A (–1 , 3) , B (x , y) , C (4 , 6) และ AB =   แล้ว BC เท่ ากับ
 4
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
10   10   10    10 
1. BC =   2. BC =   3. BC =   4. BC =  
 1   1   1   1 

8
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย
เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย คือเวกเตอร์ ที่มีความยาวหนึ่งหน่วยไม่วา่ จะมีทิศใดก็ตาม
1  0 
ในระบบพิกดั ฉากสองมิติเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่ i =   และ j =  
0  1 
a 
ควรทราบว่า   = a i + b j
b
ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ เวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ควรรู ้จกั ได้แก่
1  0  0 
     
i = 0  , j = 1  และ k = 0 
     
0  0  1 
a 
 
ควรทราบว่า  b  =a i +b j + c k
 
 c 

1  3 
11. OA =   , OB =   , O เป็ นจุดก าเนิ ดในระบบแกนมุ มฉาก แล้ว AB เท่ากับ
4  2 
เวกเตอร์ ขอ้ ใดต่อไปนี้
1. –2 i + 2 j 2. 2 i – 2 j 3. 2 i + 2 j 4. –2 i – 2 j

0  18 
12. กาหนดให้ OA =   ; OB =   และ P เป็ นจุดๆ หนึ่งบน AB และ
10  22 
AP : PB = 1 : 3 แล้ว OP เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 i + 18 j 2 . 54 i  15 j 3. 3 i + 17 j 4. 9 i  13 j
7 7 2

9
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.4 เวกเตอร์ ที่ขนานกัน
a  c 
ถ้า   ขนานกับ   จะได้วา่ ab = dc
b d 
a  d 
   
และ ถ้า  b  ขนานกับ e  จะได้วา่ a : b : c = d : e : f
   
 c   f 

13. กาหนดให้ u = a i – 2 j และ v = 2 i – 3 j ถ้า u ขนานกับ v แล้ว a มีค่า


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 43 3. 23 4. 23

14. กาหนดให้ u = a i + 3 j + b k , v = 2 i – 2 j + k ถ้า u ขนานกับ v แล้ว


2 a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –6 2. – 15
2 3. 6 4.

9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
กาหนด ความยาวของ u เขียนแทนด้วย  u 
a  a 
และ ถ้า u =   แล้ว  u  =   = a2  b2
b  b 
a  a 
   
ถ้า u = b แล้ว  u  = b = a 2  b2  c 2
   
 c   c 

10
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ฝึ กทา. จงหาขนาดของเวกเตอร์ ต่อไปนี้
3  5 2  1 
4  , 6 , 1  , 3
       

1 
 
15. ขนาดของเวกเตอร์ 1  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
3
1. 5 2. 10 3. 11 4. 13

16. ถ้า u = a i + 12 j และ  u  = 13 แล้ว a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 2.  5 3. 10 4.  10

ควรทราบเพิม่ เติม
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางเดียวกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และมีทิศทางตรงข้ามกับ u
k
เวกเตอร์ที่มีความยาว k หน่วย = u
u
และขนานกับ u
17. เวกเตอร์ที่มีขนาด 10 หน่วย และทิศเดียวกับ 3 i – 4 j คือข้อใดต่อไปนี้
1. 3 i + 4 j 2. 3 i – 4 j 3. – 3 i + 4 j 4. – 3 i – 4 j

11
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
18(แนว Pat1) กาหนดให้ u  3 i  4 j
ถ้า w  a i  b j โดยที่ w มีทิศตรงกันข้ามกับ u
และ  w  = 10 แล้ว a – b เท่ากับเท่าใด

 1  3
19. ให้ u =  2  , v =  2  แล้วเวกเตอร์ 2 หน่วย และมีทิศทางเดียวกับ u – 2 v คือ
   
เวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1. 10 i + 4 j 2. 10 i – 4 j
29 29 29 29
3. – 10 i + 4 j 4. – 10 i – 4 j
29 29 29 29

20(แนว En) ก าหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ ย มมี D เป็ นจุ ด บนด้า น AB ซึ่ งแบ่ ง AB เป็ น
อัตราส่ วน  AD  :  DB  = 3 : 2 , CA = 3 i – 2 j และ CB = 2 i + 3 j แล้ว
5 CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 11 3. 13 4. 14

12
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง
a 
 
ถ้า u =  b  โคไซน์แสดงทิศทางของ u คือจานวนสามจานวนเรี ยงลาดับดังนี้
 
 c 
a , b , b โดยที่  u   0
u u u

21. กาหนดให้ a = 3 i + 4 j + 5 k โคไซน์แสดงทิศทางของ a คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 , 4 , 5 2. 35 , 45 , 1
2 2 2
3. 3 , 4 , 5 4. 23 , 2 , 25
5 2 5 2 5 2

เวกเตอร์ สองเวกเตอร์ จะมีทิศทางเดียวกัน ก็ต่อเมื่อ มีโคไซน์แสดงทิศทางชุ ดเดียวกัน และ


จะมีทิศทางตรงกันข้าม ต่อเมื่อโคไซน์แสดงทิศทางเทียบแต่ละแกนของเวกเตอร์ หนึ่ งเป็ นจานวนตรง
ข้ามกับโคไซน์แสดงทิศทางของอีกเวกเตอร์ หนึ่ง
ฝึ กทา. จงตรวจสอบว่าเวกเตอร์ ต่อไปนี้ คูใ่ ดมีทิศเดียวกัน
ก. เวกเตอร์ PQ มีจุดเริ่ มต้นที่ P ( 1 , 2 , 3 ) และ จุดสิ้ นสุ ดที่ Q (2 , –3 , 5)
ข. เวกเตอร์ OR ซึ่งมีจุดเริ่ มต้นที่จุดกาเนิ ดและจุดสิ้ นสุ ดที่ R (–3 , 15 , –6 )
ค. a = 2 i – 10 j + 4 k

9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
ผลคูณเชิงสเกลลาร์ของ u และ v เขียนแทนด้วย u  v
a  x 
ถ้า u =   และ v =   จะได้วา่ u  v = a x + b y
 b   y 
a  x 
   
ถ้า u =  b  และ v = y  จะได้วา่ u  v = a x + b y + c z
   
 c   z 

13
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
22(แนว En) ถ้า C เป็ นจุ ดกึ่ ง กลางของเส้ น ตรงที่ เชื่ อมจุ ด A (3 , –1) และ B (–1 , 3) แล้ว
เวกเตอร์ ที่มีขนาดเท่ากับ AC  CB และมีทิศทางเดียวกับ AB คือข้อใดต่อไปนี้
1. –4 i + 4 j 2. 4 i – 4 j
3. –4 2 i + 4 2 j 4. 4 2 i – 4 2 j

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิ งสเกลาร์


1. ให้ u , v และ w เป็ นเวกเตอร์ ใดๆ ในสองมิติ หรื อสามมิติ และ a เป็ นสเกลาร์ จะได้ว า่
1.1 u . v = v . u
1.2 u . (v  w)  u .v  u .w
1.3 a(u . v)  (au) . v  u .(av)
1.4 0 . u  0
1.5 u . u  u 2
1.6 i . i  j. j  k . k = 1
i . j  i.k  j . k  0
2. ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u และ v ซึ่ง 0    180o แล้ว u . v = u v cos
( มุมระหว่างเวกเตอร์ หมายถึงมุมที่ไม่ใช่มุมกลับ ซึ่ งมีแขนของมุมเป็ นรังสี ที่ขนาน และมี
ทิศทางเดียวกันกับเวกเตอร์ท้ งั สอง)
3. ถ้า u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์ u ตั้งฉากกับ v ก็ต่อเมื่อ u . v = 0
23. ให้ u เป็ นเวกเตอร์ที่มีความยาว 12 หน่วย และ v เป็ นเวกเตอร์ ซ่ ึ งยาวหนึ่งหน่วย
และ v ทามุม 60o กับ u จงหา u  v
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10

14
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
24. ให้ a = i – j , b = 4 i ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b แล้วค่าของ  คือข้อใด
1. 0o 2. 30o 3. 45o 4. 60o

1  - 1
25. จงหาค่า a ที่ทาให้เวกเตอร์ a  ตั้งฉากกับเวกเตอร์ 6 
   
1. 6 2. 16 3. –6 4. – 16

26(แนว มช) ให้ A  3i  4 j จงหาเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่ต้ งั ฉากกับ A


4/5   4/5   4/5
1. 3/5  2.   3.   4. ข้อ 1. และข้อ 2.
   3/5   3/5 

27(แนว En) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ เมื่อ u , v เป็ นเวกเตอร์ ถ้า  u  =  v   0 แล้ว


( u – v ) . ( u + v ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

28(แนว En) ให้ a = 3 i + 4 j และ a  ( a – b ) = 23 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a และ b


แล้ว  b  cos  มีค่าเท่าใด
1. 13
5 2. 95 3. 75 4. 25

15
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ควรทราบเพิม่ เติม
1) u  v 2 = u 2 + v 2 + 2u v
2) u  v 2 = u 2 + v 2 –2u v
3) u  v 2+ u  v 2 = 2 u 2 +2 v 2
4) u  v 2– u  v 2 = 4u v
5) ( u + v ) ( u – v ) = u 2 – v 2

29. ถ้า  u  = 10 ,  v  = 6 ,  u – v  = 14 แล้ว มุมระหว่าง u . v มีคา่ เท่ากับข้อใด


1. 30 2. 60 3. 80 4. 90

30. ถ้า u + v + w 0 ,  u  = 5 ,  v  = 12 และ  w  = 13 แล้วมุมระหว่าง


u กับ v มีค่ากี่องศา
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 120o

31(แนว En) ถ้า u  v = 5 และ u = 2 และมุ ม ระหว่าง u และ v เป็ น 60 องศา แล้ว
u + v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 12 3. 29 4. 39

32(แนว En) ถ้า  u + v  = 32 และ  u – v  = 24 แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 6 3. 8 4. 12

16
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
33(แนว En) ถ้า  u  = 4 ,  v  = 3 และ  u + v  = 14 แล้ว  u – v  เท่ากับข้อใด
1. 6 2. 14 3. 11 4. 11
2

34(แนว Pat 1) ก าหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ มีขนาดหนึ่ งหน่ วย ถ้าเวกเตอร์ 3 u + v ตั้ง
ฉากกับเวกเตอร์ u + 3 v แล้วเวกเตอร์ u – v มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 หน่วย 2. 3 2 หน่วย 3. 2.4 หน่วย 4. 3.2 หน่วย

9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
บทนิยาม ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของเขียนแทนด้วย u x v อ่านว่าเวกเตอร์ ยูครอสเวกเตอร์ วี
 a1   b1 
   
ถ้า u  a 2
  และ v  b 2 
   
a  b 
 3  3
a b a b 
 2 3 3 2
แล้ว u x v = a b a b 
 3 1 1 3
a b  a b 
 1 2 2 1
a2 a3 a1 a3 a a2
หรื อ u x v = i j 1 k
b2 b3 b1 b 3 b1 b2

ทิศทางของ u x v สามารถหาได้จาก ux v

กฎมือขวา โดยแบมือขวาแล้วกางหัวแม่มือออก
u
ใช้นิ้วทั้งสี่ ช้ ีไปตามทิศของ u แบหน้ามือไป
ตามทิศของ v แล้วนิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปตามทิศ
ของ u x v ดังรู ป v

17
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
35. กาหนดให้ u   i  3 k , v  i  3j  4 k แล้ว u x v มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 i + 7 j – 3 k 2. –9 i + 7 j – 3 k
3. 9 i – 7 j – 3 k 4. –9 i – 7 j – 3 k

สมบัติทสี่ าคัญของผลคูณเชิงเวกเตอร์
1. กาหนด u , v , w เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในสามมิติ และ k เป็ นจานวนจริ งใด ๆ
1.1 u x v = – ( v x u )
1.2 ( u + v ) x w = ( u + w ) + ( v x w )
1.3 u x ( v + w ) = ( u + v ) + ( u x w )
1.4 u x (k v ) = k( u x v )
1.5 (k u ) x v = k( u x v )
1.6 u x u = 0
1.7 i x j  k , j x k  i , k x i  j
2. ให้ u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ใด ๆ ในสามมิติ จะได้วา่ u .( v x w ) = ( u x v ). w
3. ถ้า u  0 และ v  0 จะได้วา่ u x v  u v sin 
เมื่อ  เป็ นมุมระหว่าง u และ v , 0o    180 o
4. ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ในสามมิติ ซึ่ งไม่ใช่เวกเตอร์ ศูนย์และไม่ขนานกัน
จะได้วา่ u x v ตั้งฉากกับ u และ v
36(แนว Pat1) กาหนดให้ u i  3k

v  2 j  xk เมื่อ x เป็ นจานวนจริ ง
และ w  3 i  j  k
ถ้า u , v และ w อยูบ่ นระนาบเดียวกันแล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –12 2. –8 3. 8 4. 16

18
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การใช้เวกเตอร์ ในการหาพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
จากรู ป  เป็ นมุมระหว่ าง u กับ v
v v sin 
 u  sin  คือส่ วนสู งของรู ปสี่ เหลีย่ มด้ านขนาน

ดังนั้น พืน้ ทีส่ ี่ เหลี่ยมด้ านขนาน = ฐาน x สู ง u
= u v sin
= uxv
37. กาหนดให้ AB = i  3j  4k และ AD = 3i  2j  k แล้วพื้นที่ ของรู ปสี่ เหลี่ ยม
ด้านขนาน ABCD มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 3 2. 11 3 3. 8 4. 10

38(แนว มช) กาหนดหมอนสามเหลี่ยมดังรู ป


B
ถ้า AB = –4 i  j  3k และ
AC   2i  j  2k แล้ว 2 ฟุต
A C
ปริ มาตรของหมอนสามเหลี่ยมเท่ากับข้อใด
1. 7.5 ลูกบาศก์ฟุต 2. 15 ลูกบาศก์ฟุต
3. 22.5 ลูกบาศก์ฟุต 4. 30 ลูกบาศก์ฟุต

19
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
การใช้เวกเตอร์ในการหาปริ มาตรของทรงสี่ เหลี่ยมด้านขนาน

กำหนดทรงสีเ่ หลีย่ มด้ ำนขนำนซึง่ มี u , v และ r เป็ นด้ ำน ดังรูป


u
vx r
h
r
v

จะได้ ว่า ปริมาตรของสี่ เหลี่ยมด้ านขนานทรงตัน = | u . (v x r) |


ข้ อสั งเกต 1) u . (v x r)  r . (u x v)  v . (r x u)
2) ถ้ า u , v และ r อยู่บนระนาบเดียวกัน แล้ วจะได้ ว่า u .( v x r ) = 0
3) จากเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ ใดๆ ถ้ าทราบว่าเวกเตอร์ เท่ากันสองเวกเตอร์
ผลคูณของ u .( v x v ) = v .( r x r ) = r ( u x u ) = 0

39. ทรงสี่ เหลี่ ยมด้านขนานที่มี u = i + j , v = j + k , r = i + k เป็ นด้านจะมี ปริ มาตรกี่


ลูกบาศก์หน่วย
1. 2.0 2. 4.0 3. 5.5 4. 6.07

20
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
เฉลยบทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบ 1 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบ 2 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 1.



21
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ ชุดที่ 1
9.1 ระบบพิกดั ฉากสามมิติ
9.2 เวกเตอร์
1(แนว Pat 1) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มี D เป็ นจุดบนด้าน AC และ F เป็ นจุดบน
ด้าน BC ถ้า AD = 14 AC , BF = 13 BC และ DF = a AB + b BC แล้ว ab เท่ากับเท่าใด
2(En42 มี.ค.) กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมใด ๆ และ E เป็ นจุดที่ทาให้ CE = 2 BA
ถ้า BE = a CB + b CA เมื่อ a , b เป็ นค่าคงตัวแล้ว b – a คือค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 2 3. 3 4. 5
3(แนว Pat 1) ให้ ABCD เป็ นรู ปสี่ เหลี่ ยมด้านขนาน M เป็ นจุดบนด้าน AD ซึ่ ง AM = 15 AD
และ N เป็ นจุดบนเส้นทแยงมุม AC ซึ่ง AN = 16 AC ถ้า MN = a AB + b AD แล้ว
a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2
1. 15 2. 15 3. 13 4. 1
4(En 35) ให้ ABCD เป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส และ M , N เป็ นจุดกึ่งกลางของด้าน BC และ CD
ตามลาดับให้ u = AM และ v = AN แล้ว AB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 u – 12 v 2. 23 u – v 3. 23 u – 12 v 4. 43 u – 23 v

9.3 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉาก


9.3.1 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสองมิติ
9.3.2 เวกเตอร์ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ
9.3.3 เวกเตอร์ หนึ่งหน่ วย
9.3.4 เวกเตอร์ ที่ขนานกัน
9.3.5 ขนาดของเวกเตอร์
5(En 39) ก าหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ ย มมี D เป็ นจุ ด บนด้า น AB ซึ่ งแบ่ ง AB เป็ น
อัตราส่ วน  AD  :  DB  = 3 : 2 และ CA = 3 i – 2 j และ CB = 2 i + 3 j แล้ว
CD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 95 2. 115 3. 135 4. 145
22
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
6(En 44 มี.ค.) ให้ A , B , C เป็ นจุดในระนาบ และ O เป็ นจุดกาเนิด โดยที่
OA = 3 i – 2 j และ OB = 2 i + 5 j
ถ้า AC = 23 AB แล้ว  OC 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 113
9 2. 989 3. 193
9 4. 153
9
7(มช 41) กาหนดให้ u = – i + 2 j และ v = i + 3 j จงหาเวกเตอร์ หน่ วยที่มีทิศทางตรง
ข้ามกับเวกเตอร์ 3 u – v
1. 4 i + 3 j 2. 4 i – 3 j 3. – 4 i + 3 j 4. – 4 i – 3 j
5 5 5 5 5 5 5 5
8(มช 35) จงหาเวกเตอร์ ที่มีขนาด 4 หน่วย และขนานกับผลบวกของเวกเตอร์
 2   1
a =   และ b =  
 3   0
 2    2  2 
1.   2.   3.   4. ข้อ 1 และ 2.
 2 3  2 3   2 3 

9(แนว Pat1) กาหนดให้ u  3 i  4 j


ถ้า w  a i  b j โดยที่ w มีทิศทางเดียวกันกับ u
และ  w  = 10 แล้ว a + b เท่ากับเท่าใด

10(En 39) ก าหนดให้ A , B และ C คื อ จุ ด ที่ มี พิ ก ัด เป็ น (–5 , 0) , (3 , 6) และ 25 ,  15 


ตามลาดับ ถ้า D (a , b) เป็ นจุดที่ทาให้ CD มีทิศทางเดียวกับ AB และขนาดของ CD
เท่ากับ 2 แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 6 3. 295 4. 715
11(มช 32) เวกเตอร์ u  2i  4 j และ v  m  n i  3m  n  j ค่า m และ n เป็ นค่าที่ทา
ให้เวกเตอร์ v มีขนาดเป็ น 2 เท่าของเวกเตอร์ u และมีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของ
เวกเตอร์ u แล้ว m n มีค่าเท่ากับเท่าใด

12(En48 มี.ค.) กาหนดให้ u , v , w เป็ นเวกเตอร์ ที่สอดคล้องกับสมการ u  5v  2w  0


โดยที่ u  3i  4 j และ u ตั้งฉากกับ v ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง u และ w แล้ว
ค่าของ w cos  เท่ากับเท่าใด
23
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
9.3.6 โคไซน์ แสดงทิศทาง
9.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
2 1 
13(En 36) กาหนดให้ u =   ,v =   ถ้า u . w = –11 และ v . w = 8 แ ล้ว
  5  2 
 w – v  มีค่าเท่าใดต่อไปนี้
1. 2 2. 3 3. 5 4. 7

14(En 37) ถ้า C เป็ นจุดกึ่งกลางของเส้นตรงที่เชื่อมจุด A(3 , –1) และ B(–1 , 3) แล้วเวกเตอร์
ที่มีขนาดเท่ากับ AC  CB และมีทิศทางเดียวกับ AB คือข้อใดต่อไปนี้
1. –4 i + 4 j 2. 4 i – 4 j
3. –4 2 i + 4 2 j 4. 4 2 i – 4 2 j

15(En 40) กาหนด A (1 , –1) , B(5 , –4) และ P(2 , 3) เป็ นจุดในระนาบ XY ถ้า Q
เป็ นจุดในระนาบ XY ที่ PQ  2AB แล้ว AP . BQ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –9 2. –1 3. 9 4. 1
   
16(En 40) ให้ u   i  j , v  i  3 j แล้ว เวกเตอร์ w ในข้อใดต่อไปนี้มีขนาด
2 หน่วย และ u . v  v . w
   
1. 52 4 i  3 j  2. 52 4 i  3 j 
   
3. 2 5 i  j  4. 2 5 i  j 
26 26
17(มช 38) ก าหนดให้ A (2 ,–1) , B (–2 , 2) เป็ นจุด 2 จุด และ C เป็ นอีก จุดหนึ่ งที่ ท าให้
AC เป็ นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย AC ทามุม 60o กับ AB จงหา AB AC
1. 0 2. 2.5 3. 5 4. 10
18(En43 มี .ค.) ก าหนดให้ u = i  3 j , v = 2 i  j ถ้า  เป็ นมุ ม ระหว่าง ( u + v )
และ ( u – v ) แล้ว cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 15 4. 25
5 5
19(En41 ต.ค.) ให้ u  a i  b j โดย a > 0 ถ้า u ตั้งฉากกับเวกเตอร์  i  2 j แล้ว
มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับเวกเตอร์ 3 i  j (มุมแหลม) มีขนาดกี่องศา
24
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
20(En 44 ต.ค.) ก าหนดให้ จุด A(1 , 1) , B(4 , 10) , C(7 , 9) และ D เป็ นจุ ดที่ อยู่บ นด้าน AB
AD
โดยที่ = 2 ถ้า  คือมุมระหว่าง CA และ DC แล้ว cos  คือค่าในข้อใดต่อไปนี้
AB 3
1. 2 2. 2 3. 2 4. 2
5 10 5 10
21(En 36) จุด A และจุด B มีพิกดั เป็ น (3 , 0) และ (4 , 1) ตามลาดับ และ AC เป็ นเวกเตอร์
ที่เกิดจากการหมุนเวกเตอร์ AB ทวนเข็มนาฬิกาไป 120o ถ้า (a , b) เป็ นพิกดั ของจุด C
แล้ว a + b จะมีค่าเท่าใด

22(มช 50) กาหนดจุด P(0 , –1 , 3) จุด Q (a , 1 , 0) และจุด R (a , –3 , a+3) เมื่อ a เป็ น


จานวนจริ ง ถ้าเวกเตอร์ PQ ตั้งฉากกับเวกเตอร์ PR แล้ว จงหาค่าของ a ที่มากที่สุด

23(En 32) กาหนดให้ u = a i + b j โดยที่ b > 0 ถ้าเวกเตอร์ u ตั้งฉากกับเวกเตอร์


i  2 j และมุม  เป็ นมุมเวกเตอร์ u ทากับเวกเตอร์ i  j แล้ว 9 tan  เท่ากับข้อใด
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

24(En 46 ต.ค.) กาหนดเวกเตอร์ a , b , c ดังนี้


a = 4i –2 j , a + b = 6i +4 j
และ c = c1 i + c2 j โดยที่ c1 > 0 , c2 > 0 และ | c | = 2 17 ถ้า c ตั้งฉากกับ
( a – b ) แล้ว c1 + c2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

25(มช 39) กาหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ถ้า u = 2 , v = 3 และ


u  v = 7 จงหามุมระหว่างเวกเตอร์ u และ v
1. 30o 2. 60o 3. 120o 4. 150o

26(En 39) ถ้า u  v = 5 และ u = 2 และมุ ม ระหว่ า ง u และ v เป็ น 60 องศา แล้ว
u + v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 12 3. 29 4. 39

25
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
27(En41 เม.ย.) ก าหนดให้ A และ B คื อ จุ ด (–10 , 0) และ (2 , 4) ตามล าดับ แบ่ ง ส่ ว นของ
AC
เส้นตรง AB ที่จุด C ด้วยอัตราส่ วน = 13 ถ้า O คือจุดกาเนิดแล้ว โคไซน์ของมุม COB
CB
มีค่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 1 4. 2
10 10 10 10
28(En41 เม.ย.) ให้ a = 2 i – j , b = i + 2 j ถ้า c เป็ นเวกเตอร์ ห นึ่ ง หน่ วยซึ่ งท ามุ ม กับ
เวกเตอร์ a เท่ากับที่ทากับเวกเตอร์ b แล้ว c คือเวกเตอร์ ในข้อใดต่อไปนี้
1.  1 ( i  3 j ) 2.  1 ( i  3 j )
10 10
3.  1 (3 i  j ) 4.  1 (3 i  j )
10 10
        
29(En 46 มี.ค) ถ้า U = 4 i + 3 j ,  V  =  U  และ  U + V  = 8 แล้ว U . V มีค่าเท่าใด

30(En42 มี.ค.) ถ้า  u + v  = 5 2 และ  u – v  = 26 แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 6 3. 8 4. 12

31(En 35) ถ้า  u  = 4 ,  v  = 3 และ  u + v  = 6 แล้ว  u – v  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 14 3. 11 4. 11
2
32(En 44 ต.ค.) ก าหนดให้  U  = 22 ,  U + V  = 5 ,  U – V  = 4 ถ้ า  เป็ นมุ ม
ระหว่าง U และ V แล้ว  อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้
1. 0 , 6  2.  6 , 4  3.  4 , 3  4.  3 , 2 

33(En42 ต.ค.) ถ้า u และ v ทามุมกัน 60o และ  u + v  = 37 ,  u – v  = 13 แล้ว


 u  +  v  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 7 3. 37 4. 50

34(En43 มี.ค.) กาหนดให้  u – v  = 3 และ u . v = –2 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. u + v เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วย ข.  u 2 +  v 2 = 3
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

26
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

35(En 38) กาหนดให้ a  3 i + 4 j และ a  a  b  = 23 ถ้า  เป็ นมุมระหว่าง a


และ b แล้ว b cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.4 2. –0.2 3. 0.2 4. 0.4

36(แนว Pat 1) กาหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย ถ้าเวกเตอร์ u + 2 v


ตั้งฉากกับเวกเตอร์ 2 u + v แล้ว u . v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 45 2. 0 3. 15 4. 35

37(แนว Pat 1) ก าหนดให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ มีขนาดหนึ่ งหน่ วย ถ้าเวกเตอร์ 3 u + v ตั้ง
ฉากกับเวกเตอร์ u + 3 v แล้วเวกเตอร์ 5 u – v มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 หน่วย 2. 3 2 หน่วย 3. 4 หน่วย 4. 4 2 หน่วย

38(แนว Pat1) ให้ u และ v เป็ นเวกเตอร์ ที่ไม่เท่ากับเวกเตอร์ ศูนย์ซ่ ึ ง u ตั้งฉากกับ v และ
u + v ตั้งฉากกับ u – v พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. u + 2 v ตั้งฉากกับ 2 u – v ข.  u  =  v 
ข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

9.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
39(แนว Pat1) กาหนดให้ u i  3k

v  2 j  xk เมื่อ x เป็ นจานวนจริ ง
และ w  3 i  j  k
ถ้า u , v และ w อยูบ่ นระนาบเดียวกันแล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –12 2. –8 3. 8 4. 16

27
สร ุปเข้มคณิตศาสตร์ เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 เวกเตอร์ ในสามมิติ
40(มช 50) กาหนดหมอนสามเหลี่ยมดังรู ป
B
ถ้า AB = –4 i  j  3k และ
AC   2i  j  2k แล้ว 2 ฟุต
A C
ปริ มาตรของหมอนสามเหลี่ยมเท่ากับข้อใด
1. 7.5 ลูกบาศก์ฟุต 2. 15 ลูกบาศก์ฟุต
3. 22.5 ลูกบาศก์ฟุต 4. 30 ลูกบาศก์ฟุต
    
41(แนว Pat1) ให้ u = a i + b j +2 k และ v = 2a i – 3b j โดยที่ a , b เป็ นจานวน
เต็มบวก และ  เป็ นมุมระหว่าง u และ v ถ้า  u  = 3 และ cos  = 13 แล้ว u x v มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
     
1. 6 i + 8 j – 10 k 2. –6 i –8 j + 10 k
     
3. 12 i + 4 j – 10 k 4. –12 i –4 j + 10 k



เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย


บทที่ 9 เวกเตอร์ในสามมิติ ชุดที่ 1
1. ตอบ 9 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบ 14 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบ 3 12. ตอบ 2.5
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบ 45 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบ 2 22. ตอบ 4 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบ 10
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบ 7 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1.


28
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
บทที่ 10 จำนวนเชิงซ้อน
10.1 การสร้ างจานวนเชิงซ้ อน
จานวนเชิ งซ้ อน คือจำนวนที่เขียนอยูใ่ นรู ปของคู่อนั ดับ (a , b) เมื่อ a และ b เป็ นจำนวน
จริ งใดๆ
จำนวนเชิงซ้อนสำมำรถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทย่อย ได้แก่
1. จานวนจินตภาพ คือจำนวนเชิงซ้อน (a , b)  
Y
ซึ่งมีค่ำ a  0 และ b  0 ( คือคู่อนั ดับที่ไม่อยูบ่ นแกน X 4 (0 , 4)
และแกน Y ) เช่น (4 , 5) , (6 , 14) เป็ นต้น (3 , 2)
2
2. จานวนจินตภาพแท้ คือจำนวนเชิงซ้อน (-3 , 0) (2 , 0)
(a , b) ซึ่ งมีค่ำ a = 0 ( คือคู่อนั ดับที่อยูบ่ นแกน Y พอดี ) -2 2 4 X
-2
เช่น (0 , 4) , (0 , –12) เป็ นต้น (0 , -3)
3. จานวนจริง คือจำนวนเชิงซ้อน (a , b) ซึ่งมี
ค่ำ b = 0 (คือ คู่อนั ดับที่อยูบ่ นแกน X พอดี ) เช่น (3 , 0) , (–5 , 0) เป็ นต้น
หมายเหตุ กรณี ที่เป็ นจำนวนจริ ง (a , 0) อำจเขียนเป็ น a ก็ได้ เช่น (3 , 0) อำจเขียนเป็ น 3
หรื อ (–5 , 0) เขียนเป็ น –5 เป็ นต้น
จำนวนจินตภำพแท้ i คือคู่อนั ดับ (0 , 1)
ข้ อต้ องรู้เกี่ยวกับ i
1. ค่ำของ i ต่อไปนี้ เป็ นค่ำพื้นฐำนที่สำคัญ ควรจำให้แม่น
i2 = (0 , 1) x (0 , 1) = ( [0x0 – 1x1] , [0x1 + 1x0] ) = (–1 , 0) = – 1
i3 = ( i )( i2 ) = ( i ) (–1) = –i
i0 = +1
สาหรับค่ า i ยกกาลังสู ง สามารถหาค่ าได้ โดยทาตามขั้นตอนต่ อไปนี้
ขั้น 1 ให้นำหลักสิ บและหลักหน่วยของเลขชี้กำลังมำหำรด้วย 4 เพื่อหำเศษที่เหลือ
ขั้น 2 ให้หำค่ำ i ยกกำลังเศษที่เหลือจำกขั้น 1 มำใช้เป็ นคำตอบ
ตัวอย่าง จงหำค่ำ i8759
แนวคิด ขั้นที่ 1 ให้นำหลักสิ บและหลักหน่วยของเลขชี้กำลัง คือ 59 มำหำรด้วย 4 เพื่อหำเศษ
59 = 14 เศษ 3
4
1
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
ขั้นที่ 2 จะได้วำ่ i8759 = i3 = –i
2. จำนวนเชิงซ้อน (a , b) สำมำรถเขียนได้เป็ น a + bi ได้ และเรำจะเรี ยก a ว่ำเป็ นส่ วน
จริง ( Re ) และเรี ยก b ว่ำเป็ นส่ วนจินตภาพ ( Im ) ของจำนวนเชิงซ้อน
ตัวอย่าง (2 , 3) = 2 + 3i ส่ วนจริ ง คือ 2 , ส่ วนจินตภำพคือ 3
4 , –9) = 4 – 9i ส่ วนจริ ง คือ 4 , ส่ วนจินตภำพคือ –9
(0 , 8) = 0 + 8i = 8i ส่ วนจริ ง คือ 0 , ส่ วนจินตภำพคือ 8
(7 , 0) = 7 + 0i = 7 ส่ วนจริ ง คือ 7 , ส่ วนจินตภำพคือ 0
3. กำรบวก กำรลบ กำรคู ณ จำนวนเชิ งซ้อนที่อยู่ในรู ป a + bi สำมำรถทำได้โดยใช้วิธี
ของพีชคณิ ตธรรมดำดังตัวอย่ำงต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหำผลลัพธ์ของ (3 –2i ) + (4 + 3i ) – 6i
แนวคิด (3 –2i ) + (4 + 3i ) – 6i = ( 3 + 4 ) + (–2i + 3i – 6i) = 7 – 5i
ตัวอย่าง จงหำผลลัพธ์ของ (3 – 2i) . (4 + 3i)
แนวคิด (3 – 2i).(4 + 3i) = 12 + 9i – 8i – 6i2 = 12 + i –6 (–1) = 18 + i
4. หำก a + bi = c + d i จะได้วำ่ a = c และ b = d

1. i24 + i177 + i258 + i4803 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. i 3. 1 + i 4. 1 – i

2. i3 + i4 + i5 + i6 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. –1 3. 0 4. 2

2
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
3(แนว En) ค่ำของ i8 + i9 + i10 + i11 + i12 + i13 +… .. .. + i80 + i81 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. i 3. 1 + i 4. 1 – i

4. ผลลัพธ์ของ (7 – 11i) – (2 + 3i ) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 + 14i 2. 5 – 14i 3. –5 + 14i 4. –5 – 14i

5. ผลลัพธ์ของ (3 + 2i ) . ( 4 + 7i ) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 + 29i 2. 2 – 29i 3. –2 + 29i 4. –2 – 29i

6. กำหนดให้ 2a + b i = 10 ค่ำ a และ b ที่สอดคล้องกับสมกำรนี้เท่ำกับข้อใด


1. a = 5 , b = 5 2. a = 5 , b = 0
3. a = –5 , b = 5 4. a = –5 , b = 0

3
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
10.2 สมบัติพชี คณิตของจานวนเชิงซ้ อน
คุณสมบัติการบวกและการคูณจานวนเชิ งซ้ อน
ถ้ำ C เป็ นเซตของจำนวนเชิงซ้อน และ Z1 , Z2 , Z3 เป็ นสมำชิกของ C
ลาดับที่ คุณสมบัติ การบวก การคูณ
1 ปิ ด Z 1+ Z 2  C Z 1 Z2  C
2 กำรสลับที่ Z1+ Z2 = Z2+ Z1 Z 1 Z 2 = Z 2 Z 1
3 กำรเปลี่ยนกลุ่ม (Z1+ Z2)+ Z3 = Z1+ (Z2+ Z3 ) (Z1Z2)Z3 = Z1(Z2Z3)
4 เอกลักษณ์ คือ 0 คือ 1
เพรำะ Z + 0 = Z เพรำะ Z . 1 = Z
และ 0 + Z = Z และ 1 . Z = Z
5 ตัวผกผัน ตัวผกผันกำรบวกของ Z คือ ( –Z ) ตัวผกผันกำรคูณของ Z คือ Z–1
เพรำะ Z + (–Z) = 0 เพรำะ Z( Z–1 ) = 1
ตัวผกผันกำรบวกของ a + bi = – (a + bi) = –a – bi
หำก z = a + bi
ตัวผกผันกำรคูณของ Z = Z–1 = a2  bi2
a b
ตัวอย่าง จงหำตัวผกผันกำรบวกของจำนวนเชิงซ้อน 5 – 4 i
แนวคิด ตัวผกผันกำรบวกของ 5 – 4i = – (5 – 4i) = –5 + 4 i
ตัวอย่าง จงหำตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน 3 + 4i
แนวคิด (3 + 4 i)–1 = 3  4 i = 3  4 i
32  4 2 25 25

7. จงหำตัวผกผันกำรบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
ก. –4 – 3i ข. 2 + i
1. ก. –4 + 3i ข. 2 – i 2. ก. 4 – 3i ข. –2 + i
3. ก. 4 + 3i ข. –2 – i 4. ก. –4 – 3i ข. 2 – i

4
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
8. ตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน –4 – 3i มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 254 + 253 i 2. – 254 + 253 i 3. 4 + 3 i 4. –4 + 3 i

9. ตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน 3 + 5i มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 343 – 345 i 2. – 343 – 345 i 3. –3 + 5 i 4. –3 – 5 i

สั งยุคของจานวนเชิงซ้ อน
นิยาม สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือจำนวนเชิงซ้อน a – bi
เขียนแทนสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน a + bi ด้วย a  bi
จำกบทนิยำมจะได้ a  b i = a – bi
ฝึ กทา. จงหำค่ำต่อไปนี้
1. 4  3i = …………….. 2. 8  2i = ……………..
3.  9  8i = …………….. 4.  6  3i = ……………..
5. 9i = …………….. 6. 7 = ……………..
สมบัติของสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน
ให้ z , z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน จะได้วำ่
1) Re(z) = 12 (z + z ) และ Im(z) = 2i1 (z – z )
2) z = z
3) ( 1z ) = 1z เมื่อ z  0
4) z1  z 2 = z1  z 2
5) z1  z 2 = z1  z 2
6) z1z 2 = z1z 2
 z1  z1
7)  z  = z เมื่อ z2  0
 2 2
8) ( z n )  ( z )n
5
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
10. ผลลัพธ์ของ 13  2i4i มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 115 + 25 i 2. 115 – 25 i 3. 35 + 45 i 4. 35 – 45 i

11. จำนวนเชิงซ้อน z ที่สอดคล้องกับสมกำร ( 2 – i ) z = 4 + 2 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 6 + 8 i 2. 6 – 8 i 3. 65 + 85 i 4. 65 – 85 i

12. ถ้ำจำนวนเชิงซ้อน z ที่สอดคล้องกับสมกำร z ( 1 + i ) = 4 แล้ว z คือข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 2 i 2. 2 – 2 i 3. 12 + 12 i 4. 12 – 12 i

จาให้ แม่ น (1 + i)2 = 2 i และ (1 – i)2 = –2i


 1 1 
100
13. ค่ำของ   i เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 2 2 
1. 1 2. –1 3. i 4. –i

6
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
จาให้ แม่ น ( a + b 3 i )3 = (–8) a3
( a 3 + b i )3 = (–8)(b i)3
ตัวอย่าง ( 1 + 3 i )3 = (–8) (1)3 = –8
( – 12 + 23 i )3 = (–8) (– 12 )3 = (–8) (– 81 ) = 1
( 3 3 + 2 i )3 = (–8) (2 i)3 = (–8) ( 8 i3) = (–8) ( – 8 i ) = 64 i
(– 23 – 12 i )3 = (–8) (– 12 i)3 = (–8) (– 81 i3) = (–8) (– 81 i ) = i

14(แนว En) ให้ Z = –1 – 3 i แล้ว Z6 – Z 6 เท่ำกับเท่ำใด

15(แนว En) ถ้ำ 2 z3 = 1 + 3 i แล้ว z1827 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


iz
1
1. + i 1 1
2. – i1 3. 2 + 2 i 4. 2 – 2 i
2 2 2 2

10.3 รากทีส่ องของจานวนเชิงซ้ อน


กำหนดจำนวนเชิงซ้อน z = a + b i และ ให้ r  a 2  b 2
จะได้วำ่ รำกที่สองของ z คือ
   r  a  r  a i  เมื่อ b  0
 2 2 
 

   r  a  r  a i  เมื่อ b  0
  2 2 
7
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
16. จงหำรำกที่ 2 ของ 3 + 4 i
1.  (2 + i) 2.  (2 – i) 3.  (3 + 6 i ) 4.  (3 – 6 i )

17(แนว มช) ผลคูณคำตอบของสมกำร x2 + 1 – 3 i = 0 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 + 3 i 2. 1 – 3 i 3. 2 + 2 3 i 4. 2 – 2 3 i

10.4 กราฟและค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิงซ้ อน


จำนวนเชิงซ้อน 3 + 2i แทนได้ดว้ ยจุด ( 3 , 2 ) หรื อแทนด้วยเวกเตอร์ ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็ น
จุดเริ่ มต้น และจุ ด ( 3 , 2 ) เป็ นจุ ดเริ่ มต้น และจุด ( 3 , 2 ) เป็ นจุดสิ้ นสุ ด ส่ วนจำนวนเชิ งซ้อน
อื่นๆ เช่น –3 , 2i , 4 – i , –2 + 3i อำจเขียนแทนได้ดงั รู ป
Y Y

(–2,3) (–2,3)
(0,2) (3,2) (0,2) (3,2)

X X
0 (–3,0) 0
(–3,0) (4 ,–1) (4 ,–1)

ค่ำของจำนวนเชิงซ้อน a + b i ใดๆ คือควำมยำวจำกจุด (0 , 0) ตรงไปถึงจุดจำนวนเชิงซ้อน


นั้น ๆ บนระนำบ XY
ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน a + b i เขียนแทนด้วย  a + b i  ซึ่ งหำค่ำได้จำก
 a + b i  = a2  b2
8
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
ฝึ กทา. จงหำค่ำต่อไปนี้
1.  4 + 3 i  = ………………… ………………… …………………
2.  6 – i  = ………………… ………………… …………………
3.  8  = ………………… ………………… …………………
4.  –7  = ………………… ………………… …………………
5.  5 i  = ………………… ………………… …………………
6.  3 i  = ………………… ………………… …………………
7.  –8 i  = ………………… ………………… …………………

คุณสมบัติสาคัญของค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิ งซ้ อน


ให้ z และ w เป็ นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ แล้ว
z
(1) | z |  0 เสมอ (7) wz = w เมื่อ w  0
(2) | z | = | –z | = z =  z (8) |z+w||z|+|w|
(3) z2 = z . z หรื อ | z | = z  z (9) | z – w |  | z | – | w |
(4) z n = | z |n เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็ม (10) | z | = 0 ก็ต่อเมื่อ z = 0
(5) z 1 = z 1 = 1z เมื่อ z  0 (11) ส่ วนจริ งของ z  | z |
(6) | z w | = | z | | w | และส่ วนจินตภำพของ z  | z |
18(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 และ (5 – 12i) z2 (–3 + 4i) = 130 z
แล้ว  z  ( ค่ำสัมบูรณ์ของ z ) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 12 4. 2
2

9
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
19(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง  (7 – 24 i) (3 + 4 i ) z4  = 500 แล้ว z . z
มีค่ำเท่ำใด

20(แนว มช) ก ำหนดให้ z = x + y i เป็ นจุดใดๆ บนระนำบเชิ งซ้อน จะได้ว ่ำกรำฟของ


สมกำร  z – i  = 2 เป็ นกรำฟรู ปใดต่อไปนี้
1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

10.5 จานวนเชิงซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


จำนวนเชิงซ้อน a + bi อำจเขียนให้อยูใ่ นรู ปเชิงขั้วได้ดงั นี้
a + bi = r . (cos + i sin  )
เมื่อ r =  a + bi  = a 2  b 2
เรี ยกว่ำ argument of z ซึ่ งหำค่ำได้จำก

กรณี ที่ 1 หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 1 กรณี ที่ 2 หำก z อยูบ่ นแกน X พอดี  = 0o
 = tan –1 ba หำก z อยูบ่ นแกน Y พอดี  = 90o
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 2 หำก z อยูบ่ นแกน –X พอดี  = 180o
 = 180o – tan –1 ba หำก z อยูบ่ นแกน –Y พอดี  = 270o
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 3 Y
90o
 = 180o + tan –1 ba 0o
X 180o X
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 4 270o
 = 360o – tan –1 ba Y

10
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
21. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 1 + i คือข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2 (cos 45o + i sin 30o) 2. 3 2 (cos 315o + i sin 315o)
3. 2 (cos 45o + i sin 45o) 4. 2 (cos 315o + i sin 315o)

22. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –2 + 2 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 4 (cos 120o + i sin 120o) 2. 4 (cos 210o + i sin 210o)
3. 10 (cos 120o + i sin 120o) 4. 10 (cos 210o + i sin 210o)

23. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –5 3 – 5 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 4 (cos 120o + i sin 120o) 2. 4 (cos 210o + i sin 210o)
3. 10 (cos 120o + i sin 120o) 4. 10 (cos 210o + i sin 210o)

24. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 3 – 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2 (cos 45o + i sin 30o) 2. 3 2 (cos 315o + i sin 315o)
3. 2 (cos 45o + i sin 45o) 4. 2 (cos 315o + i sin 315o)

11
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
25. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –3i คือข้อใดต่อไปนี้
1. (cos 90o + i sin 90o) 2. 3 (cos 90o + i sin 90o)
3. (cos 270o + i sin 270o) 4. 3 (cos 270o + i sin 270o)

การคูณ และการหาร จานวนเชิ งซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


ทฤษฎีบท ให้ z1 = r1 (cos 1 + i sin 1) และ z2 = r2 (cos 2 + i sin 2)
จะได้วำ่ 1. z1 . z2 = r1 . r2 [cos (1+2) + i sin (1+ 2)]
2. z1 = r1 (cos 2 – i sin 2)
2 2
z1 r1
3. z = r [cos(1– 2) + i sin (1– 2)]
2 2
4. z1 = r1 [cos(–1) + i sin (–1)]
26. ถ้ำกำหนด z1 = 2 (cos 25o + i sin 25o) และ z2 = 3 (cos35o + i sin35o)
แล้วค่ำของ z1 . z2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + 3 3 i 2. 3 – 3 3 i 3. –3 + 3 3 i 4. –3 – 3 3 i

27. ถ้ำกำหนด z1 = 6 (cos110o + i sin110o) และ z2 = 2 (cos80 + i sin80)


z
แล้วค่ำของ z12 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + 3 3 i 2. 3 – 3 3 i 3. 3 23 + 23 i 4. 3 23 – 23 i

12
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
การยกกาลัง จานวนเชิ งซ้ อนในรู ปเชิ งขั้ว
ทฤษฎีบท ถ้ำ z = r . (cos  + i sin ) และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก
จะได้ zn = rn . (cos n + i sin n)
28. ถ้ำ z = 2 (cos 30o + i sin 30o) แล้วค่ำของ z3 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + i 2. 3 – i 3. 8 i 4. –8 i

29(แนว En) ให้ Z1 = cos12o + i sin 12o และ Z2 = –cos 16o – i sin 16o แล้วสังยุคของ
Z
 Z1 15 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2
1. 1 2 3i 2. 12 3i 3.  23i  i 4.  23i  i

10.6 รากที่ n ของจานวนเชิงซ้ อน


ทฤษฎีบท ถ้ำ z = r . (cos  + i sin )
r cos (n  360n o k)  i sin (n  360n o k)
n
แล้วรำกที่ n ของ z =
เมื่อ k  0 , 1 , 2 ,…, n –1

13
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
30. เซตคำตอบที่สอดคล้องกับรำกที่ 3 ของ –64 คือข้อใดต่อไปนี้
1. { 2 + 2 3 i , –5 , –2 + 2 3 i } 2. { 2 + 2 3 i , –6 , 2 – 2 3 i }
3. { 2 + 2 3 i , –7 , –2 + 2 3 i } 4. { 2 + 2 3 i , –4 , 2 – 2 3 i }

31. คำตอบในควอดรันต์ที่ 2 ของสมกำร z4 = 2 + 2 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 2 (cos 105o + i sin 105o) 2. 2 (cos 135o + i sin 135o)
3. 2 (cos 105o + i sin 105o) 4. 2 (cos 135o + i sin 135o)

10.7 สมการพหุนาม
กำรแก้ส มกำรพหุ น ำมในระบบจำนวนเชิ ง ซ้ อ นสำมำรถท ำได้ห ลำยวิธี เช่ น กำรแยกตัว
ประกอบ กำรใช้สูตร กำรจัดให้เป็ นกำลังสองสัมบูรณ์ เป็ นต้น รำยละเอียดของกำรแก้สมกำรพหุ
นำมให้ศึกษำจำกตัวอย่ำงต่อไปนี้
32. กำหนดให้ x เป็ นรำกของสมกำร x2 – 6x + 45 = 0 แล้วค่ำของ | x | เท่ำกับข้อใด
1. 3 2. 5 3. 3 5 4. 5 5

14
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
33(แนว Pat1) กำหนดให้ z1 , z2 , z3 เป็ นรำกของสมกำร z3 – 2z2 + 2z = 0 แล้ว
| z1 | + | z2 | + | z3 | มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2i 2. 1 – i 3. 1 + i 4. 2i

34(แนว En) กำหนดให้ A = { xC  x3 – 2x2 + 9x – 18 = 0 }


B = { xC  x4 – 81 = 0 }
เซต B – A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. {–3 , –2 , 3} 2. {–3 , 2 , 3} 3. {2 , 3} 4. {3 , –3}

35(แนว Pat1) จำนวนเชิงซ้อน z = 1 + i เป็ นคำตอบของสมกำรในข้อใดต่อไปนี้


1. z4 – 2z2 + 4z = 0 2. z4 – 2z2 – 4z = 0
3. z4 +2z2 – 4z = 0 4. z4 + 2z2 + 4z = 0

15
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
โดยทัว่ ไปแล้วสมกำรพหุ นำมดี กรี สู ง ( ตัวแปรยกก ำลังสู ง ) มักจะมี คำตอบหลำยคำตอบ
หำกต้องกำรหำว่ำ เมื่ อนำคำตอบทั้งหมดมำบวกกันหรื อมำคูณ กัน จะได้ค่ำเท่ำใด อำจหำได้จำก
สู ตรต่อไปนี้
ผลบวกของคำตอบ = สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 2
สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 1
ผลคูณของคำตอบ = (–1)กำลังสู งสุ ดของพหุนำม ( ค่าคงตัว )
สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 1
36. ให้  และ  เป็ นคำตอบของสมกำร z2 + (2i – 3) z + (5 – i) = 0 แล้วข้อใดถูก
1.  +  = 3 – 2i ;   = 5 – i 2.  +  = –1 + 4i ;   = –5 – i
3.  +  = –1 + 2i ;   = 1 + 5 i 4.  +  = –3 – 4i ;   = –1 + 5 i

37(แนว มช) ถ้ำ 2i เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร x3– 3x2 + 4x –12 = 0 แล้ว จงหำผลบวกของ
คำตอบที่เหลือทั้งหมดของสมกำรนี้
1. 3 + 2i 2. 3 – 2i 3. 1 + i 2. 1 – i

16
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
ทฤษฎีบท กำหนด P(x) = 0 เป็ นสมกำรพหุ นำมกำลัง n เมื่อ n  1
และมี “สัมประสิ ทธิ์ ของตัวแปรเป็ นจำนวนจริ ง”
“ ถ้ำ a + b i เป็ นรำกของสมกำร แล้ว a – b i จะเป็ นรำกของสมกำรด้วย
เมื่อ a และ b เป็ นจำนวนจริ ง โดยที่ b  0 ”
ทฤษฎีบท กำหนด P(x) = 0 เป็ นสมกำรพหุ นำมกำลัง n เมื่อ n  1
และมี “สัมประสิ ทธิ์ ของตัวแปรเป็ นจำนวนตรรกยะ”
“ ถ้ำ a + b เป็ นรำกของสมกำร แล้ว a – b ก็จะเป็ นรำกของสมกำรด้วย
เมื่อ a เป็ นจำนวนตรรกยะ และ b เป็ นจำนวนอตรรกยะ ”
38. สมกำรที่มีจำนวนเชิงซ้อน 8 + 3 i และ 8 – 3 i เป็ นคำตอบของสมกำร คือสมกำรใด
1. x2 + 16x + 67 = 0 2. x2 – 16x – 67 = 0
3. x2 + 16x – 67 = 0 4. x2 – 16x + 67 = 0

39. กำหนด x3 + ax2 – bx + c = 0 โดยที่ a , b , c เป็ นจำนวนจริ ง ถ้ำ 1 + 2 i และ –1


เป็ นคำตอบของสมกำรนี้ แล้วค่ำ a + b + c เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7

40(แนว Pat1) ฟังก์ชนั f (x) = x3 + ax2 + bx + c มี (x – [1 + i] ) และ (x + 2) เป็ นตัว


ประกอบของ f(x) แล้ว (x – 1) หำร f (x) เหลือเศษเท่ำไร

17
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
เฉลยบทที่ 10 จำนวนเชิงซ้อน
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบ 0 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบ 2 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบ 3



18
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ ำ มหำวิ ท ยำลัย
บทที่ 10 จำนวนเชิงซ้อน ชุ ด ที่ 1
10.1 การสร้ างจานวนเชิงซ้ อน
10.2 สมบัติพชี คณิตของจานวนเชิงซ้ อน
1(En44 มี.ค.) กำหนดให้ z = i9 + i10 + … + i126 เมื่อ i2 = –1 แล้ว 2z–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 + i 2. 1 – i 3. –1 + i 4. –1 – i

2(En41 ต.ค.) ถ้ำ Z เป็ นจำนวนเต็มเชิงซ้อนซึ่ง (1+ i) ( Z 1 ) = –1 แล้วส่ วนจริ งของ จำนวน
เชิงซ้อน Z (Z– Z )15 เท่ำกับข้อใด
1. – 23 2. 23 3. – 12 4. 12
12
3(En 38) ส่ วนจริ งของจำนวนเชิงซ้อน 12i i  คือข้อใดต่อไปนี้
1. –64 2. –16 3. 16 4. 64

4(En44 ต.ค.) ให้ Z = –1 – 3 i แล้ว Z6 + Z 6 เท่ำกับเท่ำใด

5(En44 มี.ค.) ถ้ำ 2 z3 = 1 + 3 i และ z18 = a + bi เมื่อ a , b เป็ นจำนวนจริ ง แล้ว


i  z27
a + b มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

10.3 รากทีส่ องของจานวนเชิงซ้ อน


6(มช 37) จงหำเซตคำตอบของสมกำร x2 + 1 – 3 i = 0 โดยเขียนคำตอบในรู ป a + bi
1.   22  26 i  2.   22  26 i 
   
3.  12  12 i 4.  12  12 i

10.4 กราฟและค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิงซ้ อน


7(En 35) ให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ และ z1 เป็ นสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน z1
จงพิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
ก.  z1  =  z1 ข. z1 + z2  = z1 +  z2  ค. z1. z2  = z1 . z2
19
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก หรื อ ข้อ ข หรื อข้อ ค ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ ก และ ข้อ ข เท่ำนั้นที่ถูก
3. ข้อ ข และ ข้อ ค เท่ำนั้นที่ถูก 4. ข้อ ก และ ข้อ ค เท่ำนั้นที่ถูก

8(มช 31) (2  3 i)  (3  4 i )  (1  i) มีค่ำเท่ำกับ ..............


( 6  i)  (1  i)

9(En 39) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 และ (5 – 12i) z3 (–3 + 4i) = 130 z แล้ว  z 
(ค่ำสัมบูรณ์ของ z) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 12 4. 2
2
10(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจ ำนวนเชิ ง ซ้ อ นซึ่ ง  (7 – 24i ) (3 + 4i ) z6  = 1 แล้ว z z มี ค่ ำ
เท่ำใด
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5

11(แนว Pat1) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z4 + 1 = 0 ค่ำของ z  1z 2 จะเท่ำกับ


ข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

12(แนว Pat1 ) ให้ z1 , z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1z2 = 2i และ z11 = cos 6 – i sin 6
 z1 + 23 z2 2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 5 3. 7 4. 8
2
13(En47 ต.ค.) ถ้ำ z = 3i แล้วค่ำของ zi เท่ำกับเท่ำใด
2 6 3
z z 2
14(แนว Pat1) กำหนดให้ z1 , z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1  z 2 = 3 และ z1 z 2 = 3 + 4i
2 2
ค่ำของ z1  z 2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

20
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
15(แนว PAT1) กำหนดให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง  z1 + z2 2 = 5 และ
 z1 – z2 2 = 1 ค่ำของ  z1 2 +  z2 2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 6 3. 9 4. 12

16(En46 ต.ค.) ให้ z = a + bi ซึ่ง b > 0 ถ้ำ z สอดคล้องกับ z2 2 4z  32 = 1 และ


z  64
z z = 61 แล้ว a + b มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 10 3. 11 4. 12

17(มช 34) ให้ z = x + iy เป็ นจุดใด ๆ บนระนำบเชิงซ้อน จะได้วำ่ กรำฟของสมกำร


z + 1 – i = 2 เป็ นกรำฟรู ปใดต่อไปนี้
1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

18(แนว Pat1) กรำฟของสมกำร (z + i ) ( z – i ) = 4 เป็ นรู ปใดต่อไปนี้


1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

10.5 จานวนเชิงซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


19(มช 42) ให้ z = 8 (cos80o  i sin80 o ) ส่ วนจริ งของ z5 คือค่ำในข้อใดต่อไปนี้
2 (cos56o  i sin56o )
1.  16 3 2. –16 3. 16 4. 16 3
Z
20(En43 มี .ค.) Z1 = cos12o + i sin 12o และ Z2 = –cos 16o – i sin 16o แล้ ว  Z1  15
2
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3i 2. 1  2 3i 3.  3i  i
2 4.  3i  i
2

21(En43 ต.ค.) กำหนดให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่ 2 z1 z 2 = 1 + z 2 และ


 + i sin  )6 ข้อใดต่อไปนี้คืออินเวอร์สกำรคูณของ z
z1 = (cos 18 18 2
1. 12  23 i 2. 12  23 i 3. 3 i 4. – 3 i

22(En42 ต.ค.) ถ้ำ z = –2 + 2 3 i เมื่อ i2 = –1 แล้ว z17 อยูใ่ นควอดรันต์ในข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
21
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน

23(En 39) กำหนดให้ z = 12  23 i ส่ วนจริ งของ 1 5 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1+ z
1. –1 2. – 2
1
3. 21 4. 1
 + isin  4 และ
24(En41 เม.ย.) ถ้ำ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1 = cos 16 16
z 2  2  i  z 2 แล้ว z2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1
1. 1 2. –1 3. i 4. – i

10.6 รากที่ n ของจานวนเชิงซ้ อน


25(En 40) รำกที่ 6 ของ –64 ที่ไม่เป็ นจำนวนจริ ง เป็ นจริ งตำมข้อใดต่อไปนี้
1. มี 4 รำก คือ 3  i และ  2i
2. มี 4 รำก คือ 1  3i และ –1  3i
3. มี 6 รำก คือ 1  3i , –1 3i และ  2i
4. มี 6 รำก คือ 3  i , – 3  i และ  2i

26(En46 มี.ค.) กำหนดให้ z1 , z2 , z3 เป็ นรำกของสมกำร (1 – i ) z3 = 2 โดยที่


z1 , z2 , z3 อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 , 2 , 3 ตำมลำดับ z1 z3 + z 22 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2i 2. 2i 3. –2 4. 2

27(En47 มี .ค.) ถ้ำ Z1 และ Z2 เป็ นรำกของสมกำร ( Z – 2 3 )3 = –8i ซึ่ งมี ข นำดเป็ น
จำนวนเต็มแล้ว Z1 + Z2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. – 3 – i 2 3–i 3. 3 3 – i 4. 3 3 + i

28(En45 มี.ค.) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อน ถ้ำ –1 + 3 i เป็ นรำกที่ 5 ของ z แล้ว รำก
ที่ 2 ของ z คือจำนวนในข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 (– 3 – i) , 2 2 ( 3 + i )
2. 2 2 (–1 – 3 i ) , 2 2 (1 + 3 i )
3. 2 2 (– 3 + i ) , 2 2 ( 3 – i )
4. 2 2 (–1 + 3 i ) , 2 2 (1 – 3 i )

22
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
10.7 สมการพหุนาม
29(แนว Pat1) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 มีอำร์ กิวเมนต์อยูใ่ นช่วง (0 , π2 )
และสอดคล้องกับ z3 – 2z2 + 2z = 0 แล้ว z4 2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
(z)
1. –2i 2. 1 – i 3. 1 + i 4. 2i

30(En41 เม.ย.) กำหนดให้ A = { xC  x3 – 2x2 + 9x – 18 = 0 }


B = { xC  x4 – 81 = 0 }
เซต B – A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. {–3 , –2 , 3} 2. {–3 , 2 , 3} 3. {2 , 3} 4. {3 , –3}

31(มช 36) ถ้ำ Z3 – 3Z2 + 5Z – 3 = 0 มี Z1 , Z2 , Z3 เป็ นรำกของสมกำรแล้ว จงหำ


Z1 + Z2 + Z3

32(มช 40) ถ้ำ 2i เป็ นค ำตอบหนึ่ งของสมกำร x3– 3x2 + 4x –12 = 0 แล้ว จงหำผลบวกของ
คำตอบที่เหลือทั้งหมดของสมกำรนี้

33(แนว PAT1) เซตคำตอบของสมกำร z2 + z + 1 = 0 เมื่ อ z เป็ นจำนวนเชิ งซ้อน คื อเซตใน


ข้อใดต่อไปนี้
1. { 22 + 22 i , 22 – 22 i } 2. { – 22 + 22 i , – 22 – 22 i }
3. { 12 + 23 i , 12 – 23 i } 4. { – 12 + 23 i , – 12 – 23 i }

34(แนว PAT1) เซตคำตอบของสมกำร z2 + z + 1 = 0 เมื่อ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อน คือเซตในข้อ


ใดต่อไปนี้
1. {–cos120o – i sin120o , cos60o + i sin60o }
2. {cos120o + i sin120o , cos60o + i sin60o }
3. {–cos120o – i sin120o , –cos60o – i sin60o }
4. {cos120o + i sin120o , –cos60o – i sin60o }

23
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
35(En42 ต.ค.) พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
ก. ถ้ำ A = {xR  (1 + i) x3 + (1 + 2 i) x2 – (1 + i) x – (1 + 2 i) = 0} แล้ว A  [–1.5 , 1.5]
ข. ถ้ำ z เป็ นจำนวนจริ งซึ่ง z6 = 18 i แล้ว  z  เท่ำกับ 1
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

36(En48 มี.ค.) พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้


ก. เซตคำตอบของ x4 – 2x3 + x2 + 4x – 6 = 0 คือ { 2 , – 2 , 1 + 2 i , 2 + i }
 1  3i 
6  6
ข.  2    2   2 1  3 i 
   
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

37(En46 มี.ค.) กำหนดให้ a , b เป็ นจำนวนจริ ง และ f(x) = x4 – 6x3 + 15x2 + ax + b ถ้ำ
จำนวนเชิงซ้อน 1 + i และ 2 + i เป็ นรำกของ f(x) แล้ว a + b มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –10 2. –8 3. 8 4. 100

38. กำหนด ax3 + bx2 + cx + d = 0 โดยที่ a , b , c , d เป็ นจำนวนเต็มที่ 1 < a < 3 ถ้ำ 1 – i
และ 12 เป็ นคำตอบของสมกำรนี้ แล้วค่ำของ a + b + c + d เท่ำกับข้อใด ต่อไปนี้
1. –1 2. 1 3. 2 4. 4

39(แนว Pat1) ฟั งก์ ชั น f(x) = x3 + ax2 + bx + c มี (x – 1 + i ) และ (x + 2) เป็ นตั ว


ประกอบของ f(x) แล้ว (x – 3) หำร f (x) เหลือเศษเท่ำไร

40(En44 ต.ค.) ถ้ำ 43 + 439 i เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร ax2 – 3x + c = 0 โดยที่ a และ


c เป็ นจำนวนจริ งแล้ว เศษที่เหลือจำกกำรหำร ax2 – 3x + c ด้วย x + 2 เท่ำกับข้อใด ต่อไปนี้
1. 8 2. 12 3. 16 4. 20



24
สรุ ปเข้ มคณิตศาสตร์ เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 10 จานวนเชิงซ้ อน
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ ำ มหำวิ ท ยำลัย
บทที่ 10 จำนวนเชิงซ้อน ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบ 128
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบ 5
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบ 0.5 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบ 3 32. ตอบ 3 – 2i
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบ 25 40. ตอบข้ อ 4.



25
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
12.1 กฏเกณฑ์ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการนับ
การคานวณหาจานวนวิธีที่จะจัดเรี ยงสิ่ งของต่างๆ นั้น อาจทาได้หลายวิธี เช่ นการเขี ยน
แผนภาพต้นไม้ หรื อการใช้กฎการนับ เป็ นต้น
กฎการนับเบื้องต้นได้แก่
กฎข้ อที่ 1 ถ้ามีงาน 2 ชิ้น แต่ละชิ้นทาได้ n1 และ n2 วิธี ตามลาดับ จะได้จานวนวิธี
เรี ยงสับเปลี่ยนทั้งหมดเท่ากับ n1 x n2 วิธี
กฎข้ อที่ 2 ถ้ามีงาน k ชิ้น แต่ละชิ้นทาได้ n1 , n2 , … จนถึง nk วิธี ตามลาดับ จะ
ได้จานวนวิธีเรี ยงสับเปลี่ยนทั้งหมดเท่ากับ n1 x n2 x … x nk วิธี
ตัวอย่าง นายสมชาติมีกางเกง 2 ตัว คือสี แดง และสี เหลือง มีเสื้ ออีก 3 ตัว สี ม่วง สี เขียว และสี ฟ้า
นายสมชาติจะใส่ เสื้ อและกางเกงสลับไปมาเป็ นชุดๆ ได้ท้ งั หมดกี่ชุด
แนวคิด วิธีที่ 1 เขียนแผนภาพต้นไม้
เสื ้อสีมว่ ง

กางเกงสีแดง เสื ้อสีเขียว

เสื ้อสีฟ้า

เสื ้อสีมว่ ง

กางเกงสีเหลือง เสื ้อสีเขียว

เสื ้อสีฟ้า

จากแผนภาพ จะได้วา่ สามารถสวมเสื้ อและกางเกงที่มีสลับไปมาได้ 6 ชุด


วิธีที่ 2 ใช้กฎการนับ
โจทย์ขอ้ นี้มีงานที่ตอ้ งทา 2 งาน จานวนแนวคิดงานแต่ละงานมีดงั ตาราง
งาน เลือกกางเกง เลือกเสื้ อ
จานวนวิธี 2 3
สุ ดท้ายจะได้วา่ จานวนวิธีเรี ยงสับเปลี่ยน ( จานวนชุด ) = 2 x 3 = 6 วิธี (ชุด)

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
1. นายเอกบุรุษมีกางเกง 2 ตัว คือสี แดง สี เหลือง และมีเสื้ ออีก 5 ตัว สี มว่ ง สี เขียว สี ขาว สี ส้ม
และสี ฟ้า นายเอกบุรุษจะใส่ เสื้ อและกางเกงสลับไปมาเป็ นชุดๆ ได้ท้ งั หมดกี่ชุด
1. 5 2. 7 3. 8 4. 10

2(แนว En) ในการเลือกตั้งคณะกรรมการนักเรี ยนจากผูส้ มัครเข้ารับการเลือกตั้ง 6 คน จะมีวธิ ีเลือก


ประธาน รองประธาน และเลขานุการได้กี่วธิ ี ถ้าผูส้ มัครคนหนึ่งไม่สมัครที่จะเป็ นประธาน

3. มีเลข { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 } จะสร้างเลข 3 หลัก โดยไม่ซ้ าได้กี่แบบ


1. 12 2. 24 3. 48 4. 64

12.2 แฟกทอเรียล
บทนิยาม เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวก แฟกทอเรี ยล n หรื อ n แฟกทอเรี ยลหมายถึงผลคูณ
ของจานวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง n
แฟกทอเรี ยล n หรื อ n แฟกทอเรี ยล เขียนแทนด้วย n!
นัน่ คือ n = n (n – 1) . (n – 2) . (n – 3) ……3 . 2 . 1
ตัวอย่าง 5 = 5 . 4 . 3 . 2 . 1 = 120
2
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
4 = 4 . 3 . 2 . 1 = 24
3 = 3.2.1 =6
2 = 2.1 =2
1 = 1 =1
0 = 1 ( เป็ นสิ่ งที่นกั คณิ ตศาสตร์ ตกลงกันไว้ )
–1 = หาค่าไม่ได้
( แฟกทอเรี ยลจะหาค่าได้ตอ้ งเป็ นแฟกทอเรี ยลของจานวนเต็มบวกเท่านั้น )
4. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ ในรู ปไม่มีแฟกทอเรี ยล 75 !!
1. 35 2. 42 3. 48 4. 64

5. จงเขียน (n n !2) ! ในรู ปไม่มีแฟกทอเรี ยล


1. (n + 2) (n + 1) 2. (n + 1) n 3. n (n – 1) 4. (n – 1) (n – 2)

6. ค่า n จากสมการ (n n!2) ! = 42 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –8 2. 5 3. –8 , 5 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก

12.3 วิธีเรียงสั บเปลีย่ น


วิธีการเรียงสั บเปลีย่ น ( Permutation ) เป็ นการจัดเรี ยงสิ่ งของโดยถือลาดับหรื อตาแหน่งของ
สิ่ งของเป็ นสาคัญ หากมีการสลับลาดับหรื อตาแหน่งของสิ่ งของ จะถือว่ารู ปแบบการจัดเรี ยงมีการ
เปลี่ยนแปลงไปด้วย
3
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
ตัวอย่างเช่น มีดินสอสี 3 แท่งซึ่ งมีสีตา่ งกันได้แก่ สี แดง สี เขียว สี ม่วง หากนามาเรี ยงหน้า
กระดานบนโต๊ะ จะเรี ยงสลับสับเปลี่ยนไปมาได้ 6 แบบ ดังนี้
แบบที่ 1) แดง เขียว ม่วง แบบที่ 2) แดง ม่วง เขียว
แบบที่ 3) ม่วง แดง เขียว แบบที่ 4) ม่วง เขียว แดง
แบบที่ 5) เขียว แดง ม่วง แบบที่ 6) เขียว ม่วง แดง
จากตัวอย่างนี้ จะเห็ นได้วา่ ในการจัดเรี ยงแต่ละรู ปแบบนั้น หากตาแหน่ งของดิ นสอต่างกัน
จะถื อว่าเป็ นการจัดเรี ยงคนละแบบกันทันที การจัดเรี ยงสิ่ งของโดยถื อตาแหน่ งของสิ่ งของเป็ น
สาคัญเช่นนี้ จะเรี ยกเป็ นการเรี ยงสับเปลี่ยน ( Permutation )
หมายเหตุ หากการจัดเรี ยงสิ่ งของไม่ถือลาดับหรื อตาแหน่ งของสิ่ งของเป็ นสาคัญ จะเรี ยก
เป็ นการจัดหมู่( Combination ) เช่นการจัดดินสอสี 9 แท่ง ใส่ ถุงถุงละ 3 แท่ง เป็ นต้น
7. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็ นการเรี ยงสับเปลี่ยน ( Permutation )
1. ปลูกต้นไม้ 5 ต้น เรี ยงหน้ากระดาน
2. นักวิง่ 5 คน วิง่ เข้าเส้นชัยได้อนั ดับต่างๆ
3. เลือกประธานและรองประธาน จากกรรมการ 8 คน
4. ถุงใบหนึ่งมีลูกแก้วสี 15 ลูกต่างๆ กัน เอามือกาขึ้นมา 3 ลูกโดยสุ่ มพร้อมกัน

3.3.1 วิธีเรียงสั บเปลีย่ นเชิงเส้ น


ตัวอย่างของเรี ยงสับเปลี่ ยนเชิ งเส้ นเช่ น การเรี ยงสิ่ งของเป็ นแถวหน้ากระดาน หรื อการ
สลับ สั บ เปลี่ ย นตัวอัก ษรในค าว่า ANT เป็ นต้น ซึ่ งการค านวณหาจานวนรู ป แบบของการเรี ย ง
สับเปลี่ยนเชิงเส้นอาจทาได้โดยใช้กฎต่อไปนี้
กฎข้ อที่ 3 หากมีสิ่งของ n ชิ้น แล้วนามาเรี ยงทีละ n ชิ้น จะได้
จานวนวิธีเรี ยงสับเปลี่ยน = Pn , n = n !

8. นักวิง่ แข่ง 4 คน จะวิง่ เข้าเส้นชัยอันดับต่างๆ กัน ได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี


1. 12 2. 24 3. 36 4. 42

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
9. จานวนวิธีที่แตกต่างกันที่จะจัดเรี ยงตัวอักษรจากคาว่า PHYSIC ให้เป็ นคาใหม่โดยใช้ตวั อักษร
ทั้งหมด (ไม่สนใจความหมายของคา) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 120 2. 240 3. 360 4. 720

กฏข้ อที่ 4 หากมีสิ่งของ n ชิ้น แล้วนามาเรี ยงทีละ r ชิ้น จะได้


จานวนวิธีเรี ยงสับเปลี่ยน = P n , r = (nn!r)!

10. จานวนวิธีที่จะจัดเรี ยงนักเรี ยนชาย 7 คน เข้าแถวหน้ากระดานทีละ 3 คน มีค ่าเท่ากับข้อใด


1. 120 2. 210 3. 320 4. 480

11. ในการวิง่ แข่งมีผวู ้ งิ่ 5 คน แต่วง่ิ ถึงเส้นชัยเพียง 3 คน อยากทราบว่าจะมีผชู้ นะที่ 1 , 2 และ


3 ได้กี่วธิ ี
1. 24 2. 36 3. 60 4. 64

12. มีตาแหน่ งงานว่างอยู่ 5 ตาแหน่ ง สาหรับชาย 3 ตาแหน่ ง สาหรับหญิง 2 ตาแหน่ ง ถ้ามี


ผูส้ มัครเป็ นชาย 7 คน หญิง 4 คน จะมีวธิ ี บรรจุคนเหล่านั้นเข้าทางานได้กี่วธิ ี
1. 1280 2. 2520 3. 3080 4. 4220

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
13. มีชาย 3 คน และหญิง 2 คน จานวนวิธีที่จะจัดให้คนทั้ง 5 มายืนเป็ นแถว โดยที่ชายทั้ง 3 คน
ต้องยืนติดกัน และหญิง 2 คน ยืนติดกัน มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 24 2. 36 3. 60 4. 64

14(แนว A–Net) จัดคน 6 คน ซึ่งมีนาย A , B และ C รวมอยูด่ ว้ ย เข้านัง่ เรี ยงกันเป็ นแถวตรงโดยที่
B ต้องนัง่ ระหว่างกลาง A กับ C เสมอ จานวนวิธีการจัดที่นงั่ ดังกล่าวมีค่าเท่ากับข้อใด
1. 24 2. 36 3. 48 4. 64

15. นาต้นมะม่วง 4 ต้น มะปราง 2 ต้น มาเรี ยงเป็ นแนวตรงโดยมะปรางทั้ง 2 ต้น เรี ยงติดกัน
จะเรี ยงได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี
1. 120 2. 240 3. 480 4. 720

16. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าต้องการให้มะปรางทั้ง 2 ต้น ต้องไม่เรี ยงติดกัน จะเรี ยงได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี
1. 120 2. 240 3. 480 4. 720

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
กฎข้ อที่ 5 หากต้องการเรี ยงสิ่ งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด จะได้
จานวนวิธีเรี ยงสับเปลี่ยน = n ! . nn!! ...n !
1 2 k
เมื่อ n คือจานวนสิ่ งของทั้งหมด
n1 คือจานวนซ้ าสิ่ งของที่ 1
n2 คือจานวนซ้ าสิ่ งของที่ 2
nk คือจานวนซ้ าสิ่ งของที่ k
17. จานวนวิธีที่จะจัดเรี ยง ตัวอักษร E E E U U U U P P โดยไม่สนใจความหมายของคาที่
ได้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 630 2. 1260 3. 2520 4. 5040

3.3.2 วิธีเรียงสั บเปลีย่ นเชิงวงกลม


กฎข้ อที่ 6 การเรี ยงสิ่ งของ n สิ่ ง เป็ นวงกลมจะได้วา่
จานวนวิธี = (n – 1) !

18(แนว En) จะจัดคน 7 คน เข้านัง่ ประชุมโต๊ะกลมได้กี่วธิ ี


1. 24 2. 120 3. 240 4. 720

19(แนว En) มีหนังสื อภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ วิชาละ 3 เล่ม ซึ่ งต่างกันหมด ต้อง
การจัดหนังสื อทั้งหมดล้อมเป็ นรู ปวงกลม โดยให้หนังสื อวิชาเดี ยวกันอยูต่ ิดกันเสมอ จะทาให้
ทั้งหมดกี่วธิ ี
1. 16 2. 54 3. 432 4. 1296

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
20. ครอบครัวหนึ่งมี พ่อ แม่ และ ลูกอีก 3 คน จะจัดคนทั้งหมดนัง่ รับประทานอาหารรอบโต๊ะ
กลมได้ท้ งั สิ้ นกี่วธิ ี เมื่อกาหนดว่าลูกคนเล็กต้องนัง่ ระหว่างพ่อกับแม่เสมอ
1. 4 2. 12 3. 24 4. 48

21(แนว มช) มีตน้ มะม่วง 5 ต้น และต้นชมพู่ 2 ต้น ซึ่ งแต่ละต้นแตกต่างกันหมด ถ้านาต้น
ไม้ท้ งั หมดมาปลูกรอบสนามหญ้า โดยให้ตน้ ชมพูท่ ้ งั สองต้นอยูต่ ิดกันจะมีวธิ ี ปลูกกี่วธิ ี

22(แนว มช) จากข้อที่ผานมา ถ้านาต้นไม้ท้ ังหมดมาปลูกรอบสนามหญ้า โดยไม่ให้ตน้ ชมพู่อยู่


ติดกันจะมีวธิ ี ปลูกกี่วธิ ี

กฎข้ อที่ 7 หากต้องการเรี ยงสิ่ งของ n สิ่ งเป็ นวงกลมทีละ r สิ่ ง จะได้
จานวนวิธี = (n n!r)! r
8
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
23(แนว En) บ่อปลาแห่งหนึ่งเป็ นวงกลม อนุ ญาตให้เข้าตกปลาได้ทีละ 4 คน โดยให้นัง่ อยูร่ อบบ่อ
ถ้าครอบครัวหนึ่งมากัน 6 คน จะจัดคนในครอบครัวนี้ นัง่ รอบบ่อตกปลาได้กี่วธิ ี
1. 15 2. 24 3. 45 4. 90

สรุปสู ตรเกีย่ วกับการเรียงสั บเปลีย่ น


การเรียงสั บเปลี่ยน (Permutation)
เส้นตรง
มี n ชิ้นเรี ยงทีละ n
จานวนวิธี = Pn.n = n!
มี n ชิ้นเรี ยงทีละ r ชิ้น
จานวนวิธี = P n, r = (n n! r)!

เรี ยงสิ่ งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด


จานวนวิธี = n ! . n n!! .....n !
1 2 k
เมื่อ n คือ จานวนสิ่ งของทั้งหมด
n1 คือ จานวนซ้ าสิ่ งของที่ 1
n2 คือ จานวนซ้ าสิ่ งของที่ 2
nk คือ จานวนซ้ าสิ่ งของที่ k

วงกลม
มี n ชิ้นเรี ยงทีละ n ชิ้น
จานวนวิธี = ( n – 1)!
มี n ชิ้นเรี ยงทีละ r ชิ้น
จานวนวิธี = (n n!r)! r

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
12.4 วิธีจัดหมู่
การจัดหมู่ ( Combination ) เป็ นการจัดเรี ยงสิ่ งของนั้นๆ ไม่ถือลาดับหรื อตาแหน่ งของสิ่ ง
ของเป็ นสาคัญ
การคานวณหาจานวนวิธีของการจัดหมู่สิ่งของต่างๆ สามารถใช้กฎต่อไปนี้ได้
กฎข้ อที่ 8 ถ้าเรานาสิ่ งของ n สิ่ ง มาจัดหมู่ทีละ r สิ่ ง หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า
Combination n , r จะได้วา่

n
จานวนวิธีจดั หมู่ = r = (n n!r)! r!
หมายเหตุ
n

r อาจเขียนเป็ น nCr หรื อ nCr หรื อ Cn , r
อ่านว่า “คอมไบนาชัน่ เอ็นอาร์ ”
24. จานวนวิธีที่จะเลือกคณะกรรมการ 3 คน จากคณะกรรมการ 8 คน จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 28 2. 56 3. 48 4. 96

25. บนเส้ น รอบวงของวงกลมวงหนึ่ งมี จุด 7 จุ ด จะสร้ างรู ป เหลี่ ยมบรรจุ ในวงกลมโดยใช้จุด
เหล่านี้เป็ นจุดยอดมุมได้ท้ งั หมดกี่รูป
1. 35 รู ป 2. 64 รู ป 3. 99 รู ป 4. 121 รู ป

26. มีจุดอยู่ 7 จุด ในจุดเหล่านี้ มี 4 จุด อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดี ยวกัน ถ้าโยงเข้าด้วยกันแล้วจะเกิ ด


สามเหลี่ยมมากที่สุดได้กี่รูป
1. 18 2. 28 3. 31 4. 35

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
27(แนว En) มีหนังสื อภาษาไทย 6 เล่ม และภาษาอังกฤษ 4 เล่ม ซึ่ งแตกต่างกันหมด ต้องการ
เลือกหนังสื อภาษาไทย 3 เล่ม และภาษาอังกฤษ 2 เล่ม จะทาได้กี่วธี ี
1. 60 2. 80 3. 100 4. 120

28. มีดินสอสี ต่างๆ 9 แท่ง จะให้เด็ก 3 คน โดยจะให้คนโต 4 แท่ง คนกลาง 3 แท่ง


คนเล็ก 2 แท่ง จะมีวธิ ี ให้กี่วธิ ี
1. 240 2. 630 3. 1260 4. 2520

29. มีหมวกสี ขาว 6 ใบ และสี ดา 5 ใบ จานวนวิธีที่ จะหยิบ หมวก 4 ใบ แล้วได้หมวกเป็ นสี


เดียวกัน มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 18 2. 20 3. 75 4. 330

30(แนว มช) มี ลู ก แก้วสี แดง 6 ลู ก สี ข าว 6 ลู ก สุ่ ม เลื อ กมา 10 ลู ก จานวนวิธี ที่ จะหยิบ ไห้
ลูกแก้วสี แดงอย่างน้อย 5 ลูก เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.5 2. 36 3. 41 4. 51

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
31. กล่ องใบหนึ่ งมี สลาก 12 ใบ เป็ นสลากที่ถูกรางวัล 4 ใบ นอกนั้นเป็ นสลากที่ ไม่ถูกรางวัล
จานวนวิธีที่หยิบสลาก 3 ใบ แล้วถูกรางวัลอย่างน้อย 1 ใบ ตรงกับค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 80 3. 110 4. 164

32. มีคน 8 คน เป็ นชาย 3 คน หญิง 5 คน เลือกคนมาคราวละ 4 คน ทุกครั้ งที่เลือกต้องมีชาย


อยูด่ ว้ ยเสมอจะทาได้กี่วธิ ี
1. 60 2. 65 3. 70 4. 75

12.5 ทฤษฏีบททวินาม
ทฤษฏีบททวินาม เมื่อ a , b เป็ นจานวนจริ ง และ n , r เป็ นจานวนเต็มบวกใดๆ
โดย 0  r  n จะได้วา่
n n n n
(a + b)n = an +   an –1 b +   an –2 b2 + … +   an –r b r +…. +   a b n –1 + bn
1  2 r   n -1
สาหรับ  n  เรี ยกสั มประสิ ทธิ์ทวินาม
r 
ข้ อสั งเกตจาก (a + b)n
1. จานวนพจน์ที่ได้ท้ งั หมด = n + 1 พจน์
2. ในพจน์ที่ n ใดๆ
เลขชี้กาลังของ b = n – 1
เลขชี้กาลังของ a + เลขชี้ กาลังของ b = n
สัมประสิ ทธิ์ ทวินาม =  n 
 n - 1
12
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
ฝึ กทา จงใช้ทฤษฎีบททวินามในการกระจาย (a + 2b)4

33(แนว มช) พจน์ที่ 5 ของการกระจาย 23  1  6 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


3
60
1. 729 2. 120 3. 160 4. 240
729 729 729

34. ในการกระจาย (2a – b)8 พจน์ที่มี b5 คือพจน์ในข้อใดต่อไปนี้


1. –448 a3 b5 2. –56 a3 b5 3. –78 a3 b5 4. –92 a3 b5

35. ในการกระจาย (x2 + 1x )12 พจน์ที่ไม่มี x คือพจน์ที่เท่าใด


1. 7 2. 8 3. 9 4. 10

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
12.6 ความน่ าจะเป็ นและกฏทีส่ าคัญบางประการของความน่ าจะเป็ น
12.6.1 การทดลองสุ่ ม ปริภูมิตัวอย่ าง เหตุการณ์ และความน่ าจะเป็ น
การทดลองสุ่ ม หมายถึงการทดลองหรื อการกระทาซึ่ งทราบว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลอง
นั้นอาจจะเป็ นอะไรได้บา้ ง แต่ไม่สามารถระบุ ได้แน่ ชดั ว่าในการทดลองแต่ละครั้งจะเกิ ดผลลัพธ์
อะไรจากผลลัพธ์ท้ งั หมดเหล่านั้น เช่น การโยนเหรี ยญ การโยนลูกเต๋ า เป็ นต้น
ปริภูมิตัวอย่ าง ( Sample space ) หมายถึงเซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ท้ งั หมดจาก
การทดลองสุ่ ม และเป็ นสิ่ งที่เราสนใจ แต่ละสมาชิกของปริ ภูมิตวั อย่างเรี ยกว่า จุดตัวอย่าง
เหตุการณ์ (Event) คือสับเซตของปริ ภูมิตวั อย่าง
ถ้า S เป็ นปริ ภูมิตวั อย่าง ซึ่ งเป็ นเซตจากัด ซึ่ งแต่ละผลลัพธ์ใน S มีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ
กัน และ E เป็ นเหตุการณ์ซ่ ึ ง E  S ถ้าให้ P(E) แทนความน่าจะเป็ น (Probability) ของ
เหตุการณ์ E แล้วจะได้วา่
P(E) = จานวนสมาชิกในเหตุการ ณ์ E
จานวนสมาชิกในปริภูมิ ตัวอย่าง S
นัน่ คือ P(E) = nn (E) (S)
36. นายวิทย์ ซื้ อเลขท้าย 2 ตัวไว้ 3 หมายเลข คือ 02 , 45 และ 85 ความน่าจะเป็ นที่นายวิทย์
จะถูกเลขท้าย 2 ตัว ในงวดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.01 2. 0.03 3. 0.1 4. 0.3

37(แนว มช) บริ ษทั ขายรถยนต์แห่ งหนึ่ ง พบว่าจานวนลู กค้าที่ ซ้ื อรถยนต์จานวน 200 คน ซื้ อ
รถยนต์สีต่างๆ ดังนี้
สี ขาว บรอนซ์ แดง ดา น้ าเงิน
จานวนลูกค้า 60 35 25 38 42
ความน่าจะเป็ นที่ลูกค้าคนหนึ่งที่เดินเข้ามาในบริ ษทั นี้ แล้วเลือกซื้ อรถยนต์สีขาวหรื อสี แดง คือ
ค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 0.175 2. 0.190 3. 0.365 4. 0.425
14
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
38(แนว Pat1) ในการโยนลูกเต๋ า 2 ลูกหนึ่งครั้ ง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกเต๋ าลูกหนึ่ งขึ้นแต้มไม่
เกิน 3 และแต้มรวมเป็ น 7 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 14 3. 16 4. 121

39. ในกล่องใบหนึ่ งมีหลอดไฟอยู่ 5 หลอด มีหลอดดี อยู่ 3 หลอด หลอดเสี ยอยู่ 2 หลอด ถ้า
หยิบหลอดไฟฟ้ าขึ้นมาโดยสุ่ ม 2 หลอด ความน่ าจะเป็ นที่จะได้หลอดเสี ย 1 หลอด และได้
หลอดดี 1 หลอด มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.40 2. 0.45 3. 0.55 4. 0.60

40(แนว En) มีผชู้ าย 7 คน ผูห้ ญิง 3 คน สุ่ มเลือกคนในกลุ่มนี้ มา 2 คน ความน่าจะเป็ นที่จะสุ่ ม


เลือกได้ผชู้ าย 1 คน และผูห้ ญิง 1 คน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1
1. 21 2. 101 3. 29 4. 157

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
41(แนว En) ในการเลือกกรรมการนักเรี ยนจานวน 4 คน จากผูส้ มัครซึ่ งประกอบด้วยชาย 4 คน
และหญิง 2 คน ความน่าจะเป็ นที่คณะกรรมการชุ ดนี้ จะประกอบด้วยนักเรี ยนชายไม่น้อยกว่า
3 คน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 157 2. 158 3. 159 4. 10
15

42(แนว มช) มีถุง 2 ใบ มีลูกแก้วอยู่ ถุงละ 7 ลูก ถุงใบแรกมีลูกแก้วสี เขียว 3 ลูก สี แดง 2 ลูก
และสี ขาว 2 ลูก ถุงใบที่สองมีลูกแก้วสี เขียว 3 ลูก สี แดง 3 ลูก และสี ขาว 1 ลูก ถ้าสุ่ มหยิบ
ลูกแก้วจากแต่ละถุ ง ถุ งละ 1 ลู ก ความน่ าจะเป็ นที่ จะได้ถุงละ 1 ลูก ความน่ าจะเป็ นที่ จะได้
ลูกแก้วสี เหมือนกันเป็ นเท่าไร
1. 14
49 2. 15
49 3. 1749 4. 34
49

43(แนว En) ในจานวนเด็ก 12 คน มีเด็กสายตาปกติ 8 คน สายตาสั้ น 4 คน ถ้าเลือกเด็ก 5 คน


โดยการสุ่ มจากเด็กเหล่านี้แล้ว ความน่าจะเป็ นที่จะมีเด็กสายตาสั้นอยูใ่ นกลุ่มที่เลือกเท่ากับข้อใด
35
1. 99 47
2. 99 63
3. 99 4. 92
99

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
44. ถุงใบหนึ่งมีกระดุมสี ขาว 2 เม็ด สี ม่วง 3 เม็ด หยิบกระดุ มอย่างสุ่ มครั้งละ 1 เม็ด 2 ครั้ง
โดยหยิบกระดุมเม็ดแรกแล้วไม่ใส่ คืนถุง จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้กระดุมทั้งสองเม็ดต่างสี กนั
1. 103 2. 35 3. 25 4. 45

45. จัดชาย 5 คน ยืนเรี ยงเป็ นแถวแนวตรง ความน่าจะเป็ นที่ชาย 2 คน ที่กาหนดต้องยืนติดกัน


เสมอมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 15 2. 25 3. 35 4. 45

12.6.2 กฎสาคัญบางประการของความน่ าจะเป็ น


กฎข้ อที่ 1 ถ้า A และ B เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ที่เป็ นสับเซตของแซมเปิ ลสเปซ S แล้ว
P(A  B ) = P (A) + P (B) – P (A  B)
กฎข้ อที่ 2 ถ้า A และ B เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่เกิดร่ วมกัน แล้วจะได้วา่
P(A  B ) = P (A) + P (B)
กฎข้ อที่ 3 ถ้า A เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ที่เป็ นสับเซตของแซมเปิ ลสเปซ S แล้ว
P(A/ ) = 1 – P (A )
17
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
46. กาหนดความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ A , B และ A  B ดังนี้
P(A) = 0.5 , P(B) = 0.3 , P (A  B) = 0.1
แล้ว P (A/ B/) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.01 2. 0.03 3. 0.1 4. 0.3

47. ให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิ ลสเปซ ถ้า P(A) = 0.71 , P(B) = 0.50
และ P(A  B) = 0.23 แล้วค่าของ P(A/ B/) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.02 2. 0.12 3. 0.20 4. 0.98

48(แนว En) ให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ใดๆ โดยที่ P(A) = 0.7 , P(B) = 0.4 และ
P(A/ B/) = 0.2 แล้ว P(A  B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.1 2. 0.3 3. 0.8 4. 0.9

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
49. จากการสารวจประชากรของหมู่บา้ นแห่ งหนึ่ ง ปรากฏว่าความน่ าจะเป็ นของครอบครัวที่ทา
สวนลาไยเท่ากับ 0.5 ความน่ าจะเป็ นของครอบครัวที่ทาสวนลิ้นจี่เท่ากับ 0.7 ความน่ าจะเป็ น
ของครอบครั ว ที่ ท าสวนล าไยและสวนลิ้ นจี่ เท่ ากับ 0.3 ถ้าหมู่ บ ้านแห่ งนี้ ประชากรอยู่ 200
ครอบครัวแล้ว จานวนครอบครัวที่ทาสวนลาไยหรื อสวนลิ้นจี่เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 200 2. 180 3. 140 4. 120

50(แนว มช) ถ้าในการสัมมนาครั้งหนึ่ง พบว่ามีผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาประมาณ


50% มองเห็นตัวหนังสื อบนกระดานไม่ชดั
60% ได้ยนิ คาบรรยายไม่ชดั
อีก 20% มองเห็นตัวหนังสื อบนกระดานและได้ยนิ คาบรรยายไม่ชดั ทั้ง 2 อย่าง
จากการคัดเลือกสุ่ มผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาครั้งนี้ มาคนหนึ่ ง จงหาความน่ าจะเป็ นที่ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนา
คนนี้ จะมองเห็นตัวหนังสื อบนกระดานและได้ยนิ คาบรรยายชัดทั้ง 2 อย่าง

51. ในการสอบครั้งหนึ่ง ความน่าจะเป็ นที่นายสมชายจะสอบผ่านวิชาคณิ ตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 0.6


ความน่าจะเป็ นที่จะสอบผ่านวิชาอังกฤษเป็ น 0.4 ถ้าความน่าจะเป็ นในการสอบผ่านอย่างมาก
1 วิชาเป็ น 0.7 แล้วความน่าจะเป็ นที่เขาจะสอบผ่านอย่างน้อย 1 วิชา มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 0.7 2. 0.6 3. 0.5 4. 0.4

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
52. ชาย 12 คน ไปรับประทานอาหารที่ร้านแห่ งหนึ่ ง ถ้ามีผสู ้ ั่งข้าวผัด 8 คน ก๋ วยเตี๋ยวผัด 4 คน
และสั่งทั้งข้าวผัดและก๋ วยเตี๋ยวผัด 2 คน ความน่ าจะเป็ นในการที่ชายคนใดคนหนึ่ งจะสั่งข้าว
ผัดหรื อก๋ วยเตี๋ยวผัดมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 29 2. 65 3. 49 4. 209

53(แนว En) นักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง 100 คน มีผชู ้ อบกีฬา 50 คน ชอบดนตรี 30 คน ชอบกีฬาและ


ดนตรี 10 คน ความน่าจะเป็ นที่จะมีผชู ้ อบกีฬาหรื อดนตรี มีค่าเท่าไร
1. 0.8 2. 0.7 3. 0.6 4. 0.3

54. ในการแข่งขันตอบปั ญหามีผูแ้ ข่งขัน 3 คนคือ A , B และ C ถ้า A มีโอกาสชนะเป็ น 2


เท่าของ B และ B มีโอกาสชนะเป็ น 2 เท่าของ C ถ้ามีผชู ้ นะเพียงคนเดียว ความน่าจะเป็ นที่
A หรื อ B เป็ นผูช้ นะมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 45 3. 47 4. 67

20
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
เฉลยบทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบ 100 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบ 240 22. ตอบ 480 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบ 0.1 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 4.



21
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 12 ความน่ า จะเป็ น ชุ ด ที่ 1
12.1 กฏเกณฑ์ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการนับ
1(En 21) ในการเลือกคณะกรรมการชุดหนึ่งซึ่งประกอบด้วยประธาน รองประธาน เหรัญญิก และ
เลขานุ ก าร โดยให้ ก รรมการแต่ ล ะคนด ารงต าแหน่ ง ได้ เพี ย งต าแหน่ ง เดี ย ว ถ้ า มี ผู ้ส มัค ร
เลือกตั้ง 6 คน ผลการเลือกตั้งกรรมการชุดนี้ อาจมีแตกต่างได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี
1. 360 2. 240 3. 120 4. 24

2(En48 มี.ค.) ในคณะกรรมการนักเรี ยนจานวน 10 คน จะมีวธิ ีเลือกประธาน รองประธาน แ ล ะ


เลขานุการได้กี่วธิ ี ถ้ากรรมการคนหนึ่งไม่สมัครที่จะเป็ นประธาน

3(En 26) รถยนต์คนั หนึ่ งมีที่นงั่ ข้างหน้า 2 ที่ และข้างหลัง 1 ที่ ถ้ามีคนทั้งหมด 6 คน ซึ่ง 2 คน
ขับรถได้จะจัดให้คนเข้านัง่ รถได้กี่วธิ ี
1. 120 วิธี 2. 40 วิธี 3. 20 วิธี 4. 6 วิธี

4(En 34) นาย ก , ข และ ค จะขึ้นลิ ฟท์ ซึ่ งมีท้ งั หมด 3 ตัว จานวนวิธีที่นาย ก. และ ข. ขึ้ น
ด้วยกัน แต่นาย ค. ขึ้นคนเดียว มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 7 3. 8 4. 9

5(En43 มี.ค.) ถ้าต้องการเขียนจานวนที่มี 7 หลัก โดยใช้ตวั เลขโดด 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 และให้ มี


เลขโดด 3 , 4 , 5 อยู่ติดกันตรงกลางระหว่างเลขโดดคู่และเลขโดดคี่ โดยแต่ละจานวนไม่ มี
เลขซ้ า แล้วจะเขียนได้ท้ งั หมดเป็ นจานวนเท่ากับข้อต่อไปนี้
1. 8 2. 16 3. 24 4. 48

6(En43 ต.ค.) จานวนเลขสามหลักซึ่ งหารด้วย 5 ลงตัว และตัวเลขหลักสิ บแตกต่างจากตัวเลข


หลักร้อยมีจานวนทั้งหมดเท่าใด

7(มช 40) จานวนเต็ม 4 หลัก ที่มีค่าระหว่าง 2000 ถึง 5000 โดยแต่ละหลัก ไม่มีตวั เลขใดซ้ า
กันเลยจะมีกี่จานวน

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
8(En47 มี.ค.) วิธีในการเขี ยนจานวนคู่ที่มีสามหลักจากตัวเลข 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 โดยที่หลักร้อย
และหลักหน่ วยเป็ นตัวเลขที่ แตกต่างกัน และมี ค่าไม่น้อยกว่า 200 มี จานวนวิธีเท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. 72 2. 71 3. 60 4. 59
9(En 39) จานวนเต็ ม คี่ ซ่ ึ งอยู่ระหว่าง 100 และ 999 ซึ่ งมี ห ลัก หน่ วยหรื อหลัก ร้ อยเป็ นจานวน
เฉพาะ มีจานวนทั้งหมดเท่ากับเท่าใด
1. 350 2. 380 3. 470 4. 500
10(แนว Pat1) จากเลขโดด 0 , 1 , 2 , 3 , 7 , 8 ต้องการสร้ างจานวนคู ่บ วก 4 หลัก โดยแต่ ล ะ
จานวนที่สร้างขึ้นไม่มีเลขโดดในหลักใดที่ซ้ ากันเลย จะมีจานวนวิธีที่สร้างได้เท่ากับข้อใด
1. 180 2. 156 3. 144 4. 136
12.2 แฟกทอเรียล
11. (n  2)!
(n  2)! เท่ากับข้อใด
1. n(n – 2)(n2 – 1) 2. n(n2 – 1)(n2 – 4)
3. (n – 1)n (n + 1)(n + 2) 4. (n – 2)(n – 1)(n)(n + 1)
12. (n  1)! (n
2
 1)! มีค่าเท่ากับข้อใด
(n!)
1. n 1
n 2. n n 1 3. n n 1 4. n n 1
13. (n  1)! (n3 1)! n! มีค่าตรงกับข้อใด
(n!)
1. 1 2. n n 1 3. 1 4. n2
12.3 วิธีเรียงสั บเปลีย่ น
14(แนว Pat1) จัดคน 8 คน ซึ่งมี A , B และ C รวมอยูด่ ว้ ย เข้านัง่ เรี ยงกันเป็ นแถวตรง โดยที่
C นัง่ กลางติดกับ A และ B เสมอ จานวนวิธีการจัดที่นงั่ ดังกล่าวมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 360 2. 720 3. 1080 4. 1440
15(En 21) นักเรี ยนคนหนึ่ งมี ตาราวิท ยาศาสตร์ 4 เล่ ม ต่ างๆ กัน คณิ ตศาสตร์ 3 เล่ ม ต่างๆ กัน
ภาษาอังกฤษ 2 เล่มที่ ต่างกัน และภาษาไทย 1 เล่ม เขาจะมี วิธีเรี ยงตาราบนชั้นได้ต่างๆ กันกี่
วิธี ถ้าเขาต้องการให้ตาราเรี ยนในหมวดวิชาเดียวกันอยูต่ ิดกันด้วย
1. 288 2. 12600 3. 6912 4. 24
23
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
16(En 20) จะจัดคน 5 คน เข้านัง่ ประชุมโต๊ะกลมได้กี่วธิ ี
1. 230 2. 60 3. 24 4. 12

17(มช 41) การแข่งขันกีฬาชนิดหนึ่งในระดับประเทศ มีกาหนด 3 วัน ซึ่ งมีประเทศผูเ้ ข้าแข่งขัน


ทั้งหมด 5 ประเทศ เจ้าภาพจัดธงประจาชาติท้ งั 5 บนอัฒจันทร์ ตามกาหนดดังนี้
วันที่ 1 จัดเรี ยงเป็ นเส้นตรงตามลาดับตัวอักษรแรกของชื่อประเทศ (ซึ่ งไม่ซ้ ากัน)
วันที่ 2 จัดเรี ยงคละกันเป็ นวงกลม
วันที่ 3 จัดเรี ยงเป็ นเส้นตรงโดยให้ธงชาติที่มีสีแดงเป็ นส่ วนประกอบอยูต่ ิดกัน ซึ่ งมี
3 ประเทศ ที่ธงประจาชาติมีสีแดงเป็ นส่ วนประกอบ
จงหาจานวนวิธีท้ งั หมดในการจัดธงของการแข่งขันตลอด 3 วันนี้
1. 60 2. 62 3. 864 4. 1728

18(แนว Pat 1) คุ ณลุง คุ ณ ป้ า ลูกชาย และลูกสาว มาเยี่ยมครอบครัวเราซึ่ งมี 4 คน คือ คุ ณ พ่อ


คุณแม่ ตัวฉัน และน้องชาย ในการจัดที่นัง่ รอบโต๊ะอาหารกลมที่มี 8 ที่นั่ง โดยให้คุณลุ งนั่ง
ติดกับคุณพ่อ คุ ณป้ านัง่ ติดกับคุ ณแม่ ลูกชายของคุ ณลุ งนัง่ ติดกับน้องชายของฉัน และลูกสาว
ของคุณลุงนัง่ ติดกับฉัน จะมีจานวนวิธีจดั ได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 48 วิธี 2. 96 วิธี 3. 192 วิธี 4. 288 วิธี

19(En42 ต.ค.) ในการประชุ ม ครั้ งหนึ่ งมี ผูแ้ ทนจาก 3 ประเทศ เข้า ร่ ว มประชุ ม โดยมี ผู ้แ ทน
ประเทศละ 3 คน จ านวนวิธี ท้ ัง หมดที่ จ ะจัด ให้ ผูแ้ ทนแต่ ล ะประเทศต้อ งนั่ง ติ ด กัน ในการ
ประชุมโต๊ะกลมเท่ากับเท่าใด

20(En 38) ในโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง ตัวแทนนักเรี ยนจากชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 , 5 และ 6 ชั้นปี ละ 3


คน ต้องทาการประชุมเพื่อเตรี ยมการแสดงสาหรับงานคืนสู่ เหย้าของโรงเรี ยน จานวนวิธี ที่ จ ะ
จัดผูเ้ ข้าร่ วมประชุมทั้งหมดนัง่ รอบโต๊ะกลม โดยที่ตวั แทนที่มาจากชั้นปี เดียวกันต้องนัง่ ติ ด กั น
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16 2. 54 3. 432 4. 1296

21(En 39) มีลูกแก้ว 7 ลูก ซึ่ งมีสีตา่ งกันหมดโดยมีสีแดง สี ขาว สี น้ าเงิน และสี อื่น ๆ จานวนวิธี
จะวางเรี ยงลูกแก้วเป็ นวงกลมโดยให้สีน้ าเงินเรี ยงอยูต่ ิดกับสี ขาวและติดกับสี แดงเท่ากับข้อใด
1. 24 2. 48 3. 120 4. 240
24
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
22(มช 39) โต๊ะประชุมรู ปครึ่ งวงกลมที่นงั่ อยู่ 9 ที่ จัดให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมทั้งหมด 9 คน โดยให้
ประธานนัง่ ตรงกลางโต๊ะ และรองประธานกับเลขานุการนัง่ ขนาบ 2 ข้างประธาน จะสามารถ
จัดได้กี่วธิ ี
1. 8! 2. 6! 3. 6! + 2 4. 2 (6!)

23(มช 38) มีตน้ มะม่วง 5 ต้น และต้นชมพู่ 2 ต้น ซึ่ งแต่ละต้นแตกต่างกันหมด ถ้านาต้นไม้
ทั้งหมดมาปลูกรอบสนามหญ้าโดยไม่ให้ตน้ ชมพูอ่ ยูต่ ิดกันจะมีวธิ ี ปลูกกี่วธิ ี

24(En41 เม.ย.) จงหาจานวนวิธีท้ งั หมดในการจัดชาย 5 คน และหญิง 5 คน ให้นัง่ รอบโต๊ะกลม


โดยให้ชายหญิงนัง่ สลับกัน และนาย ก. จะต้องนัง่ ติดกับนางสาว ข.

25(En44 มี.ค.) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. จานวนวิธีในการจัดเด็ก 5 คน และผูใ้ หญ่ 5 คน ถ่ายรู ปหมู่ โดยให้เด็กยืนแถวหน้าและ
ผูใ้ หญ่ยนื แถวหลังเท่ากับ 5! 5!
ข. จานวนวิธีในการจัดชาย 6 คน หญิง 6 คน นัง่ โต๊ะกลม 2 โต๊ะที่ต่างกันซึ่ งมีโต๊ะละ 6
ที่นงั่ โดยที่ชายและหญิงนัง่ แยกโต๊ะกัน เท่ากับ 5! 5!
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

12.4 วิธีจัดหมู่
26(แนว Pat1) มีทีมฟุตบอลทั้งหมด 7 ทีม ต้องการจัดการแข่งขันแบบพบกันหมด (แต่ละทีมต้อง
ลงแข่งกับทีมอื่นทุกทีม) จะต้องจัดการแข่งขันกี่นดั

27(En 40) ในการแข่งขันฟุตบอล คณะกรรมการจัดการแข่งขันจัดให้มีการแข่งขันแบบพบกัน หมด


ปรากฏว่าจะต้องจัดให้ มี การแข่งขันทั้งหมด 36 คู่ การแข่งขันนี้ มีทีม เข้าร่ วมแข่ งขันจานวน
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 8 3. 9 4. 12

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
28(En45 มี.ค.) กาหนดจุด 10 จุด บนแผ่นกระดาษ มี 4 จุดอยูบ่ นเส้นตรงเดียวกัน นอกนั้นไม่มี
3 จุ ดใด อยู่บ นเส้ นตรงเดี ยวกัน จานวนรู ป สามเหลี่ ยมที่ เกิ ดจากการลากเส้ น ตรงเชื่ อมจุ ดที่
กาหนดให้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 80 2. 106 3. 116 4. 120

29(มช 43) โรงเรี ยนแห่งหนึ่ งมีผสู ้ มัครเป็ นกรรมการนักเรี ยนจานวน 8 คน โดยเป็ นนักเรี ยนหญิง
3 คน ชาย 5 คน จงหาจานวนวิธีที่จะจัดผูส้ มัครให้เป็ นกรรมการนักเรี ยน โดยคณะกรรมการ
ชุดนี้มีจานวน 5 คน ประกอบด้วยหญิง 2 คน และชาย 3 คน
1. 15 2. 30 3. 45 4. 120

30(มช 33) ถ้าต้องการคัดเลือกนักเรี ยนจากตัวแทนนักเรี ยน 3 กลุ ่ ม โดยเลื อก 1 คน จาก 10 คน


ในกลุ่มที่หนึ่ ง เลื อก 2 คน จาก 15 คน ในกลุ่มที่สอง และเลื อก 3 คน จาก 20 คน ใน
กลุ่มที่สามจะมีวธิ ี การเลือกได้เท่ากับกี่วธิ ี
1. 1000 2. 13420 3. 56360 4. 1197000

31(En 37) โรงงานแกะสลักไม้แห่ งหนึ่งมีคนงาน 15 คน เป็ นหญิง 6 คน ชาย 9 คน ผูจ้ ดั การ


รับงานมา 3 ชนิด โดยงานชนิดที่หนึ่งใช้คนงานหญิง 3 คน โดยงานชนิดที่สองใช้คนงานชาย
5 คน ส่ วนงานชนิดที่สามใช้คนงานชายหรื อหญิงก็ได้จานวน 3 คน จานวนวิธีที่ ผูจ้ ัด การจะ
เลือกคนงานให้แกะสลักไม้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 37800 2. 68250 3. 75600 4. 88200

32 (แนว Pat1) มีสิ่งของซึ่ งแตกต่างกันอยู่ 8 ชิ้น ต้องแบ่งให้คน 2 คน คนหนึ่งได้ 6 ชิ้น และอีก


คนหนึ่งได้ 2 ชิ้น จะมีจานวนวิธีแบ่งกี่วธิ ี

33(มช 45) มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จัดหลักสู ตรอบรมบัณฑิตว่างงาน 3 หลักสู ตร โดยหลักสู ตรที่


หนึ่งรับได้ 7 คน หลักสู ตรที่สองรับได้ 3 คน และหลักสู ตรที่สามรับได้ 2 คน ในการจัด
บัณฑิตว่างงาน 12 คน เข้าอบรมใน 3 หลักสู ตรดังกล่าว จะได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี
1. 42 2. 5040 3. 7920 4. 60480

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
34(En46 มี.ค.) มีคนงานหญิ ง 6 คน และคนงานชาย 8 คน ซึ่ งมี นายดารวมอยู่ด้วย ถ้าจะเลื อก
คนงาน 4 คน ไปท างานที่ ต่างกัน 4 ประเภท โดยให้เป็ นหญิ ง 2 คน เป็ นชาย 2 คน และ
ให้ มีนายดาอยูใ่ น 4 คนนี้ดว้ ย จานวนวิธีการเลือกคนงานดังกล่าวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1920 วิธี 2. 2400 วิธี 3. 2520 วิธี 4. 2880 วิธี

35(En 36) จากอาจารย์ 4 คน นักเรี ยนชาย 5 คน นักเรี ยนหญิง 2 คน ต้องการเลือกตัวแทน 4


คน โดยให้มีอาจารย์ 1 คน และนักเรี ยนหญิงอย่างน้อย 1 คน จานวนวิธีเลือกเท่ากับในข้อใด
ต่อไปนี้
1. 20 2. 80 3. 100 4. 204

36(มช 37) ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ครั้งหนึ่ง กาหนดให้ผเู ้ ข้าสอบทาข้อสอบ 10 ข้อ จากข้อสอบ


ทั้งหมด 12 ข้อ และผูเ้ ข้าสอบต้องท าข้อสอบ สอบอย่างน้อย 5 ข้อ จาก 6 ข้อแรก ดังนั้น
จานวนวิธีท้ งั หมดที่ผเู ้ ข้าสอบจะเลือกทาข้อสอบเท่ากับข้อใด
1. 1.5 2. 36 3. 41 4. 51

37(En46 ต.ค.) ข้อสอบชุ ดหนึ่ งมี 2 ตอน ตอนละ 4 ข้อ มีคาสั่งให้ผสู ้ อบทาข้อสอบตอนที่หนึ่ ง
อย่างน้อย 1 ข้อ และทาข้อสอบตอนที่สอง 2 ข้อ จานวนวิธีที่ผสู ้ อบจะทาข้อสอบชุ ดเท่ากับ
เท่าใด
38(En 36) ข้อสอบปรนัยวิชาหนึ่งมี 6 ข้อ ข้อที่ 1 และข้อที่ 2 มีคะแนนเต็มข้อละ 3 คะแนน ข้อ
อื่น ๆ มีคะแนนเต็มข้อละ 1 คะแนน หากนักเรี ยนตอบข้อใดถู กต้อง จะได้คะแนนเต็มในข้อนั้ น
หากตอบผิดจะได้ค ะแนน 0 จานวนวิธีที่ นักเรี ยนจะทาคะแนนวิชานี้ ได้ 60 เปอร์ เซ็ นต์พอดี
เท่ากับในข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 7 3. 8 4. 9
39(En 40) ครู 3 คน พานักเรี ยน 6 คน ไปเข้าค่ายวิชาการ ซึ่ งต้องพักในบ้านหลังหนึ่ งที่มีห้อง
นอน 3 ห้อง ห้องเล็ กอยู่ได้ 2 คน ห้องกลางอยู่ได้ 3 คน และห้องใหญ่ อยู่ได้ 4 คน ถ้า
ต้องการให้ครู 3 คนพักในห้องเดียวกัน จะมีวธิ ี การแบ่งคนเข้าพักได้ท้ งั หมดกี่วธิ ี

12.5 ทฤษฏีบททวินาม
40(มช 35) จงหาพจน์ที่ 4 ของการกระจาย 23  16
3
16
1. 729 2. 120 3. 160 4. 240
729 729 729
27
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
12
41(มช 32) ในการกระจาย y 3  13  พจน์ที่ไม่มี y ปรากฏอยูค่ ือพจน์ที่ .....
 y 

42(En42 มี.ค.) ถ้า a และ b เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของ x–2 และ x4 ของการกระจาย
x4 – 12 10 ตามลาดับ แล้ว ab เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2x
1. – 27 2. – 12 3. – 13 4. – 154

43(En44 มี .ค.) ก าหนดให้ n เป็ นจ านวนเต็ ม บวก ซึ่ งท าให้ พ จน์ ที่ ไ ม่ มี x ในการกระจาย
(x2+ 2x1 )n คือพจน์ที่ 9 สัมประสิ ทธิ์ x15 ในการกระจายนี้ เท่ากับเท่าใด

12.6 ความน่ าจะเป็ นและกฎทีส่ าคัญบางประการของความน่ าจะเป็ น


44(มช 32) ชั้น ม. 6 ของโรงเรี ยนหนึ่งมีนกั เรี ยนหญิง 30 คน นักเรี ยนชาย 20 คน ในจานวนนี้ มี
นักเรี ยนที่สวมแว่นตาเป็ นนักเรี ยนหญิง 12 คน และเป็ นนักเรี ยนชาย 8 คน ถ้าสุ ่ มนักเรี ยน
จากชั้นนี้ 1 คน ความน่าจะเป็ นที่ได้นกั เรี ยนชายสวมแว่นตาเท่ากับ

45(มช 43) บริ ษ ทั ขายรถยนต์แห่ งหนึ่ งพบว่า จานวนลู ก ค้าที่ ซ้ื อรถยนต์จานวน 200 คน ซื้ อ
รถยนต์สีต่างๆ ดังนี้
สี ขาว บรอนซ์ แดง ดา น้ าเงิน
จานวนลูกค้า 60 35 25 38 42
ความน่าจะเป็ นที่ลูกค้าคนหนึ่งที่เดินเข้ามาในบริ ษทั นี้ แล้วเลือกซื้ อรถยนต์สีบรอนซ์หรื อ
สี ดา คือค่าในข้อใด
1. 0.175 2. 0.190 3. 0.365 4. 0.730

46(En 39) ลูกเต๋ าลูกหนึ่งถูกถ่วงน้ าหนักให้แต้มคู่แต่ละหน้า มีโอกาสเกิดขึ้นเป็ นสองเท่าของแต้มคี่


แต่ละหน้า ความน่าจะเป็ นที่โยนลูกเต๋ า 1 ครั้ง ได้แต้มเป็ น 1 หรื อแต้มคู่เท่ากับข้อใด
1. 23 2. 43 3. 79 4. 85

47(En43 มี.ค.) ในการทอดลูกเต๋ า 2 ลูกพร้ อมกัน 1 ครั้ง ความน่ าจะเป็ นที่ผลบวกของแต้มบน


หน้าลูกเต๋ าทั้งสองลูกจะเป็ นเลขหารด้วย 4 ไม่ลงตัว มีค่าเท่ากับเท่าใด

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
48(แนว Pat1) ในการโยนลูกเต๋ า 2 ลูกหนึ่ งครั้ ง ความน่ าจะเป็ นที่จะได้ลูกเต๋ าลูกหนึ่ งขึ้ นแต้มไม่
น้อยกว่า 4 และแต้มรวมเป็ น 7 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 14 3. 16 4. 121

49(มช 39) สมบัติและสมชาติเล่นเกมโดยแต่ละครั้งโยนลูกเต๋ าคนละลูก ถ้าแต้มที่เกิดขึ้นรวมกันได้


4 หรื อ 7 สมบัติจะเป็ นผูช้ นะ แต่ถา้ แต้มที่เกิดขึ้นที่รวมกันได้ 6 หรื อ 11 สมชาติจะเป็ นผูช้ นะ
ผลนอกจากนี้ถือว่าเสมอกัน ถ้ามีการโยนทั้งหมด 72 ครั้ง คาดว่าจะเสมอกันกี่ครั้ง
1. 21 2. 40 3. 42 4. 44

50(En 33) ในการเลือกจานวนเต็มหนึ่งจานวนจากจานวนเต็มตั้งแต่ 10 ถึง 59 จะได้ความน่าจะ


เป็ นที่เลขจานวนนั้นหารด้วย 7 ลงตัวหรื อเป็ นเลขคี่เท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้
1. 0.36 2. 0.50 3. 0.58 4. 0.64

51(En 40) สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กากับ ความน่ าจะเป็ นที่ จ ะหยิ บ สลาก
พร้อมกัน 3 ใบ โดยให้มี แต้ม รวมกัน เป็ น 10 และไม่ มี ส ลากใบใดที่ ห มายเลขสู งกว่า 5 มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 601 2. 401 3. 301 4. 201

52(แนว Pat1) กล่ อ งใบหนึ่ งมี บ ัต ร 10 ใบ แต่ ล ะใบมี ห มายเลข 0 , 1 , 2 , ... , 9 บัต รละหนึ่ ง
หมายเลข ถ้าหยิบบัตรจากกล่ องพร้ อมกัน 3 ใบ ความน่ าจะเป็ นที่ จะได้แต้มรวมกันมากกว่า
10 และทุกใบเป็ นหมายเลขคู่ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 121 2. 151 3. 201 4. 301
53(En 21) ในการตอบปั ญหารายการหนึ่ ง มีผตู้ อบถูก 10 คน เป็ นชาย 7 คน หญิง 3 คน ใน
การให้รางวัล ซึ่ งมี เพี ยง 2 รางวัล ใช้วิธี ก ารจับ สลากซื้ อผูต้ อบถู ก ความน่ าจะเป็ นที่ ผูไ้ ด้รั บ
รางวัลเป็ นชาย 1 คน และหญิง 1 คน เท่ากับข้อใดต่ไปนี้
1. 211 2. 101 3. 29 4. 157
54(En41 เม.ย.) สลากชุ ดหนึ่ งมี 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 ก ากับ ถ้าต้องการหยิบสลาก 8 ใบ
พร้อมกัน โดยให้สลากที่มีหมายเลขต่ ากว่า 5 อยู่ 3 ใบเท่านั้น แล้วความน่ าจะเป็ นที่ จะหยิบ
สลากดังกล่าวมีค่าเท่ากับข้อใด
1. 29 2. 158 3. 352 11
4. 156
29
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
55(มช 36) ร้านจาหน่ายผ้าไหมไทยแห่งหนึ่ง พบว่าจากการสั่งซื้ อผ้าไหมมารุ่ นหนึ่งจานวน 10 ผืน
มี 2 ผืน ที่มีรอยตาหนิ ถ้าสุ่ มหยิบผ้าไหมไทยในรุ่ นนี้ มา 5 ผืน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้
ผ้าไหมที่มีรอยตาหนิเพียงผืนเดียว

56(แนว Pat1) ถุ งใบหนึ่ งบรรจุ ลูกแก้วสี ขาว 5 ลูก สี เขียว 4 ลูก และสี เหลื อง 3 ลูก ถ้าหยิบ
ลูกแก้วจากถุ งทีละลูก 3 ครั้งโดยไม่ใส่ คืน แล้วความน่ าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้ว ลูกที่หนึ่ ง
สองและสาม เป็ นสี ขาว สี เขียว และสี เหลือง ตามลาดับเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1
1. 21 2. 221 3. 223 4. 253

57(แนว Pat 1) ข้าวสารบรรจุถุงแล้วกองหนึ่งประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 4 ถุง ข้าวเสาไห้ 3 ถุง


ข้าวขาวตาแห้ง 2 ถุง และข้าวเหนียว 1 ถุง สุ่ มหยิบข้าวจากกองนี้ มา 4 ถุง ความ น่ าจะเป็ นที่
จะได้ขา้ วครบทุกชนิดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 354 2. 353 3. 25 4. 41

58(มช 35) มีถุง 2 ใบ มีลูกแก้วอยู่ ถุงละ 7 ลูก ถุงใบแรกมีลูกแก้วสี เขียว 3 ลูก สี แดง 2 ลูก
และสี ขาว 2 ลู ก ถุ งใบที่ สองมี ลูกแก้วสี เขี ยว 3 ลูก สี แดง 3 ลูก และสี ขาว 1 ลู ก ถ้าสุ่ ม
หยิบลูกแก้วจากแต่ละถุ ง ถุงละ 1 ลูก ความน่าจะเป็ นที่จะได้ถุงละ 1 ลูก ความน่าจะเป็ นที่จะ
ได้ลูกแก้วสี เหมือนกันเป็ นเท่าไร
1. 14
49 2. 15
49 3. 17
49 4. 34
49
59(แนว Pat1) ในกล่องใบหนึ่ งมีถุงเท้าสี ขาว 4 คู่ สี ดา 3 คู่ และสี น้ าเงิ น 2 คู่ แต่ไม่ได้จดั เรี ยง
ไว้เป็ นคู่ ๆ ถ้าสุ่ มหยิบถุ งเท้ามา 2 ข้าง ความน่ าจะเป็ นที่ จะได้ถุงเท้าสี เดี ยวกันเท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. 12 2. 23 43
3. 153 4. 153 49

60(มช 39) นักกีฬาชาย 14 คน ประกอบด้วยนักกีฬาว่ายน้ า 5 คน นักกีฬาฟุตบอล 6 คน และ


นักกีฬาตะกร้อ 3 คน ถ้าสุ่ มเลือกตัวแทนมา 3 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้ตวั แทนทั้ง 3
คน เป็ นนักกีฬาประเภทเดียวกัน
35
1. 182 15
2. 182 71
3. 364 4. 36431

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
61(แนว Pat1) กล่ อ งใบหนึ่ งบรรจุ ห ลอดไฟ 12 หลอด เป็ นหลอดช ารุ ด 3 หลอด ถ้า หยิ บ
หลอดไฟจากกล่ อ งมา 4 หลอด แล้วความน่ า จะเป็ นที่ จ ะได้ห ลอดช ารุ ด ไม่ เกิ น 1 หลอด
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 14 3. 14
99 4. 42 55
62(En41 เม.ย.) ในการเลื อกกรรมการนักเรี ยนจานวน 4 คน จากผูส้ มัคร 6 คน ซึ่ งประกอบด้วย
ชาย 4 คน และ หญิง 2 คน ความน่ าจะเป็ นที่คณะกรรมการชุ ดนี้ จะประกอบด้วยนักเรี ยนชาย
ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 157 2. 158 3. 159 4. 10
15
63(En48 มี .ค.) กล่ อ งใบหนึ่ งมี ลู ก บอลสี ด า 4 ลู ก และสี แ ดง 6 ลู ก ถ้า สุ่ ม หยิ บ ลู ก บอลจาก
กล่องใบนี้มา 3 ลูก ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลูกบอลสี ละอย่างน้อยหนึ่งลูกเท่ากับข้อใด ต่อไปนี้
1. 0.78 2. 0.80 3. 0.82 4. 0.84

64(แนว Pat1) ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกกวาดรสสตรอเบอรี่ 5 ลูก รสชอคโกแลต 4 ลูก รสกาแฟ 2 ลู ก


และรสมินท์ 2 ลูก หากสุ่ มหยิบลูกกวาดจากถุ งใบนี้ มา 3 ลูก ความน่ าจะเป็ นที่ จะหยิบได้
ลูกกวาดต่างรสกันทั้งหมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
57
1. 143 58
2. 143 59
3. 143 60
4. 143

65(En44 ต.ค.) ห้างสรรพสิ นค้าแห่ งหนึ่ งจัดรายการสมนาคุ ณแก่ลูกค้า โดยจะให้ลูกค้าทุกคนสุ่ ม


หยิบคูปองส่ วนลดได้ 2 ใบ จากกล่องซึ่งมีคูปองทั้งหมด 12 ใบ ซึ่ งมีคูปองมูลค่า 50 บาท 5 ใบ
คูปองมูลค่า 100 บาท 3 ใบ คูปองมูลค่า 200 บาท 3 ใบ และคูปองมูลค่า 500 บ า ท 1 ใ บ
ความน่าจะเป็ นที่ลูกค้าคนหนึ่งจะสุ่ มหยิบคูปอง 2 ใบ และได้คูปองที่มีมูลค่าส่ วนลดรวมมากกว่า
300 บาท มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11
66 2. 14
66 3. 20
66 4. 6623

66(En42 มี.ค.) ถุงใบหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกันอยู่ 10 ลูก เป็ นสี แดง 3 ลูก สี ขาว 5 ลูก สี ดา 2
ลูก สุ่ มหยิบลูกแก้วจากถุงสองครั้งๆละลูก โดยไม่ใส่ คืน ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกที่สอง
เป็ นสี แดงเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 103 27
3. 100 33
4. 100

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
67(En43 ต.ค.) ในการจัดคน 6 คน ซึ่ งมีนาย ก และนาย ข รวมอยูด่ ว้ ย เข้าพักในห้อง 3 ห้อง
โดยที่ ห้องที่ หนึ่ งพักได้ 3 คน ห้องที่ ส องพัก ได้ 2 คน และห้องที่ ส ามพักได้ 1 คน ความ
น่าจะเป็ นที่นาย ก และ นาย ข จะได้พกั ห้องเดียวกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 151 2. 153 3. 154 4. 155

68(แนว Pat 1) สมัครและสมานกับเพื่อน ๆ รวม 7 คน ไปเที่ยวต่างจังหวัดด้วยกัน ในการค้างแรม


ที่มีบา้ นพัก 3 หลัง หลังแรกพักได้ 3 คน ส่ วนหลังที่ สองและหลังที่ สามพักได้หลังละ 2 คน
ซึ่ งแต่ล ะหลังมี ค วามแตกต่ างกัน พวกเขาจึ งตกลงที่ จะจับ สลากว่าใครจะได้พ กั ที่ บ ้านหลังใด
ความน่ า จะเป็ นที่ ส มัค รและสมานจะได้พ ัก บ้า นหลัง เดี ย วกัน ในหลัง ที่ ห นึ่ งหรื อ หลัง ที่ ส าม
เท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้
1. 214 2. 215 8
3. 21 4. 1021

69(En42 ต.ค.) ในจานวนเด็ก 12 คน มีเด็กถนัดซ้าย 4 คน ถ้าเลือกเด็ก 5 คน โดยการสุ ่ มจาก


เด็กเหล่านี้ แล้วความน่าจะเป็ นที่จะมีเด็กถนัดซ้ายอยูใ่ นกลุ่มที่เลือกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
35
1. 99 2. 9947 3. 9963 4. 92
99
70(En41 ต.ค.) ชาย 3 คน และหญิง 3 คน เข้าคิวในแถวเดียวกันเพื่อซื้ อตัว๋ ภาพยนตร์ ความน่าจะ
เป็ นที่หญิงทั้ง 3 คน จะยืนเรี ยงติดกันทั้งหมดในแถวที่ค่าเท่ากับเท่าใด
71(En 21) สามี ภรรยา 5 คู่ นัง่ เก้าอี้รอบโต๊ะกลม ความน่าจะเป็ นที่สามีคนที่หนึ่งจะนัง่ ติดกับ
ภรรยาของเขาเท่ากับ
1. 29 2. 15 3. 12 4. 209
72(En46 มี.ค.) นายกวีและนายขจรได้รับเชิ ญไปงานเลี้ ยง ซึ่ งมีผไู ้ ด้รับเชิ ญทั้งหมด 20 คน เจ้าภาพ
จัด (โดยสุ่ ม) ให้ผรู ้ ่ วมงานนัง่ โต๊ะกลม 2 โต๊ะ ๆ ละ 10 ที่นั่ง ความน่ าจะเป็ นที่นายกวีและนาย
ขจรจะได้นงั่ ติดกันในโต๊ะตัวเดียวกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 191 2. 192 3. 29 4. 49
73(En47 ต.ค.) ในการออกรางวัลเลขท้ายสองตัวของล็อตเตอรี่ รัฐบาล ความน่าจะเป็ นที่รางวัลเลข
ท้ายสองตัวมีหลักสิ บเป็ น เลขที่มากกว่าหรื อเท่ากับ 7 หรื อหลักหน่วยเป็ นเลขที่นอ้ ยกว่าหรื อ
เท่ากับ 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.40 2. 0.51 3. 0.54 4. 0.60
32
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
74(En42 ต.ค.) กล่องใบหนึ่งบรรจุขนมชิ้น 24 ชิ้น แต่ละชิ้นมี 4 ชั้น ๆ ละสี ซึ่ งมีสีเขียว ขาว แดง
เหลือง และการเรี ยงลาดับสี ของแต่ละชิ้นทั้ง 24 ชิ้น แตกต่างกันหมด ถ้าหยิบขนม 1 ชิ้น จาก
กล่องนี้ โดยสุ่ ม แล้วความน่ าจะเป็ นที่ชิ้นที่หยิบได้มีสองชั้นบนไม่ใช่ สีแดงและไม่ใช่ สีเหลื อง
เท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้
1. 241 2. 121 3. 16 4. 41

75(En47 มี.ค.) ในการเลื อกประธาน รองประธาน และเหรัญญิ ก จากนักเรี ยนชาย 6 คน และ


นักเรี ยนหญิ ง 4 คน ซึ่ งมี นายก าธรรวมอยู่ด้วย ความน่ าจะเป็ นที่ การเลื อกครั้ งนี้ นายกาธรได้
เป็ นประธาน และมีนกั เรี ยนหญิงได้รับเลือกอย่างน้อยหนึ่งคนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
13
1. 180 13
2. 360 3. 452 4. 454

76(En 40) ให้ A และ B เป็ นเหตุก ารณ์ ใด ๆ โดยที่ P(A) = 0.5 , P(B) = 0.6 และ
P(A/ B/) = 0.2 แล้ว P(A  B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.1 2. 0.3 3. 0.8 4. 0.9

77(En44 ต.ค.) กาหนดความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ A, B และ A  B ดังนี้


P(A) = 0.5 , P(B) = 0.3 , P(A  B) = 0.1
P (A  B) มีค่าเท่ากับเท่าใด

78(En 39) ความน่ า จะเป็ นที่ ส มศัก ดิ์ สอบผ่ า นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ละวิ ช าเคมี เป็ น 23 และ 49
ตามลาดับ ถ้าความน่ าจะเป็ นที่เขาจะสอบผ่านทั้งสองวิชานี้ เป็ น 41 แล้ว ความน่ าจะเป็ นที่เขา
จะสอบไม่ผา่ นทั้งสองวิชานี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 43 2. 36 31 3. 19 4. 365

79(En 20) ในจานวนนักเรี ยน ม.ศ. 5 จานวน 100 คน มีผชู ้ อบกีฬา 50 คน ชอบดนตรี 30 คน


ชอบกีฬาและดนตรี 10 คน ความน่าจะเป็ นที่จะมีผชู ้ อบกีฬาหรื อดนตรี มีค่าเท่าไร
1. 0.8 2. 0.7 3. 0.6 4. 0.3

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
80(มช 36) ถ้าในการสัมนาครั้งหนึ่งพบว่า มีผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาประมาณ 50% มองเห็นตัวหนังสื อ
บนกระดานไม่ชดั 60% ได้ยินคาบรรยายไม่ชดั อีก 20% มองเห็นตัวหนังสื อบนกระดานและ
ได้ยินคาบรรยายไม่ชดั ทั้ง 2 อย่าง จากการคัดเลือกสุ่ มผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาครั้งนี้มาคนหนึ่ ง จงหา
ความน่าจะเป็ นที่ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาคนนี้ จะมองเห็นตัวหนังสื อบนกระดานและได้ยนิ คา
บรรยายชัดทั้ง 2 อย่าง

81(มช 40) ถ้าในการสัมมนาครั้งหนึ่ง มีผเู ้ ข้าร่ วมฟังที่มองเห็นคาอธิ บายบนกระดานไม่ชดั 45%


ได้ยนิ คาอธิ บายไม่ชดั 35% อีก 25% มองเห็นคา อธิ บายบนกระดานและได้ยินคาอธิ บายไม่ชดั
ทั้ง 2 อย่าง ถ้าเลือกสุ่ มผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาครั้งนี้ มาคนหนึ่ ง ความน่าจะเป็ นที่ผเู ้ ข้าร่ วมสัมมนาคน
นี้จะมองเห็นคาอธิบายบนกระดานและได้ยนิ คาอธิบายได้ชดั ทั้ง 2 อย่าง คือข้อใด
1. 0.20 2. 0.45 3. 0.55 4. 0.80

82(En 40) ผลการสอบวิช าคณิ ตศาสตร์ และวิช าเคมี ข องนัก เรี ย นกลุ ่ ม หนึ่ ง ปรากฏว่า 13 ของ
นักเรี ยนทั้งหมดสอบผ่านคณิ ตศาสตร์ และ 158 ของนักเรี ยนทั้งหมดสอบผ่านเคมี ถ้าความ
น่ าจะเป็ นของนัก เรี ยนคนหนึ่ งในกลุ่ ม นี้ ที่ จะสอบผ่านอย่างมากหนึ่ งวิช าเป็ น 45 แล้วความ
น่าจะเป็ นที่เขาจะสอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชาเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 2. 151 3. 15 4. 13 15
83(En44 มี.ค.) ความน่ าจะเป็ นที่ นักเรี ยนคนหนึ่ งสอบผ่านวิชาคณิ ตศาสตร์ เท่ากับ 25 และสอบ
ผ่านวิชาภาษาอังกฤษเท่ ากับ 13 ถ้าความน่ าจะเป็ นในการสอบผ่านอย่างมากหนึ่ งวิชาเท่ ากับ
13 แล้วความน่าจะเป็ นที่เขาจะสอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
15
1. 157 2. 154 3. 35 4. 15

84(En45 มี.ค.) ชมรมกี ฬาของโรงเรี ยนแห่ งหนึ่ งมีสมาชิ กทั้งหมด 80 คน สมาชิ กทุกคนต้องเล่น
กีฬาอย่างน้อยหนึ่งอย่างและมีสมาชิกเป็ น
นักฟุตบอล 49 คน
นักบาสเกตบอล 40 คน
นักเทนนิส 33 คน
นักกีฬาทั้งสามอย่าง 5 คน
นักเทนนิสอย่างเดียว 10 คน
นักบาสเกตบอลอย่างเดียว 13 คน
นักบาสเกตบอลและนักเทนนิส 13 คน
34
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
ความน่าจะเป็ นในการเลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการของชมรมตาแหน่งละ 1 คน
จากสมาชิกทั้งหมด โดยที่ประธานต้องเป็ นนักกีฬาทั้งสามอย่าง และรองประธานจะต้องเป็ น
นักกีฬา อย่างน้อย 2 อย่าง เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9
1. 316 11
2. 316 15
3. 632 23
4. 632
x 2  1 y 
85(En41 ต.ค.) ในการสร้างเมตริ กซ์ในรู ปแบบ   แบบสุ่ ม โดย x และ y เป็ น
 0 2  x 

สมาชิ ก ของเซต {–2 , –1 , 0 , 1 , 2} ความน่ าจะเป็ นที่ จะได้เมตริ กซ์ เอกฐานมี ค่ าเท่ ากับ ข้อใด
ต่อไปนี้
1. 252 2. 253 3. 25 4. 35

x 2 x  4
86(En44 มี.ค.) ในการสร้างเมทริ กซ์ในรู ป   แบบสุ่ ม โดยที่ x { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 }
 x x  1 

ความน่าจะเป็ นที่จะได้เมทริ กซ์เอกฐานเท่ากับเท่าใด



35
ติวสบายคณิต เล่ ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 12 ความน่ าจะเป็ น
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 12 ความน่ า จะเป็ น ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบ 648 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบ 324 7. ตอบ 1512 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบ 480 24. ตอบ 1152
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบ 21 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบ 28
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบ 90 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบ 75 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบ 7 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบ 27.5 44. ตอบ 0.16
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบ 0.75 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบ 0.56 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบ 0.2 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 2.
77. ตอบ 0.9 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบ 0.1
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบ 0.4



36

You might also like