You are on page 1of 26

ข้อสอบคณิตศาสตร์ เข้ ามหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2534

ตอนที่ 1
1. ให้ p และ q เป็ นประพจน์ ถ้า p * q เป็ นพจน์ที่มีค่าความจริ งตามตารางข้างล่างนี้
p q p*q
T T F
T F F
F T F
F F T
แล้วประพจน์ p * q สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. ~ (~p  q) 2. ~p  q
3. ~(q  ~p) 4. q  ~p
2. กำหนดเอกภพสัมพัทธ์ U = {1, -1, i, -i} โดยที่ i =  1 ข้อใดมีคา่ ความจริ งเป็ นเท็จ
1. z [z2 = 1] 2. z [z36 = 1]
1 
3. z  2  z  4. z [z3 – z = 0]
3. ให้ A = {1, a, 2, b, 3, c} , B = {1, 2}
จำนวนสับเซต S ของ A ซึ่ ง S  B   เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 48 2. 32 3. 24 4. 16
1
4. กำหนดให้ f (x) = 2 3x 3  1
g (x) = 3  x
h (x) =  x 2  5x  6
g
ถ้า U = h แล้ว Rf  Du เป็ นสับเซตของเซตในข้อใดดังต่อไปนี้
1. (-4, 1) 2. (-1, 5) 3. (2, 7) 4. (4, 8)

5. กำหนดฟังก์ชนั f และ g จากเซตของจำนวนจริ ง R ไปยัง R โดย


f (x) = 1 + x
1
g (x) = f ( x )
(gof)(x) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 + x 2. 2 + x
1 1
3. 1  x 4. 2  x

6. ถ้า f(x) = 1 – x + x2 – x3 + ... ทุกจำนวนจริ ง x ซึ่ งทำให้อนุกรมคอนเวอร์จ และ g(x) = 1 – x2


ทุกจำนวนจริ ง x แล้ว ข้อใดต่อไปนี้จริ ง เมื่อ D เป็ นโดเมนของ f  g
1. D = (- , ) และ (f  g)(x) =1+x ทุก x  D
2. D = (- 1, 1) และ (f  g)(x) =1+x ทุก x  D
3. D = (- , ) และ (f  g)(x) = 1 - x ทุก x  D
4. D = (- 1, 1) และ (f  g)(x) = 1 - x ทุก x  D

7. กำหนดให้ a และ b เป็ นจำนวนจริ งลบทั้งคู่ ถ้า a < x < b แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1.  x  + a > 0 2.  x  + b < 0
1 1 1 1
3. x < b 4. x < a

8. กำหนดให้
p คือประพจน์ “ถ้า a, b และ c เป็ นจำนวน ab < ac แล้ว b < c”
และ q คือประพจน์ “ถ้า x และ y เป็ นจำนวนอตรรยะ แล้ว x + y เป็ นจำนวนอตรรกยะ”
ประพจน์ใดต่อไปนี้มีความจริ งเป็ นจริ ง
1. p  ~q 2. p  q
3. ~p  ~q 4. ~p  q

9. ถ้า k เป็ นจำนวนเต็มบวกที่ใหญ่ที่สุดที่ทำให้เส้นตรง y = kx + 1 ตัดกับไฮเปอร์โบลา


x2 y2
4

40
1 แล้ว k เป็ นจำนวนที่อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี้
1. (2.5, 5] 2. (5, 7.5] 3. (7.5, 10] 4. (10, 12.5]

10. สับเซตของจำนวนเชิงซ้อนในข้อใดต่อไปนี้ที่สมาชิกทุกตัวมีอินเวอร์สมการคูณอยูใ่ นเซตนั้น


 1 
1. {1, 1 – i, 1 + i} 2. 1, cos 1  i sin 1,


cos 1  i sin 1
 1 
3. 1, 1  i,


1 i 
4.  1, cos 1  i sin 1, cos 1 - i sin 1

11. จากพาราโบลาที่กำหนดให้ดงั ในรู ป


ความยาวของ AB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3.00
2. 3.25
3. 3.50
4. 3.75

12. ถ้า F เป็ นจุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา 6x2 – 10y2 – 12x – 40y – 94 = 0 อยูใ่ นควอดแรนท์ที่สี่
แล้วสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอดที่ F และมีแกนสังยุคของไฮเพอร์โบลาเป็ นเส้นไดเรกตริ กซ์
คือสมการในข้อใดต่อไปนี้
1. y2 + 4y - 4x = 0 2. y2 + 4y - 4x + 24 = 0
3. y2 + 4y - 16x - 44 = 0 4. y2 + 4y - 16x + 84 = 0

13. กำหนดให้เส้นตรง L1 ลากผ่านจุดกำเนิด และทำมุม 60 ตัดกับแกน x ทางด้านบวก


ถ้าเส้นตรง L2 ห่างจากจุดกำเนิด 6 หน่วย และตั้งฉากกับเส้นตรง L1 ในควอดเรนท์ที่หนึ่ง
แล้วสมการของเส้นตรง L2 คือสมการในข้อใดต่อไปนี้
1. x + 3y + 12 = 0 2. 3x + y + 12 = 0
3. x + 3y - 12 = 0 4. 3x + y – 12 = 0
x
14. พาราโบลารู ปหนึ่ง จุดโฟกัสอยูท่ ี่ (5, -1) จุดยอดอยูบ่ นเส้นตรง y = 2 เส้นไดเรกตริ กซ์
ขนานกับแกน x สมการของเส้นไดเรกตริ กซื ของพาราโบลารู ปนี้ คือสมการในข้อใดต่อไปนี้
7 5
1. y = 7 2. y 2 3. y = 2 4. y = 6

15. จำนวนจริ ง x ทั้งหมดในช่วง [0, 2] ซึ่ งสอดคล้องกับสมการ


 π , 3π 
1. [0, ] 2.  2 2 
0 , π   3π ,2 π 
3. [, 2] 4.  2    2 

16. ให้ a, b เป็ นค่าคงที่ และ f (x) = a sin x + bx cos x + x2 สำหรับทุกค่า x  R


ถ้า f (x) = 3 แล้ว f (-2) เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. –3 2. –1
3. 1 4. 5
B
17. ถ้า A(1, 2) , B (4, 3) และ C (3, 5) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC แล้ว sin 2
มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1  50  1  12 1  50  1  12
1. 2   2. 2  
50  50 
1 1

3.  50  1  2 4.  50  1  2
   
 2 50   2 50 

 arctan 3 
 4  3
18. ค่าของ sin 
2
 + cos  2 arcsin 5  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
 
1 6 1 6
1. 
10 25
2. 
3 25
1 7 1 7
3. 
10 25
4. 
3 25

19. สุ ดายืนอยูท่ างทิศตะวันออกของตึกหลังหนึ่ง มองเห็นยอดตึกเป็ นมุมเงย 45 จากจุดนี้สุดา


เดินไปทางทิศใต้เป็ นระยะ 100 เมตร จะมองเห็นยอดตึก (ที่ตำแหน่งเดิม) เป็ นมุมเงย 30
ความสูงของตึกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 100 2. 50 2
100
3. 50 3 4. 3

20. ฟังก์ชนั ที่นิยามในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั ลด


1. f(x) = (sin 45) – x 2. g (x) = (log7) x
x
3. h(x) = 1
  4. r (x) = x
2

21. ถ้า x และ y สอดคล้องสมการ logk x  log5 k = 1 เมื่อ k > 1 และ 102y = 625
ตามลำดับ แล้วข้อใดต่อไปนี้ผดิ
1. 5 < x + y < 7 2. 3 < x – 7 < 4
x 1
3. 0 < xy < 10 4. 0 < y < 2
22. คำตอบของอสมการ e x 2 ln 2  2 x คือข้อใดต่อไปนี้
  , ln 2  ln 2
1. 


ln 3 
2.  0 , ln 3 
 ln 3 ,   ln 3
3. 
 ln 2 
 4.  0, ln 2 
4
23. กำหนดให้ x = log 3 
( 9 1 )( 27 ) 3
25 5 24
y = log 8
- 2 log 3
+ log 9
x
ค่าของ y ที่ได้จากสมการที่กำหนดให้คือค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. – 1
3. 1 2. 2
24. ผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ตอนุกรมหนึ่งเท่ากับ 430 ถ้าพจน์ที่ 10 ของอนุกรมนี้
คือ 79 แล้วผลบวก 3 พจน์แรกมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 44 2. 45
3. 46 4. 47
25. สำหรับจำนวนเต็มบวก n > 1 ใด ๆ
ให้ an เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของ xn + 2 ในการกระจาย (1 + 2x) 2n
และ bn เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของ xn ในการกระจาย (2 + 3x)2n
an
ลำดับ 3n  b เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้
n
4
1. มีลิมิตเป็ น 0 2. มีลิมิตเป็ น 3
3. มีลิมิตเป็ น 4 4. เป็ นลำดับไดเวอร์เจนต์

26. ถ้าอัตราการเปลี่ยนแปลงของความชันของเส้นโค้ง y = f (x) ณ จุดใด ๆ มีคา่ เป็ น x –1 และ


เส้นโค้งนี้มีความชันเป็ น 1 ณ จุด (-1, 0) แล้วสมการของเส้นโค้งนี้ คือข้อใดต่อไปนี้
x2 1 x2 3
1. y = 2
x
2
2. y = 2
x
2
3 2 2
x x x 1 x 3 x 13
3. y = 6
  
2 2 6
4. y = x3 
2

2

6

7 5 4
f ( x  h)  f ( x)
27. กำหนดให้ฟังก์ชนั f(x) = 3 x  12 x  24 x ค่าของ hlim เมื่อ x = 8
3 3 3
0 h
x2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1
3. 2 4. 3

28. ให้ A และ B เป็ นเมตริ กซ์มิติ 2  2 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. ถ้า A = -At แล้วสมาชิกในแนวทแยงมุมจากบนซ้ายถึงล่างขวาของ A เป็ น 0 ทั้งหมด
ข. ถ้า A2 = B และ B เป็ นนอนซิ งกูลาร์เมตริ กซ์ แล้ว A เป็ นนอนซิ งกูลาร์เมตริ กด้วย
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

29. ให้ a = 2 i + 3 j ถ้า b มีจุดเริ่ มต้นที่ (0, 0) และตั้งฉากกับ a แล้วเส้นตรงที่ลากทับ


เวกเตอร์ b จะผ่านจุดทุกจุดที่กำหนดให้ในข้อใดต่อไปนี้
1. {(2, 4), (3, -2), (6, -4)} 2. {(-4, 1), (-1, -1), (2, -3)}
3. {(-4, -6), (-2, -3), (0, 0)} 4. {(2, 3), (0, 0) , (2, -3)}

30. ให้ ABCD เป็ นสี่ เหลี่ยมด้านขนานที่มีพิกดั ของจุด A เป็ น (-1, 2) และกำหนด
 
AB = 9 i + 4 j , CD = - i + 5 j
อยากทราบว่าพิกดั ของจุด C เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (7, 11) 2. (8, 11)
3. (9, 11) 4. (8, 9)
31. ให้ a และ b เป็ นจำนวนจริ งใด ๆ ที่ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกัน
a  cos2θ sin2θ 
กำหนดเมตริ กซ์ A =  b  , B =   sin2θ cos2θ 
  
 π
ค่าของมุม  ในช่วง 0, 2  ที่จะทำให้เมตริ กซ์ผลคูณ At BA เป็ นเมตริ กซ์ศูนย์คือ
ค่าในข้อใดต่อไปนี้
π π
1. 6 2. 3
π π
3. 4
4. 2

32. กำหนดให้เซต A มีสมาชิก 4 ตัว และเซต B มีสมาชิก 5 ตัว ถ้าสร้างฟังก์ชนั จาก A ไป B


แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้ฟังก์ชนั 1 – 1 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
24 120
1. 625 2. 625
24 120
3. 196 4. 196

33. นาย ก. ข. และ ค. จะขึ้นลิฟท์ซ่ ึ งมีท้ งั หมด 3 ตัว จำนวนวิธีที่นาย ก. และ ข. ขึ้นด้วยกัน
แต่นาย ค. ขึ้นคนเดียวมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6 2. 7
3. 8 4. 9

34. ตูใ้ บหนึ่งมีเสื้ อสี แดงแบบต่าง ๆ กัน 6 ตัว และเสื้ อสี ขาวแบบต่าง ๆ กัน 4 ตัว ถ้าสุ่ มหยิบเสื้ อ
จากตูใ้ บนี้มา 5 ตัว ให้มีสีคละกันแล้ว จำนวนวิธีที่จะหยิบได้เสื้ อสี แดงมากกว่าเสื้ อสี ขาว
คือข้อใดต่อไปนี้
1. 60 วิธี 2. 120 วิธี
3. 180 วิธี 4. 240 วิธี

35. เลือกจำนวนเต็มซึ่ งหารด้วย 3 ลงตัวมาหนึ่งจำนวนให้มีค่าอยูใ่ นระหว่าง 10 ถึง 200


ความน่าจะเป็ นที่จำนวนที่เลือกมานี้ จะหารด้วย 7 ลงตัวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 2
1. 7 2. 7
3 4
3. 7
4. 7

36. กล่องใบหนึ่งบรรจุปากกา 1 โหล เป็ นปากกาสีแดง 3 ด้าน สีเขียว 4 ด้าน ที่เหลือเป็ นสีน้ำเงิน
ความน่าจะเป็ นที่สุ่มหยิบปากกามา 3 ด้าม แล้วได้ครบทุกสี มีค่าเท่ากับในข้อใดต่อไปนี้
1 1
1. 60
2. 22
3 3
3. 11
4. 12

37. ถ้าเส้นโค้งของการแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ์ของตัวแปร x มีสมการ y = 1 - e (  x 1)


ดังแสดงในรู ป แล้วมัธยฐานของตัวแปร x เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้

1. 1 + ln2
2. 1 – ln2
1
3. 1 - e 2
1
4. 1 + e 2

38. ปั จจุบนั ความแปรปรวนของอายุของสมาชิกครอบครัวหนึ่งซึ่ งมี 4 คน เท่ากับ 9 (ปี )2 และ


ความแปรปรวนของอายุของสมาชิกอีกครอบครัวหนึ่งซึ่ งมี 6 คน เท่ากับ 4 (ปี )2 ถ้า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุของสมาชิกทั้งสองครอบครัวนี้ เท่ากันแล้ว อีก 2 ปี ข้างหน้า
ความแปรปรวนรวมของอายุของสมาชิกทั้งสองครอบครัวนี้ คือข้อใดต่อไปนี้
1. 6 (ปี )2 2. 8 (ปี )2
3. 10 (ปี )2 4. 12 (ปี )2

39. นักเรี ยนห้องหนึ่งมี 40 คน เป็ นชายและหญิงจำนวนเท่ากัน ในการสอบวิชาหนึ่งคะแนนของกลุม่


นักเรี ยนชายและกลุ่มนักเรี ยนหญิงมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน แต่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็ น 4 และ 3 ตามลำดับ
ถ้าคะแนนของแต่ละกลุ่มมีการแจกแจกปกติ และให้ x1 , x2 , x3 แทนคะแนนที่เป็ นตำแหน่งเปอร์ เซนไทล์
ที่ 95 ของคะแนนของนักเรี ยนทั้งห้องของกลุ่มนักเรี ยนชาย และของกลุ ่มนักเรี ยนหญิงตามลำดับแล้ว
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. x1 < x2 < x3 2. x1 < x3 < x2
3. x2 < x3 < x1 4. x3 < x1 < x2

40. กำหนดให้ตารางแสดงพื้นที่ (A) ใต้เส้นโค้งปกติดงั นี้


z = 0.67 A = 0.2486
z = 0.68 A = 0.2518
การแจกแจงของคะแนนสอบครั้งหนึ่ง เป็ นการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต 60 คะแนน
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 คะแนน คะแนนที่เป็ นควอร์ไทล์ท่ี 3 (Q3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 65.4 2. 66.7
3. 67.5 4. 69.8
41. จากข้อมูลอนุกรมเวลา (Y) มีค่าแสดงในตารางข้างล่างนี้

พ.ศ. 2526 2527 2528 2529 2530


Y 20 30 20 40 60

ถ้า Y มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั กับเวลา (X) ในลักษณะเส้นตรง แล้วสามารถทำนายค่าของ Y


ในปี 2535 ได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 97 2. 106
3. 110 4. 120

ตอนที่ 2
1. จากการสอบถามผูด้ ื่มกาแฟ 20 คน พบว่า
ก. จำนวนผูท้ ี่ใส่ ครี มในกาแฟน้อยกว่าสองเท่าของจำนวนผูท้ ี่ใส่ น ้ำตาลในกาแฟอยู่ 7 คน
ข. จำนวนผูท้ ี่ใส่ ท้ งั ครี มและน้ำตาลในกาแฟเท่ากับจำนวนผูท้ ี่ไม่ใส่ ครี มและไม่ใส่ น ้ำตาล
ในกาแฟจำนวนผูท้ ี่ใส่ ครี มในกาแฟมีอยูก่ ี่คน

2. จำนวนจริ ง x ที่เป็ นคำตอบของสมการ


15  x = 22  2 105
มีคา่ เท่ากับเท่าใด

3. ผลบวกของระยะทางที่ยาวที่สุด และสั้นที่สุดจากจุด (10, 7) ไปยังกราฟซึ่ งมีสมการ


5x2 + 5y2 – 20x – 10y – 100 = 0
มีคา่ เท่ากับเท่าใด
4. ค่าสัมบูรณ์ของผลต่างของทุกคำตอบของสมการ
3(1 x x 2 ) + 9 [ 3 ] = 28 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
2 (  x 2  x 2 )

5. ถ้าความชันของเส้นสัมผัสของเส้นโค้ง
y = x4 - 2x2 + kx + 4, k เป็ นจำนวนจริ งคงที่
ที่จุด x = 2 มีค่าเท่ากับ 24 แล้วค่าต่ำสุ ดของ y มีคา่ เท่ากับเท่าใด
15

6. คะแนนสอบของนักเรี ยน 15 คน คำนวณได้ x = 50 และคำนวณค่า S จากสู ตร i


(x i  x) 2
1
n
ได้ S = 10 แต่เมื่อทราบภายหลังว่า x ที่ถูกต้องคือ 51 ค่า S ที่ถูกต้องจะเท่ากับเท่าใด
2 2

(S2 = ความแปรปรวน)

5. ให้ b และ c เป็ นจำนวนจริ งคงทีสองจำนวน


นิยาม ลำดับ a n โดยให้ a1  1 และสำหรับจำนวนเต็มบวก n ใดๆ
a n 1  a n  c b n
3
ถ้าลำดับ an มีลิมิตรเท่ากับ 2 และ a 3  2 แล้ว | c - 2b | มีค่าเท่าใด (En33)

เฉลยข้อสอบ Entrance ปี การศึกษา 2534


ตอนที่ 1
1. ตอบข้ อ 1
p q ~p ~p  q ~(~p  q) q  ~p ~(q  ~p)
T T F T F F T
T F F T F T F
F T T T F T F
F F T F T T F
 p * q  ~ (~p  q)  ~(p  q)

2. ตอบข้ อ 4 1. z [z2 = 1] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง (เมื่อแทน z ด้วย 1, -1)


2. z [z36 = 1] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง (เมื่อแทน z ด้วย i – i , 1, -1)
1 
3. z  2  z  มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง (เมื่อแทน z ด้วย 1, i)
4. z [z3 – z = 0] มีคา่ ความจริ งเป็ นเท็จ (เมื่อแทน z ด้วย i)

3. ตอบข้ อ 1  A มีสมาชิก 6 สมาชิก


สับเซตทั้งหมดของเซต A มี 26 = 64 เซต
แต่ S  A และ S  B  
 S  {a, b, c, 3}
ซึ่ งสับเซตของ {a, b, c, 3} มีเท่ากับ 24 = 16 เซต
 จำนวนสับเซต S ของ A ซึ่ ง S  B   เท่ากับ 64 – 16 = 48

1
4. ตอบข้ อ 2 f(x) = 2
3x 2  1

 3x2  0 ทุก ๆ x  R
3x2 + 1  1
1
3x 2  1  2
1 1
 2
3x 2  1  2
1 
 Rf =  2 ,  
g (x) = 3  x
 3 – x  0 หรื อ x  3
 Dg =   ,3
h (x) =  x 2  5x  6
 - x2 + 5x + 6  0
x2 – 5x – 6  0
(x + 1) (x – 6)  0
-1  x  6
Dh = [-1, 6]
แต่ h(x) = 0 เมื่อ  x 2  5x  6 = 0
- x2 + 5x + 6 = 0
x2 – 5x – 6 = 0
(x + 1) (x – 6) = 0
 Du = (Du  Dh) - {xh(x) = 0}
= ((-, 3]  [-1, 6]) – {-1, 6}
= (-, 3]  (-1, 6) = (-1, 3]
 1 ,   1 ,3 
 Rf  Du = 
2
  (-1,
 3] = 
2  
 1 ,3 
 
2  
 (-1, 5)

1
5. ตอบข้ อ 4  f (x) = 1 + x , g (x) = f (x )
 (gof) (x) = g (f(x)) = g (1 + x)
1 1
= f (1  x ) = 1 1 x
1 1
= 1  (1  x ) = 2 x

6. ตอบข้ อ 4  f (x) = 1 - x + x2 – x3 + ...


1
= 1 x
เมื่อ x  1 หรื อ -1 < x < 1
g(x) = 1 – x2 : x  R
1
f(x)  g(x) = 1 x
 1 – x2 = 1 – x
D = D jg = Df  Dg = R  (-1, 1) = (-1, 1)
 D = (-1, 1) และ (g  f) (x) = 1 – x

7. ตอบข้ อ 3  a < x < b


 b < x < a
1 1 1
 a < x < b

8. ตอบข้ อ 3  p มีคา่ ความจริ งเป็ นเท็จ q มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ


1. p ~q 2. p q
F T F F
F F
3. ~p ~q 4. ~p q
T T T F
T F

x2 y2
9.  4

40
=1
10 x2 – y2 = 40
แทน y = kx + 1 ได้ 10x2 - (kx + 1)2 = 40
10x2 – (k2x2 + 2kx + 1) = 40
10x2 – k2x2 – 2kx – 1 = 40
(10 – k2) x2 – 2kx – 41 = 0

จะหา k ได้เมื่อ (-2k)2 - 4(10 – k2) (- 41)  0


4k2 + 164 (10 - k2)  0
4k2 + 1640 – 164k2  0
1640 – 160k2  0
164 – 16k2  0
16k2 – 164  0
164
k2 - 16  0
41
k2 - 4
0
 41   41 
k  k  0
 4  4 
41 41

4
k 4
 10.25  k  10.25  3.2
 k =3

10. ตอบข้ อ 4

11. ตอบข้ อ 2 เป็ นกราฟพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูท่ ี่ (1, 1) และผ่านจุด (5, 5)


 พาราโบลานี้ คือ (x – 1)2 = 4c (y – 1)
ผ่านจุด (5, 5) ได้ (5 – 1)2 = 4c (5 – 1)
16 = 16 c
c =1
 พาราโบลานี้ คือ (x – 1)2 = 4(y – 1)
เมื่อแทน x = 4 แทนค่าได้ (4 –1)2 = 4(y – 1)
9 = 4y – 4
13 = 4y
13
y = 4 = 3.25
 AB = 3.25
2 2
12. ตอบข้ อ 4  6x – 10y – 12x – 40y – 94 = 0
2 2
(6x – 12x) – (10y + 40y) = 94
2 2
6 (x – 2x) – 10 (y – 4y) = 94
2 2
6 (x – 2x + 1) – 10 (y + 4y + 4) = 94 + 6 – 40
6 (x – 1)2 – 10 (y + 2)2 = 60
( x  1) 2 ( y  2 ) 2
 =1
10 6
ไฮเพอร์โบลานี้มีแกนตามขวางขนานกับแกน x คือเส้นตรง y = -2
จุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ (1, -2)
และ a2 = 10, b2 = 6  c2 = a2 + b2 = 16  c = 4
 F (1 – 4, - 2) และ F (1 + 4, - 2)
 F (5, - 2)
และมีแกนสังยุค คือ เส้นตรง x = 1
 พาราโบลานี้ คือ (y + 2)2 = 4c (x – 5)
(y + 2)2 = 4  4 (x – 5)
y2 + 4y + 4 = 16x – 80
y2 + 4y – 16x + 84 =0

13. ตอบข้ อ 3 เส้นตรง L1 ผ่านจุด (0, 0) และมีความชัน = tan 60 = 3


 สมการเส้นตรง L1 คือ y – 0 = 3 (x – 0)
y = 3x
3 x–y = 0
 สมการเส้นตรง L2 คือ x + 3 y + C = 0
เส้นตรงนี้ห่างจากจุด (0, 0) เท่ากับ 6 หน่วย
C
 1  ( 3 )2
2 =6
C
2
=6
C= 12
C = 12
 สมการเส้นตรง L2 คือ x + 3 y + 12 = 0
หรื อ x + 3 y – 12 = 0 แต่เส้นตรง L2 + L1 ในควอดรันต์ที่ 1
 สมการเส้นตรง L2 คือ x + 3 y – 12 = 0

14. ตอบข้ อ 4  ไดเรกตริ กซ์ขนานกับแกน x


 แกนพาราโบลาขนานกับแกน y
จุดโฟกัสอยูท่ ี่ (5, -1)
 แกนพาราโบลา คือ เส้นตรง x = 5
5
 จุดยอดอยูท่ ี่ x = 5, y = 2 = 2.5
จุดยอดอยูท่ ี่ (5, 2.5)
 ระยะระหว่างจุดยอด และโฟกัสเท่ากับ 3.5 หน่วย
 ระยะไดเรคตริ กซ์กบั จุดยอด เท่ากับ 3.5
 สมการไดเรคตริ กซ์ คือ y = 6
15. ไม่ มีคำตอบ  2sin2 x + 1 = -sin x + 2 2sin 2 x  sin x
(2sin2 x + sin x) – 2 2sin 2 x  sin x +1 = 0
( 2sin 2 x  sin x -1)2 = 0
2sin 2 x  sin x -1 = 0
2sin 2 x  sin x = 1
 2 sin2 x + sin x = 1
2 sin2 x + sin x – 1 = 0
(2 sin x – 1) (sin x + 1) = 0
 2 sin x – 1 = 0 หรื อ sin x + 1 = 0
1
sin x = 2 หรื อ sin x = - 1
π 5π 3π
 x= 6 หรื อ 6 หรื อ 6

16. ตอบข้ อ 4  f (x) = a sin x + bx cos x + x2


f (2) = a sin 2 + 2b cos2 + 4
3 = a sin 2 + 2b cos2 + 4
 a sin 2 + 2b cos 2 = -1
และ f ( -2) = a sin (-2) – 2b cos (-2) + 4
= -a sin 2 – 2b cos 2 + 4
= - (a sin2 + 2b sin 2) + 4
= - (-1) + 4 = 5

17. ตอบข้ อ 4
AB = ( 4  1) 2  ( 3  2 ) 2 = 9 1 = 10
BC = ( 4  3) 2  ( 3  5) 2 = 1 4 = 5
CA = ( 3  1) 2  ( 5  2 ) 2 = 49 = 13
 a= 5 , b = 13 และ c = 10
B ( s  a )( s  c ) abc
 sin 2
= ac
เมื่อ s = 2
b  c a 13  10  5
s–a = 2
= 2
abc 5  13  10
s–a = 2
= 2
B ( 13  10  5 )  ( 5  13  10
 sin 2 = 4 ( 5 )( 10 )
1
2 50  2 50  1  50  1  2
= 4 50
= 2 50 =  
 2 50 

3
18. ตอบข้ อ 3 ให้ arctan 4
=A
3
 tan A = 4
3
sin A = 5
3
 A = arcsin 5
4
cos A = 5
 arctan 3 
 4   3 A
 sin 
 2


+ cos  2 arcsin 5  = sin 2 + cos 2 A
 
1  cos A
=  ( 2 cos 2 A  1)
2
4
1
= 5   2 16   1 
 
2   25  
1  32  1 7
=   1 = 
10  25  10 25

19. ตอบข้ อ 2 ให้ AB เป็ นความสู งของตึก = x เมตร


P, Q เป็ นตำแหน่งของผูส้ งั เกต
PQ = 100 เมตร
PAB : PB = x cot 45 = x
QAB : QB = x cot 30 = x 3
PQB : QB2 = PB2 + PQ2
3x 2 = x2 + (100)2
2x 2 = (100)2
x 2 = 100  50
x = 100  2  25 = 50 2
ความสู งของตึก = 50 2 เมตร
20. ตอบข้ อ 2 ฟังก์ชนั ที่นิยามในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั ลด
x
-x  1 
1. f (x) = (sin 45) =  
 sin 45 
1
เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม  0 < sin 45 < 1  sin 45 > 1
2. g (x) = (log 7)x เป็ นฟังก์ชนั ลด  0 < log 7 < 1
x
1
3. h (x) =  
2
= 2z เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม 2 > 1
4. r (x) = x เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม  > 1
21. ตอบข้ อ 4  logk x  log5 k = 1
log5 x = 1
x =5
และ 102 = 625
2y = log10 625
2y = 4log105
y = 2 (1 - log2)
= 2 (1 – 0.3010)
= 2  0.699 = 1.398

22. ไม่ มีคำตอบ  e x 2 ln 2 < 2x


2 x
2x < 2
 x2 < x
x2 – x < 0
x (x – 1) < 0
0<x<1
4
23. ตอบข้ อ 1  X = log3 1
( 9 )( 27 )

3
1
1
= log  2 1 3  4
 3  3  3

3

 = log  32  34  3
 
1
= log  36  3 = log  32  = -2 log3
25 5 24
Y = log 8
- 2 log 3
+ log 9
2
 25 3 24 
= log  8   5   9  = log 3
 
X  2 log 3
 Y = log 3 = -2

n
24. ตอบข้ อ 2  Sn = 2
(2a1 + (n – 1) d )
10
 S10 = 2
(2a1 + 9d)
= 10a1 + 45d
 10a1 + 45d = 430
2a1 + 9d = 86 --------------------
an = a1 + (n – 1) d
a10 = a1 + 9d
 a1 + 9d = 79 --------------------
–  ได้ a1 = 7 แทนใน  ได้
7 + 9 ก = 79
9d = 72
d =8
 a1 7, a2 = 15, a3 = 23
 a1 + a2 + a3 = 7 + 15 + 23 = 45

 2n
25. ตอบข้ อ 3  an = n 2 2 n+2
 
( 2 n )! n 2
= ( n  2 )!( n  2 )!  2
2n
bn = 
n 

 2n 3n

( 2 n )!
=  2 n  3n
n! n!
an n! n! 2 n 2
 3 n  = 3 n  n
bn ( n  2 )! ( n  2 )! 2  3 n
4
4n2  4n 4
n
= n 2  3n  2 = 3 2
1  2
n n
a
lim n  n
 n  3 b =4
n
26. ตอบข้ อ 3  f (x) = x–1
x2
 f  (x) = 2
 x  C1

f  (x) = 1 ณ จุด (-1, 0) แทนค่าได้


( 1) 2
1 =  ( 1)  C1
2
1
1 =  (1)  C1
2
1
 C1 = 
2
x2 1
 f  (x) = 2
x 
2
3 2
x x x
 f (x) = 6
   C2
2 2
f (x) ผ่านจุด (-1, 0) แทนค่าได้
( 1) 3 ( 1) 2 ( 1)
0 =    C2
6 2 2
1 1 1
0 =     C2
6 2 2
1
 C2 = 6
x3 x2 x 1
 f (x) = 6
  
2 2 6

lim f (x  h )  f (x)
27. ตอบข้ อ 2  h0 h
= f  (x)
ดังนั้น คำถามจึงต้องการให้เราหา f (8) = ?
7 5 4

 f (x) = 3x 2  12 x 3  24 x 3
2
x
1 1 2
f (x) = 3x 3  12 x

3  24 x

3
2 4 5
 f (x) = 
x 3  4x

3  16 x

3
2 4 5
 f (8) = 
8 3

3

 4  8  16  8 3
2 4 5
=  3 
  3 
2 3  4  2 3  16   23  3
= 2-2 + 4  2-4 + 16  2-5
1 4 16
= 4  16  32
1 1 1
=   = 1
4 4 2

a b
28. ตอบข้ อ 1 ข้อ ก. ถูก เช่น ให้ A = 
 c d 

t  a b 
A = c d 
t  - a - b
-A = - c - d 
 A = - At
a b - a - b
c
 d 
 = - c
 - d
 ข้อ ข. ถูก
 a = -a = 0
d = -d = 0

29. ไม่ มีคำตอบ  a = 2 i +3 j


3
 ความชันของ a = 2
2
 เส้นตรงที่ลากทับ b มีความชัน = - 3
และเส้นตรงนี้ผา่ นจุด (0, 0)
2
 สมการเส้นตรงที่ลากทับ b คือ = - 3 x
คำตอบที่ให้มาไม่ถูกต้อง

30. ตอบข้ อ 1  A (-1, 2)



AB = 9 i + 4 j

AD = - i + 5 j
B (8, 6) และ D (-2, 7)
 ABCD เป็ น ด้านขนาน
 
 CD = AB
ให้ C มีโคออร์ดิเนท (x, y)

CD = (x+2) i + (y – 7) 4 j
 (x+2) i + (y – 7) 4 j = 9 i + 4 j
x+2=9
x=7
x–7 = 4
y = 11
a 
31. ตอบข้ อ 3  A =  b 
A =  a b
t
cos2θ sin2θ
B =   sin2θ cos2θ 
AtB = [a cos2 - b sin2 a sin2 + b cos2]
AtBA = [a2 cos2 - ab sin2 + ab sin 2 + b2 cos2]
= [(a2 + b2) cos2] = 0
(a2 + b2) cos 2 = 0
a2 + b2  0  cos 2 = 0
π
= cos 2
π
2 = 2
π
= 4

32 ตอบข้ อ 2 n(A) =4
n(B) =5
จำนวนฟังก์ชนั จาก A ไป B = 5  5  5  5 = 54 = 625 ฟังก์ชนั
จำนวนฟังก์ชนั 1 – 1 จาก A ไป B = 5  4  3  2 = 120 ฟังก์ชนั
 n(S) = 625
n(E) = 120
n(E) 120
 P(E) = n (S ) = 625

สู ตรลัด 1. จำนวนฟังก์ชนั จาก A ไป B = n(B)n (A)


n (B)
2. จำนวนฟังก์ชนั ชนิด 1 – 1 จาก A ไป B = Pn (A)

33. ตอบข้ อ 1 จำนวนวิธีที่ ก และ ข ขึ้นด้วยกัน = 3  1 = 3 วิธี


และจำนวนวิธีที่ ค ขึ้น = 2 วิธี
 จำนวนวิธีท้ งั หมด = 3  2 = 6 วิธี
34. ตอบข้ อ 3  มีเสื้ อสี แดง 6 ตัว ต่าง ๆ กัน
และ มีเสื้ อสี ขาว 4 ตัว ต่าง ๆ กัน
สุ่ มหยิบมา 5 ตัว คละกัน ให้ได้สีแดงมากกว่าสี ขาว สุ่ มหยิบได้ดงั นี้
สุ่ มได้เสื้ อสี แดง 4 ตัว และสี ขาว 1 ตัว
6 4 6!
หรื อ จะสุ่ มหยิบได้ =  4    1  = 2!4!  4 = 15  4 = 60 วิธี
สุ่ มได้เสื้ อแดง 3 ตัว และสี ขาว 2 ตัว
6 4 6! 4!
จะสุ่ มหยิบได้ =  3    2  = 3!3!  2!2! = 20  6 = 10 วิธี
 จำนวนวิธีท้ งั หมด = 60 + 120 = 180 วิธี

35. ตอบข้ อ 1 S = {12, 15, 18,..., 198}


 an = a1 + (n – 1) d
198 = 12 + (n – 1) (3)
198 = 12 + 3n – 3
198 = 9 + 3n
n = 63
 n(S) = 63
E = {21, 42, 63, 84, 105, 126, 147, 168, 189}
n(E) = 9
n(E) 9 1
 P(E) = n (S) = 63 = 7

36. ตอบข้ อ 3 กล่องใบหนึ่งมีปากกาสี แดง 3 ด้าม สี เขียว 4 ด้าม และสี น ้ำเงิน 5 ด้าม
สุ่ มมา 3 ด้าน
 12 12!
 จำนวนวิธีที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด = 3   = = 220
  9!3!
 n(S) = 220
สุ่ มมา 3 ด้าม ให้ได้ครบทุกสี
3 4 5
 จะสุ่ มได้ =  1 

 
 
1  


1 


 = 3  4  5 = 60 วิธี
 n(E) = 60
60 3
 P(E) = 220 = 11

1
37. ตอบข้ อ 1  ตำแหน่งมัธยฐาน = 2
 y = l – e(- x + 1)
1 1
แทน y = 2 ได้ 2 = 1 – e(- x + 1)
1
e(- x + 1) = 2
1
-x + 1 = ln 2 = -ln2
x = 1 + ln2
 มัธยฐานของตัวแปร x = 1 + ln2

N
สู ตรลัด 1. ถ้าโจทย์เป็ นความถี่สะสม ให้แทน y = 2
1
2. ถ้าโจทย์เป็ นความถี่สะสมสัมพัทธ์ ให้แทน y = 2

38. ตอบข้ อ 1 N1 = 4, S12 = 9


N2 = 6, S 22 = 4
 X เท่ากัน
N1S12  N 2 S 22
 2
Sรวม = N1  N 2
4 ( 9 )  6( 4 )
= 46
36  24 60
= 10
= 10
= 6 (ปี )
อีก 2 ปี ข้างหน้า ความแปรปรวนรวมของอายุของครอบครัวทั้งสองเท่ากับ

20 ( 4 ) 2  20( 3) 2
39. ตอบข้ อ 4  S รวม =
40
20 16  20  9
= 40
320  180
= 40
500 50
= 40
= 40
5
= 2 2 = 3.535
 ค่า Z และ X
X1  X
 Z = 3.535
3.535Z = X1 - X
 X1 = 3.535Z + X
X2  X
และ Z = 4
4Z = X2 - X
 X2 = 4Z + X
X3  X
และ Z = 3
3Z = X3 - X
 X3 = 3Z - X
 X3 < X1 < X2

40. ตอบข้ อ 2 พื้นที่ใต้โค้งปกติต่างกัน 0.0032 Z ต่างกัน 0.01


พื้นที่ใต้โค้งปกติต่างกัน 0.25 – 0.2486 = .0014
0.01  0.0014
Z ต่างกัน = 0.0032
= 0.004375
 พื้นที่ใต้โค้งปกติ = 0.25 ตรงกับ Z = 0.674375
XX
Z = S
X  60
0.674375 = 10
6.74375 = X – 60
X = 66.74375 = 66.7

41. ตอบข้ อ 1
พ.ศ. x y= xy x2
y
10
2526 -2 2 -4 4
2527 -1 3 -3 1
2528 0 2 0 0
2529 1 4 4 1
2530 2 6 12 4
0 17 9 10

 y มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั กับเวลา (x) ในลักษณะเส้นตรง


 สมการทำนาย y = ax + b เมื่อ a, b คือ ค่าคงที่
หา a และ b ได้ดว้ ยสมการปกติ
y = a x + Nb --------------------
xy = a x2 + bx --------------------
แทนค่าใน ได้ 17 = 0 + 5b
17
 b = 5
แทนค่าใน  ได้ 9 = 10a + 0
9
 a = 10
9 17
 สมการทำนาย y = 10 x + 5
9 17
ปี 2535 แทน x = 7 ; y = 10  7 + 5
63 34 97
= 10  10 = 10
Y 97
 10 = 10
 Y = 97

ตอนที่ 2
1. ตอบ 11 ให้ A เป็ นเซตของผูท้ ี่ใส่ ครี ม
B เป็ นเซตของผูท้ ี่ใส่ น ้ำตาล
ให้ n (A B) = x
 n  ( A  B)'  = x
ให้ n (A – B) = y
และ n (A – B) = z
 n(A) = x+y และ n (B) = x+z
 x + y = 2(x + z) – 7
x + y = 2x + 2z – 7
x – y + 2x = 7 --------------------
และ 2x + y + z = 20 --------------------
 +  ได้ 3x + 3z = 27
x+z = 9 --------------------
 -  ได้ x + y = 11
 ผูท้ ี่ใส่ ครี มในกาแฟมี 11 คน

2. ตอบ 7  15  x = 22  2 105
15  x = 15  7  2 15  7
15  x = ( 15  7 ) 2
15  x = 15  7
x = 7
x =7

3. ตอบ 20 5x2 + 5y2 - 20x - 10y - 100 = 0


x2 + y2 - 4x - 2y - 20 = 0
(x2 – 4x) + (y2 – 2y) = 0
(x2 – 4x + 4) + (y2 – 2y + 1) = 20 + 4 + 1
(x – 2)2 + (y – 1)2 = 25
(x – 2)2 + (y – 1)2 = 52
วงกลมนี้มีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ (2, 1) และมีรัศมีเท่ากับ 5
 ระยะจากจุด (2, 1) ถึงจุด (10, 7) = ( 2  10 ) 2  (1  7 ) 2
= 64  36
= 100 = 10
 ระยะที่ยาวที่สุด = 10 + 5 = 15
และ ระยะที่ส้ นั ที่สุด = 10 – 5 = 5
 ผลบวกของระยะที่ยาวที่สุดและสั้นที่สุด = 15 + 5 = 20
 
4. ตอบ 5  3(1 x 2  x 2 ) + 9 3 ( x 2 x 2 )


= 28
9
3 3 ( x 2  x 2 ) + ( x 2 x 2) = 28
3
เอา 3( x 2 x2 ) คูณทั้งสองข้างได้
2
3  32 ( x  x  2 ) + 9 = 28  3( x 2 x2 )
2
3  32 ( x  x  2 ) - 28  3( x 2 x2 ) +9 = 0
2
(3  32 ( x  x  2 ) - 1)( 3( x 2 x2 ) - 9 ) = 0
3  3( x 2  x  2 ) - 1 = 0 หรื อ 3( x 2 x2 ) - 9 = 0
1 –1 2
3( x  x  2 ) = 3 = 3 หรื อ 3( x x2 ) = 9 = 3
2 2

x2  x  2 = - 1 ซึ่ งเป็ นไปไม่ได้  x2  x  2 =2


2
x + x – 2 = 4 **
x2 + x – 6 =0
(x + 2) (x – 3) = 0
 x = -2, 3
 ค่าสัมบูรณ์ของผลต่าง =  2  3 =  5 = 5

วิธีลดั ใช้หลักในการมอง 
มองเห็นแล้วพบว่า x2 + x - 2 ควรเป็ น 4
ลองแทนค่าดู
3 1 4
 9 3  4 
= 28
 
1
33 + 9  2  = 28
3 
ส่ วนวิธีการมอง คงต้องเรี ยนเทคนิคจากอาจารย์โดยตรง 
5. ตอบ 3  y = f(x) = x4 - 2x2 + kx + 4
 f(x) = 4x3 - 4x + k
 f(2) = 4(2)3 - 4(2) + k
24 = 32 – 8 + k
24 = 24 + k
 k =0
 y = f(x) = x4 - 2x2 + 4
 f(x) = 4x3 - 4x
 f(x) = 0 เมื่อ 4x3 - 4x = 0
4x(x2 – 1) = 0
4x(x + 1) (x – 1) = 0
 x = 0, -1, 1
2
 f(x) = 12x - 4
 f (0) = 0 - < 0
 ที่ x = 0 f(x) สู งสุ ด
f(- 1) = 12 (-1)2 – 4 = 12 – 4 = 8 > 0
 ที่ x = -1 f(x) ต่ำสุ ด และ f(x) ต่ำสุ ด = 3
f(1) = 12 (1)2 – 4 = 8 > 0
 ที่ x = 1 f(x) ต่ำสุ ด และ f(x) ต่ำสุ ด = 3
 ค่าต่ำสุ ดของ y = 3
15
  ( x i  51)  1
2
6. ตอบ 9 i1 = 10
15
 
15 2 2
 ( x i  51)  2 ( x i  51)(1)  1
i1 = 10
15
15  15 15 
  x i  51  2   x i 51   1
2
i1 i1 i1  = 10
15
15 2
 ( x i  51)  2 ( 0 )  15
i1 = 10
15
15 2 สู ตร 1. (X - X ) = 0
 ( x i  51)
i 1 + 1 = 10 2. C = nc
15
15 2
 ( x i  51)
i1 =9
15
 ค่า S2 ที่ถูกต้องคือ 9

You might also like