You are on page 1of 17

Answer Key

เรขำคณิตวิเครำะห์
เอกสำรสรุ ปเนือ้ หำกำรเรียนรู้ วิชำคณิตศำสตร์

จัดทำโดย นำยกฤษณะ เจนกลำง (60102010629)


คณะวิทยำศำสตร์ สำขำคณิตศำสตร์ (กศ.บ.) มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 1

เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)


เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของเรขาคณิตและพีชคณิต ซึง่ แสดงให้เห็นถึงการ
นาความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับเรขาคณิต ทาให้การศึกษาเรขาคณิตง่ายและน่าสนใจขึ้นในแง่ของ
การศึกษาเรขาคณิต โดยในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเราจะเน้นในการศึกษาคุณสมบัติของจุดและเส้นตรงในระบบ
แกนพิกัดฉากซึ่งเป็นความรู้เบื้องต้นเป็นหลัก
สรุปสาระสาคัญ
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
ถ้า P1 ( x1 , y1 ) และ P2 ( x2 , y2 ) เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบแล้ว และให้ P1 P2 เป็นระยะห่างระหว่างจุด P1 และ
จุด P2 จะได้ว่า

1 2  ( x1  x2 )  ( y1  y2 )
2 2
PP

ข้อสังเกต : 1. ถ้าจุดทั้งสองจุดนั้นอยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y (แนวนอน) แล้ว PP 1 2  x1  x2

2. ถ้าจุดทั้งสองจุดนั้นอยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน X (แนวตั้ง) แล้ว PP


1 2  y1  y2

จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด
ถ้า P1 ( x1 , y1 ) และ P2 ( x2 , y2 ) เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ และให้ Q จุดกึ่งกลางระหว่างจุด P1 และจุด P2
แล้ว จะได้ว่า

 x1  x2 y1  y2 
พิกัดของจุด Q คือ
 , 
 2 2 
x x y  y2
นั่นคือ x  1 2 และ y  1
2 2

จุดที่แบ่งระยะทางเป็นระยะ m : n
ถ้า P1 ( x1 , y1 ) และ P2 ( x2 , y2 ) เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ และให้ Q เป็นจุดที่แบ่งจุด P1 และจุด P2 ออกเป็น
ระยะ PQ1 : QP2 หรือ m : n แล้ว จะได้ว่า

 nx1  mx2 ny1  my2 


พิกัดของจุด Q คือ
 , 
 mn mn 
nx  mx2
นั่นคือ x 1 และ y  ny1  my2
mn mn
หน้าที่ 2 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

จุดตัดของเส้นมัธยฐาน หรือ จุดเซนทรอยด์


 เส้นมัธยฐาน (Median lines) คือ เส้นตรงที่ลากผ่านจุดกึ่งกลางบนด้านของรูปสามเหลี่ยมไปยังจุดยอด
ที่อยู่ตรงข้าม ทาให้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่ากัน
 จุดเซนทรอยด์ (Centroid) คือ จุดตัดที่เกิดจากการตัดกันของเส้นมัธยฐานทั้งสามเส้นของรูป
สามเหลี่ยม
กาหนดให้ P1 ( x1 , y1 ) และ P2 ( x2 , y2 ) และ P3 ( x3 , y3 ) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม PP
1 2 P3 และให้จุด Q
เป็นจุดเซนทรอยด์แล้ว จะได้ว่า

 x1  x2  x3 y1  y2  y3 
พิกัดของจุด Q คือ , 
 3 3 
x x x y  y2  y3
นั่นคือ x  1 2 3 และ y  1
3 3

พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
ถ้า ( x1 , y1 ) , ( x2 , y2 ) , ( x3 , y3 ) , …, ( xn , yn ) เป็นจุดยอดของรูป nเหลี่ยมแล้ว จะได้ว่า
- - - - -
x1 x2 x3 x4 xn1 xn x1
1
พื้นที่รูป n เหลี่ยม  ....
2
y1 y2 y3 y4 yn1 yn y1
1
+ + + + +
 (( x1 y2  x2 y3  ...xn 1 yn  xn y1 )  ( x2 y1  x3 y2  ...xn yn 1  x1 yn ))
2

ความชัน
ให้ เป็นเส้นตรงที่ลากผ่านจุด P( x1, y1 ) และ Q( x2 , y2 ) โดยที่ x1  x2 แล้ว
ความชัน (Slope) ของเส้นตรง ซึ่งแทนด้วย m คือ อัตราส่วนของผลต่างของ y ต่อ x หรือกล่าวได้ว่า

y y2  y1 y1  y2
m  
x x2  x1 x1  x2

หรือ

m  tan 

เมื่อ  คือ ค่าบวกของมุมที่วัดทวนเข็มนาฬิกาจาก


แกน X ไปยังเส้นตรงเส้นนั้น (0    180)
และเราเรียก  นี้ว่า ความเอียงของเส้นตรง (inclination)
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 3

สาหรับความชันของเส้นตรงนั้น จะช่วยบอกลักษณะของเส้นตรงได้ ตามรูปแบบของความชันดังนี้


Y

= °

กรณีที่ 1 เส้นตรงจะขนานกับแกน X (  0)


X

ค่าความชันเป็นศูนย์ (m  0)

= °

X
กรณีที่ 2 เส้นตรงจะขนานกับแกน Y (  90)
หาค่าความชันไม่ได้

Y
< °

กรณีที่ 3 เส้นตรงทามุมแหลมกับแกน X (  90)


 X

ค่าความชันเป็นบวก (มากกว่าศูนย์) (m  0)

Y
°< < °

กรณีที่ 4 เส้นตรงทามุมป้านกับแกน X (90    180)


 X

ค่าความชันเป็นลบ (น้อยกว่าศูนย์) (m  0)

เส้นขนานและเส้นตั้งฉาก
กาหนดให้ m1 , m2 เป็นความชันของเส้นตรง 1 และ 2 ตามลาดับ โดยที่ 1 และ 2 ไม่ขนานกับแกน Y
แล้ว

เส้นตรงทั้งสองจะขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ความชันของเส้นตรงทั้งสองเส้นเท่ากัน


นั่นคือ 1 // 2 ก็ต่อเมื่อ m1  m2

เส้นตรงทั้งสองจะตั้งฉากกัน ก็ต่อเมื่อ ผลคูณของความชันของเส้นตรงเท่ากับ 1


นั่นคือ 1  2 ก็ต่อเมื่อ m1  m2  1
หน้าที่ 4 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

จุดสามจุดบนเส้นตรงเดียวกัน
กาหนดให้จุด A( x1 , y1 ) , B( x2 , y2 ) และ C ( x3 , y3 ) เป็นจุดบนระนาบแล้ว เราสามารถตรวจสอบว่าจุดทั้งสามบน
เส้นตรงเดียวกันหรือไม่ได้ 3 วิธี คือ
วิธีที่ 1 ตรวจสอบโดยใช้ความชัน
ถ้า mAB  mBC แล้ว จุด A , B และ C อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
วิธีที่ 2 ตรวจสอบโดยใช้ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
ถ้า AB  BC  AC แล้ว จุด A , B และ C อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน

วิธีที่ 3 ตรวจสอบโดยใช้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
- - -
x1 x2 x3 x1
1
ถ้าพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC  0
2
y1 y2 y y1
+ 3+ +
แล้ว จุด A , B และ C อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน

มุมระหว่างเส้นตรงสองเส้นตัดกัน
 สาหรับเส้นตรงสองเส้นตัดกันนั้น จะเกิดมุม 2 มุม มุมหนึ่งจะเป็นมุมแหลม อีกมุมหนึ่งจะเป็นมุมป้าน
(ยกเว้นในกรณีที่เส้นตรงทั้งสองตัดกันเป็นมุมฉาก จะได้มุมฉากเท่านั้น)
 ถ้าโจทย์ไม่ได้ระบุให้ตอบมุมแหลม หรือมุมป้าน จะนิยมให้ตอบมุมแหลม ซึ่งเป็นมุมที่เล็กที่สุดที่วัดทวน
เข็มนาฬิกา
ให้ m1 , m2 เป็นความชันของเส้นตรง 1 และ 2 ตามลาดับ
และเส้นตรง 1 และ 2 ตัดกันทามุม  แล้ว จะได้

m1  m2
tan  
1  m1m2

ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็นเส้นตรง เราสามารถเรียกอีกชื่อ สมการเส้นตรง (Equation of a straight
line) หรือ สมการเชิงเส้น (Linear equation) หรือสมการดีกรีหนึ่ง (first degree equation)
ซึง่ สมการเส้นตรงที่มีความชัน m และผ่านจุด ( x0 , y0 ) คือ

y  y0  m( x  x0 )
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 5

จากสมการ y  y0  m( x  x0 ) เราสามารถจัดรูปใหม่ จะได้


y  y0  m( x  x0 )
y  mx  mx0  y0
ให้ c  mx0  y0 เพราะ mx0  y0 เป็นค่าคงตัว
จะได้ y  mx  c

เมื่อ m คือ ความชัน และ c คือ ระยะตัดแกน Y


ซึ่งเราจะเรียกสมการ y  mx  c นี้ว่าสมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน (Standard Form)
ในทานองเดียวกัน จากสมการ y  y1  m( x  x1 ) เราสามารถจัดรูปใหม่
จะได้ Ax  By  C  0
เมื่อ A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน
ซึ่งเราจะเรียกสมการ Ax  By  C  0
นี้ว่าสมการเส้นตรงในรูปทั่วไป (General form of linear equation)
เมื่อเราเปรียบเทียบสมการเส้นตรงในรูปมาตรฐานและในรูปทั่วไป
จะได้ ความชัน คือ m   A และ ระยะตัดแกน Y คือ c   C
B B
รูปมาตรฐานของสมการเส้นตรงแบบต่าง ๆ ตามข้อมูลที่กาหนด
รูปแบบ ข้อมูลที่กาหนด กราฟ สมการ
1. Point – Slope Form - ความชัน m Y

- ผ่านจุด ( x0 , y0 ) ( x0 , y0 )
m
y  y0  m( x  x0 )
X

2. Slope – intercept - ความชัน m Y

Form - ระยะตัดแกน Y คือ c


m y  mx  c
c X

3. Intercept Form - เส้นตรงตัดแกน X ที่ Y

จุด (a,0) b
x y
- เส้นตรงตัดแกน Y ที่  1
a b
X
จุด (0, b) a

4. Point – Point Form - ผ่านจุด ( x1 , y1 ) และ Y

(Two – Point Form) ( x2 , y2 ) ( x2 , y2 ) y y 


( x1 , y1 )
y  y1   1 2  ( x  x1 )
X  x1  x2 
หน้าที่ 6 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

การหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y
1. การหาจุดตัดแกน X

เส้นตรงตัดแกน X ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงผ่านจุด ( x,0) ซึ่งเป็นจุดตัดแกน X

ดังนั้น ต้องแทนค่า y0 ลงในสมการเส้นตรงจึงจะได้ค่า x ออกมา


2. การหาจุดตัดแกน Y
เส้นตรงตัดแกน Y ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงผ่านจุด (0, y) ซึ่งเป็นจุดตัดแกน Y
ดังนั้น ต้องแทนค่า x0 ลงในสมการเส้นตรงจึงจะได้ค่า y ออกมา
การหาจุดตัดของเส้นตรง
สามารถทาได้โดยการแก้ระบบสมการเชิงเส้นเพื่อหา x และ y

ระยะห่างระหว่างเส้นตรงและจุด
กาหนดสมการเส้นตรง 1 คือ Ax  By  C  0 และจุด ( x0 , y0 ) ใด ๆ ที่อยู่ระนาบแล้ว ให้ d แทนระยะห่าง
ระหว่างเส้นตรง 1 และจุด ( x0 , y0 ) จะได้ว่า

Ax0  By0  C
d
A2  B 2

ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน
ถ้าเส้นตรง 1 และ 2 เป็นเส้นตรงที่ขนานกันซึ่งมีสมการ คือ
1 : Ax  By  C1  0
2 : Ax  By  C2  0
ให้ d แทนระยะห่างระหว่างเส้นตรง 1 และ 2 แล้ว จะได้ว่า

C1  C2
d
A2  B 2

****************************************************************************
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 7

แบบฝึกหัดระคน
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)
1. จงหาระยะห่างระหว่างจุดสองจุดต่อไปนี้
1.1 P1 (2,3) และ P2 (4, 5) 1.2 P(1, 3) และ Q(4, 2)
วิธีทา PP 1 2  ( x1  x2 )  ( y1  y2 )
2 2
วิธีทา PQ  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2
 ((2)  4) 2  (3  (5)) 2  (1  4) 2  (3  2) 2
 (6) 2  (8) 2  (3) 2  (5) 2
 36  64  9  25
 100  34
 10
1.3 P(5a, 1) และ Q(5a,7) 1.4 P(a, 4a) และ Q(5a, 3a) เมื่อ a 
วิธีทา PQ  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2 วิธีทา PQ  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2
 ((5a)  (5a))2  ((1)  (7)) 2  (a  5a) 2  ((4a)  (3a)) 2
 (0)2  (8) 2  (4a) 2  (7a) 2
 0  64  16a 2  49a 2
 64  65a 2
8
 65 a

 1 
2. จงหาระยะทางระหว่างจุด P1 ( 3,6) และ P2  , 2 
 3 2 
2
 1 
วิธีทา ( x1  x2 )   3 
2

 3 2
2
 1 3 2
  3   
 3  2 3  2 
2
 3 2
  3  
 1 
 ( 3  3  2) 2
 ( 2) 2
2
( y1  y2 )  (6  (2)) 2
2

 (8)2
 64
 1 
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด P1 ( 3,6) และ P2  , 2  คือ 2  64  66 หน่วย
 3 2 
หน้าที่ 8 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

3. ระยะห่างระหว่างจุด ( 3m, m) และ ( 3, 1) หารด้วย 2 ลงตัวหรือไม่


วิธีทา PQ  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2
 (( 3m)  ( 3)) 2  ((m)  (1)) 2
 ( 3m  3) 2  (m  1) 2
 ( 3(m  1)) 2  (m  1) 2
 3(m  1) 2  (m  1) 2
 4(m  1) 2
 2 m 1
ดังนั้น ระยะห่างระหว่างจุด ( 3m, m) และ ( 3, 1) หารด้วย 2 ลงตัว
4. จงหาจุดซึ่งอยู่บนแกน X และอยู่ห่างจากจุด A(8,3) และ B(4,6) เป็นระยะทางเท่ากัน
วิธีทา ให้ P เป็นจุดซึ่งอยู่บนแกน X และอยู่ห่างจากจุด A(8,3) และ B(4,6) เป็นระยะทางเท่ากัน
เราจะได้ว่า P มีพิกัดอยู่ที่จุด ( x,0) และ AP  PB
นั่นคือ ((8)  x)2  (3  0)2  ( x  4)2  (0  6)2
(8  x) 2  (3) 2  ( x  4) 2  (6) 2
x 2  16 x  64  9  x 2  8 x  16  36
16 x  73  8 x  52
16 x  8 x  52  73
24 x  21
7
x
8
 7 
ดังนั้น จุดซึ่งอยู่บนแกน X และอยู่ห่างจากจุด A(8,3) และ B(4,6) เป็นระยะทางเท่ากัน คือ   ,0
 8 
5. จงหาพิกัดของจุดกึ่งกลางที่อยู่ระหว่างจุดสองจุดต่อไปนี้
5.1 P1 (2,3) และ P2 (4, 5) 5.2 P(1, 3) และQ(4, 2)

วิธีทา จุดกึ่งกลาง คือ  (2)  4 3  (5) 


 ,  วิธีทา จุดกึ่งกลาง คือ  (1)  4 , (3)  (2) 
 2 2   2 2 
 2 2   5 1 
 ,   , 
2 2  2 2 
 (1, 1)
5.3 P1 (4, 1) และ P2 (3, 0) 5.4 P1 (a, 6b) และ P2 (5a, 2b)
 4  3 (1)  (0)   (a)  (5a) (6b)  (2b) 
วิธีทา จุดกึ่งกลาง คือ  ,  วิธีทา จุดกึ่งกลาง คือ  , 
 2 2   2 2 
 7 1   4a 8b 
 ,   , 
2 2   2 2
 (2a, 4b)
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 9

6. กาหนดให้ (0, 3) และ (12, 7) เป็นจุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่ง จงหาจุดศูนย์กลางของวงกลม


วงนี้
วิธีทา ให้ C แทนจุดศูนย์กลางของวงกลม
เนื่องจากความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง เป็นสองเท่าของความยาวของรัศมี
ดังนั้น จุดศูนย์กลางของวงกลมจะเป็นจุดกึ่งกลางของจุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของวงกลม
 (0)  12 (3)  7   12 4 
ดังนั้นพิกัดของ C คือ  ,    ,   (6, 2)
 2 2   2 2

7. ถ้า C(8, 2) เป็นจุดกึ่งกลางของส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุด A(6,6) และ B จงหาพิกัดของจุด B


วิธีทา ให้ B มีพิกัดอยู่ที่จุด ( x, y)
6  x 6 y
จะได้ว่า 8 และ 2
2 2
16  6  x และ 4  6 y
ดังนั้น x  22 และ y  2
นั่นคือ B มีพิกัดอยู่ที่จุด (22, 2)
8. A(5,7) , B(3,9) และ C(9, 4) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง จงหาความยาวของเส้นมัธยฐานจากจุด B
ไปยังด้าน AC B
วิธีทา จากโจทย์จะต้องหาจุดกึ่งกลางของด้าน AC
 (5)  (9) (7)  (4)   14 3   3 
จะได้ว่า  ,    ,    7, 
 2 2   2 2  2
ดังนั้นความยาวของเส้นมัธยฐานจากจุด B ไปยังด้าน AC
คือ BB '  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2
A C
2
 3  
 (7  (3))2      9 
 2  
2
 15 
 (10)    
2

 2
225
 100 
4
625

4
25

2
 12.5 หน่วย
หน้าที่ 10 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

9. กาหนดให้ A(0, 4) และ B(9, 7) เป็นจุดปลายส่วนของเส้นตรงจงหาพิกัดของจุดบนส่วนของเส้นตรง นี้ซึ่งอยู่ห่าง

จาก A เท่ากับ 3 ของระยะห่างระหว่าง A และ B


7
วิธีทา ให้ P เป็นจุดที่อยู่ห่างจาก A เท่ากับ 3 ของระยะห่างระหว่าง A และ B แสดงว่า AP : PB  3 : 4
7

ดังนั้นพิกัดของจุด P คือ  (4)(0)  3(9) , (4)(4)  (3)(7)    27 , 5 


 43 43   7 7 
10. จงหาพิกัดของจุด M เมื่อ M อยู่บนส่วนของเส้นตรง AB ซึง่ A(2, 5) และ B(6,3) และทาให้
AM : MB  3 : 4
 (4)(2)  (3)(6) (4)(5)  (3)(3)   26 11 
วิธีทา ดังนั้น พิกัดของจุด P คือ  ,  , 
 43 43   7 7 
11. ให้ A(1, 3) , B(4, 2) และ C(5, 4) จงหาพิกัดของจุดเซนทรอยด์
วิธีทา ให้จุด Q เป็นจุดเซนทรอยด์
 x  x  x y  y  y3 
ดังนั้น พิกัดของ Q คือ Q( x, y)  Q  1 2 3 , 1 2 
 3 3 
 (1)  (4)  (5) (3)  (2)  (4) 
 Q , 
 3 3 
 0 3
 Q , 
 3 3
 Q(0,1)

12. ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอดที่มีพิกัดเป็น A(1, 4) , B( x, y) , C(5, 2) ถ้ารูปสามเหลี่ยมนี้มีจุดเซนทรอยด์


คือ (3, 7) จงหาพิกัดของจุด B
วิธีทา พิจารณา x พิจารณา y
จะได้ว่า 3  (1)  x  (5) จะได้ว่า 7
(4)  y  (2)
3 3
9  (1)  x  (5) 21  (4)  y  (2)
94 x 21  y  2
5 x 19  y
ดังนั้น พิกัดของจุด B คือ (5,19)

13. กาหนดให้ A(2, 1) , B(4,3) , C(1, 2) และ D(3, 2) เป็นจุดยอดของรูปสี่เหลี่ยมแล้ว จงหาพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยม ABCD
1 2 4 1 3 2
วิธีทา พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม คือ
2 1 3 2 2 1
1
 ((6  8  2  3)  (4  3  6  4))
2
1 1
 (19  17)  (36)
2 2
 18 ตารางหน่วย
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 11

14. กาหนดให้ A(3, 1) , B(7, 2) และ C(2,5) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมแล้ว จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
ABC Y
1 3 7 2 3
วิธีทา พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม คือ C
2 1 2 5 1
1
 ((6  35  2)  (7  4  15))
2 X

1 19
 ((31)  (12)) 
2 2 A B
ตารางหน่วย
 9.5
15. จงหาค่าความชันของเส้นตรงที่ลากผ่านจุดต่อไปนี้
5.1 P1 (2,3) และ P2 (4, 5) 5.2 P(1, 3) และ Q(4, 2)

วิธีทา m
(5)  3 8
 
4
วิธีทา m  (2)  (3)  5
4  (2) 6 3 (4)  (1) 3

5.3 P1 (4, 1) และ P2 (3, 0) 5.4 P1 (5a, 3a) และ P2 (12a, 6a)

วิธีทา m  (0)  (1)  1  1 วิธีทา m  (6a)  (3a)  9a  9


(3)  (4) 1 (12a)  (5a) 17a 17

4
16. จงหาค่าของ y ที่ทาให้เส้นตรงที่ผ่านจุด (3, 5) และ (2, y  4) มีความชันเป็น 
5
(5)  ( y  4) 4
วิธีทา จากวิธีการหาความชันของเส้นตรง จะได้ 
3  (2) 5
 y 1 4

5 5
 y  1  4
y 1  4
y3
ดังนั้น y  3
17. จงตรวจสอบว่าจุด A(3,3) , B(1, 6) และ C(3, 11) อยู่บนเส้นตรง
เดียวกันหรือไม่
วิธีทา เนื่องจากเส้นตรงที่ผ่านจุด A และ C
3  (11) 7
มีความชันเท่ากับ 
(3)  3 3
และเส้นตรงที่ผ่านจุด B และ C
(6)  (11) 5
มีความชันเท่ากับ 
1 3 2
เนื่องจากความชันของเส้นตรงทั้งสองเส้นไม่เท่ากัน
ดังนั้น A(3,3) , B(1, 6) และ C(3, 11) ไม่ได้อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
(เราสามารถเลือกตรวจสอบ mAC  mAB หรือ mAB  mBC แทน mAC  mBC ก็ได้)
หน้าที่ 12 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

18. จุด A(4, 10) , B(1, 2) และ C(6,14) อยู่บนเส้นตรงเดียวกันหรือไม่


วิธีทา จากระยะทางระหว่างจุดสองจุดคือ ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2
ขั้นตอนที่ 1 : พิจารณาจุด A(4, 10) และ B(1, 2)
AB  (4  (1)) 2  ((10)  2) 2
AB  52  (12) 2
AB  25  144
AB  169
AB  13
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(4, 10) และ B(1, 2) คือ 13 หน่วย
ขั้นตอนที่ 2 : พิจารณาจุด B(1, 2) และ C(6,14)
BC  ((1)  (6)) 2  (2  14) 2
BC  (5) 2  (12) 2
BC  25  144
BC  169
BC  13
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด B(1, 2) และ C(6,14) คือ 13 หน่วย
ขั้นตอนที่ 3 : พิจารณาจุด A(4, 10) และ C(6,14)
AC  (4  (6)) 2  ((10)  14) 2
AC  (10)2  (24) 2
AC  100  576
AC  676
AC  26
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(4, 10) และ C(6,14) คือ 26 หน่วย
เนื่องจาก AB  BC  AC

เพราะฉะนั้น จุด A(4, 10) , B(1, 2) และ C(6,14) อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน


19. จงหาสมการเส้นตรงในรูปมาตรฐานที่ผ่านจุดและมีความชันต่อไปนี้
19.1 P1 (1, 5) และ m  2 19.2 P(4, 2) และ m  3
วิธีทา y  (5)  2( x 1) วิธีทา y  (2)  (3)( x  4)
y  5  2x  2 y  2  3x  12
y  2x  7 y  3x  10

19.3 P1 (2, 0) และ m


4 19.4 P1 (3, 2) และ m2
5
วิธีทา y  ( 2)  (2)( x  3)
 4
วิธีทา y  (2)     ( x) y  2  2x  6
 5
4 y  2x  6  2
y   x2
5
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 13

20. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (2,1) และ (3, 6)


(6)  1 7
วิธีทา 1. หาความชัน  7
(3)  (2) 1
2. หาสมการในรูปมาตรฐาน y 1  7( x  2)
y  1  7 x  14
y  7 x  15
3. หาสมการในรูปทั่วไป 7 x  y 15  0
2
21. จงหาสมการของเส้นตรงในรูปมาตรฐานและในรูปทั่วไปที่ตัดแกน Y ที่ y2 และมีความชันคือ 
3
วิธีทา เนื่องจาก เส้นตรงตัดแกน Y ที่ y  2 นั่นคือ เส้นตรงผ่านจุด (0, 2)
ดังนั้น จะได้สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน
นั่นคือ y  (2)    2  ( x  0) Y

 3
2 P(2,0)
y  x2
3 X

และสมการของเส้นตรงในในรูปทั่วไป
2
คือ y  x2
3
3 y  2 x  6
2x  3 y  6  0
22. สมการเส้นตรง 2x  3 y  6  0 มีความชัน ระยะตัดแกน X และแกน Y เป็นเท่าใด
วิธีทา จัดรูปสมการจะได้ 2x  3 y  6  0
3 y  6  2x
2
y  2 x
3
2
ดังนั้น เส้นตรงมีความชัน  มีระยะตัดแกน X เป็น 3 และมีระยะตัดแกน Y เป็น 2
3
4  a
23. จงหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด  ,5a  เมื่อ a0 และมีความชันเป็น
a  2
 a  4
วิธีทา หาสมการเส้นตรง จะได้ y  (5a)    x  
 2  a
a
y  x  2  5a
2

หาจุดตัดแกน X : ให้ y  0 จะได้ 0  a x  2  5a หาจุดตัดแกน Y : ให้ x0 จะได้ y  2  5a


2
a
5a  2  x
2
4
10   x
a
ดังนั้น จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y คือ  10  4 , 0  และ (0, 2  5a) ตามลาดับ
 a 
หน้าที่ 14 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

24. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, 3) และขนานกับเส้นตรง 2x  5 y  2  0


2
วิธีทา จาก 2x  5 y  2  0 จะได้ความชัน คือ
5
2
ดังนั้นจะได้สมการ คือ y  (3)    ( x  2)
5
2 4
y3 x
5 5
2 4 15
y  x 
5 5 5
2 19
y  x
5 5
25. กาหนดให้ A(0,3) , B(4,7) , C( x, y) และ D(1, 4) เมื่อ x, y  เป็นจุดยอดมุมของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
และ AC ไม่ขนานกับ BD แล้ว จงหาค่าของ y  2 x
(7)  (3) (4)  y
วิธีทา 1. AB / / CD นั่นคือ 
(4)  (0) 1 x
4  y
1 
1 x
x 1  4  y
x  y  3 ------ (1)
(4)  (3) y  (7)
และ AD / / BC นั่นคือ 
(1)  (0) x  (4)
y7
7 
x4
7( x  4)  y  7
7 x  28  y  7
7 x  y  21 ------ (2)
(1) + (2) จะได้ 6 x  18
x  3
และได้ y  0
ดังนั้น y  2x  (0)  2(3)  6
26. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (1,3) และตั้งฉากกับเส้นตรง 5x  y 1  0
1
วิธีทา จาก 5x  y 1  0 จะได้ความชัน คือ
5
1
ดังนั้นความชันของเส้นตรงคือ  m2  1
5
m2  5
จะได้สมการ คือ y  (3)  (5)( x  1)
y  3  5 x  5
y  5 x  2
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ม.4 หน้าที่ 15

27. กาหนด A(1, 3) , B(5,0) และ C(1,8) จงแสดงว่ารูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
วิธีทา พิจารณาความชัน AB  (0)  (3)   1
(5)  (1) 2

และความชัน BC  (8)  (0)  2


(1)  (5)
พบว่า mAB  mBC  1 ดังนั้น ABC  90
นั่นคือ รูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

28. จงหาระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรงต่อไปนี้
28.1 1 : 3x  4 y  9  0 และ (2,6) 28.2 1 : 7x  2 y  5  0 และ (3, 8)
(3)( 2)  (4)(6)  9 (7)(3)  (2)(8)  5
วิธีทา d วิธีทา d
(3) 2  (4) 2 (7)2  (2)2
6  24  9 21  16  5
d d
9  16 53
39
d หน่วย d
42
5 53
42 53
d หน่วย
53
28.3 1 : 3x  4 y  4  0 และ (2, 3) 28.4 1 : x  2y  4  0 และ (1, 1)
(3)(2)  (4)(3)  4 (1)(1)  (2)(1)  4
วิธีทา d วิธีทา d
(3)  (4)
2 2
(1)2  (2) 2
6  12  4 1 2  4
d d
25 5
d
22
หน่วย 1
5 d
5
5
d หน่วย
5
29. จงหาสมการเส้นตรงที่ขนานและอยู่ห่างจากเส้นตรง 2x  5 y  3  0 เป็น ระยะ 5 หน่วย
 2( x ')  (5)( y ')  3 
วิธีทา ให้ เป็นเส้นตรงที่มีสมบัติตามที่โจทย์ต้องการ แสดงว่า  ( x ', y ')  5
 29 
2( x ')  (5)( y ')  3
พิจารณา 5
29
2( x ')  (5)( y ')  3  5 29
จะได้ว่า 2 x ' 5 y ' 3  5 29 หรือ 2 x ' 5 y ' 3  5 29
นั่นคือ 2 x ' 5 y ' 3  5 29  0 หรือ 2 x ' 5 y ' 3  5 29  0 เป็นเส้นตรงสองเส้นที่ขนานและอยู่ห่างจาก
เส้นตรง 2x  5 y  3  0 เป็น ระยะ 5 หน่วย
หน้าที่ 16 เอกสารสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ โดย นายกฤษณะ เจนกลาง

30. กาหนดสมการเส้นตรง 7 x  24 y  a  0 ห่างจากจุด (5,1) เป็นระยะ 5 หน่วย จงหาค่า a


วิธีทา จากสูตรการหาระยะห่างเส้นและจุดจะได้ว่า
(7)(5)  (24)(1)  a
5
(7) 2  (24) 2
(7)(5)  (24)(1)  a
5
25
125  35  24  a
125  59  a
จะได้ว่า 125  59  a หรือ 125  59  a
นั่นคือ a  184 หรือ a  66
31. จงหาระยะห่างของเส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี้
1 : 3x  4 y  2  0
2 : 3x  4 y  5  0
3 : 3x  4 y  9  0
2  (5) 7
วิธีทา 1. 1 ห่างจาก 2  หน่วย
(3)  4
2 2 5
(5)  9 14
2. 2 ห่างจาก 3  หน่วย
(3)2  42 5
29 7
3. 1 ห่างจาก 3  หน่วย
(3)2  42 5
32. จงหาระยะห่างระหว่างเส้นตรง 1 : x  4 y  3  0 ซึ่งขนานกับเส้นตรง 2 : 2 x  8 y  11  0
วิธีทา ให้ 1 : x  4y  3  0 ------ (1)
2 : 2 x  8 y  11  0 ------ (2)
(1) (2) ; 3 : 2 x  8 y  6  0 ------ (3)
ต่อไปจะหาระยะห่างระหว่างเส้นตรง 3 : 2 x  8 y  6  0 ซึ่งขนานกับเส้นตรง 2 : 2 x  8 y  11  0
(6)  (11) 17 17 17 17
จะได้ว่า     หน่วย
(2)2  (8)2 4  64 68 2 17 2

****************************************************

You might also like