You are on page 1of 69

รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |1

วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

ตอนที 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้ อ(ข้ อ 1 – 30) ข้ อละ 6 คะแนน

1. กําหนดให้ p และ q เป็ นประพจน์ใดๆ


พิจารณาประพจน์ตอ่ ไปนี
(ก) p  [(p  q)  q] เป็ นสัจนิรันดร์
(ข) p  [(p  (q  p))  q] ไม่เป็ นสัจนิรน ั ดร์
(ค) ถ้ า (p  q)  (q  p) มีคา่ ความจริ งเป็ น จริ ง
แล้ ว [p  (p  q)]  (p q) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด

3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

2. กําหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ {1, 2, 3, 4}


ให้ P(x) คือ |x – 2| + |x – 3| = 1
Q(x) คือ x(x + 1) > 1
และ R(x) คือ x  1  x  3
ประพจน์ในข้ อใดต่อไปนี มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
1. x[P(x)]  x[Q(x)] 2. x[P(x)  Q(x)]  x[R(x)]
3. x[Q(x)]   x[ R(x)] 4. x[R(x)]  x[P(x)]
5. x[Q(x)  P(x)]   x[Q(x)]
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |2
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

3. กําหนดให้ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S


ให้ A, B และ C เป็ นเซตใดๆ
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) (A B)  C  A (B C)
(ข) P(A) – P(B)  P(A – B)
(ค) P(P(  ))  P(P(P(  ))) เมือ  แทนเซตว่าง
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) ถูกเพียงข้ อเดียว 2. ข้ อ (ข) ถูกเพียงข้ อเดียว
3. ข้ อ (ค) ถูกเพียงข้ อเดียว 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

4. ให้ a, b, c และ d เป็ นจํานวนจริง


พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ถ้ า a > b และ c > d แล้ ว ac > bd
(ข) ถ้ า a < b < c < 0 แล้ ว |a – c| < |b – c|

(ค) ถ้ า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ ว a c  b d


ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) ถูกเพียงข้ อเดียว 2. ข้ อ (ข) ถูกเพียงข้ อเดียว
3. ข้ อ (ค) ถูกเพียงข้ อเดียว 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

5. ให้ R แทนเซตของจํานวนจริง
ถ้ า A เป็ นเซตคําตอบของสมการ |x + 1| + |x + 2| = 3x
แล้ วเซต A เป็ นสับเซตของเซตในข้ อใดต่อไปนี
1. x  R x  2  2x  3  2. x  R 0  x  3 
3. x  R 5  2x  3  4. x  R (x  1)(x  2)  0 
5. x  R (x  1)(x  5)  0 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |3
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

6. ถ้ า A เป็ นเซตคําตอบของอสมการ

log 3 4 x  137  
 2  log 3 1  2 x 2 
แล้ ว A เป็ นสับเซตของช่วงในข้ อใดต่อไปนี
1. (–, 0) 2. (–2, 2)
3. (1, 6) 4. (3, 8)
5. (6, )

7. กําหนดให้ f และ g เป็ นฟั งก์ชนั โดยที


 x  1 ,  1  x  1
f(x)  
 3 , x 1
1
และ g(x)  เมือ –1 < x < 1
1  x2
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) (fog)(x)  3 สําหรับทุก x  (1,1)
1
(ข) (fg)(x)  1 สําหรับทุก x  (1,1)
2
1x
f  2
(ค)   (x)  (x  1) 1  x สําหรับทุก x  (1,1)
g
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

8. ให้ f เป็ นฟังก์ชนั โดยที f(x)  x 3  3x 2  4 สําหรับทุกจํานวนจริง x


พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ถ้ า 0 < a < 1 แล้ ว f(a) > f(2 – a)
(ข) f(x) < 4 สําหรับทุกจํานวนจริ ง x < 0
(ค) f มีคา่ ตําสุดสัมพัทธ์ที x = 2
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด

3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |4
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

9. สําหรับ a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวกใดๆ


กําหนดให้ a  b เป็ นจํานวนเต็มบวกทีมีสมบัติ ดังนี
(ก) 1  b  b สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก b
(ข) (1  a)  b  a  (a  b) สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก a และ b

ให้ A  (2  5)  (5  9)
B  2  (5  (5  9))
C  ((9  5)  5)  2
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. A<B+C 2. B<C<A
3. B<A<C 4. C<A<B
5. C<B<A

10. กําหนดให้ x และ y เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับสมการ


(1  i)(x  yi)  3  3(1  i)  x  yi เมือ i 2  1

ค่าของ x2  y2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี


1. 3 2. 6
3. 9 4. 18
5. 27

3
11. ถ้ า cos   และ     2
5
แล้ ว 100 cot  cos ec  sin 5 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
2 2 2
1. –41 2. –164
3. –205 4. –328
5. –656
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |5
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

 x 1 
12. ให้ f   (x, y)  R R y   เมือ R แทนเซตของจํานวนจริง
2
 2xx 
โดเมนของ f ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. (–, –2) 2. (–, –2)  (1, )
3. (–2, 1) 4. (–, –1)  (2, )
5. (–1, 2)

13. กําหนดให้ R แทนเซตของจํานวนจริง


ให้ f : R  {5}  R เป็ นฟั งก์ชนั
5x  3
โดยที f(x)  สําหรับจํานวนจริง x  5
x5
ค่าของ (f 1of 1)(1) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. f(0) 2. f(–1)
3. f(1) 4. f(–2)
5. f(2)

14. กําหนดให้ P = 4x + 5y เป็ นฟั งก์ชนั จุดประสงค์


โดยมีอสมการข้ อจํากัด ดังนี
x + 2y  10
x+y 6
3x + y  8
x0 และ y  0
ค่าของ P มีคา่ น้ อยทีสุด ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 24.0 2. 26.8
3. 28.0 4. 29.0
5. 40.0
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |6
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

15. กล่องใบหนึงมีลกู แก้ วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้ วสีนําเงินเหมือนกันจํานวนหนึง


สุม่ หยิบลูกแก้ ว 1 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีนําเงินเป็ นสองเท่าของความน่าจะเป็ น
ทีจะได้ ลกู แก้ วสีแดง ถ้ าสุม่ หยิบลูกแก้ ว 2 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วเหมือนกันทัง
สองลูกตรงกับข้ อใดต่อไปนี
4 1
1. 2.
9 2
5 16
3. 4.
33 33
17
5.
33

16. ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์มิติ 3  3 กําหนดโดย


a a2 1 1 1 1 
 
A  b b2 1 และ Ba

b c 

c 2
1 
 c  bc ca ab 

เมือ a, b และ c เป็ นจํานวนจริงบวกทีแตกต่างกัน


ค่าของ detB ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. det A 2.  det A
3. abc(det A) 4. abc(detA)
5. a 2b 2c 2 (detA)

17. ให้ P เป็ นพาราโบลาซึงมีสมการเป็ น x 2  8x  4y  12  0


ถ้ า H เป็ นไฮเพอร์โบลาทีมีแกนตามขวางขนานกับแกน y มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ทีจุดยอดของ P
ระยะทางระหว่างโฟกัสทังสองของ H เท่ากับ 4 13 หน่วย และเส้ นกํากับเส้นหนึงของ H
ขนานกับเส้ นตรง 2x – 3y – 2 = 0 แล้ ว สมการของไฮเพอร์โบลา H รูปนีตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0 2. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0
3. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0 4. 9y 2  4x 2  32x  18y  199  0
5. 9y 2  4x 2  32x  18y  199  0
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |7
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

18. กําหนดให้ ABC เป็ นสามเหลียมโดยทีมีความยาวด้ านตรงข้ ามมุม A มุม B และมุม C


เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามลําดับ
1 1
ถ้ า b , c และมุม A มีขนาด 60 o
6 2 6 2
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
3
(ก) a
2
(ข) sin 2 B  sin 2 C  1
3
(ค) sin B  sinC 
2
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

19. กําหนดให้ P เป็ นพาราโบลามีสมการเป็ น y  ax 2  bx  5 เมือ a>0 และ b<0


1
ถ้ าระยะทางระหว่างโฟกัสกับจุดยอดของ P เท่ากับ หน่วย และเส้ นตรง 2x – y – 3 = 0
2
สัมผัสกับ P ทีจุด C แล้ ว ระยะทางระหว่างจุดยอดของ P และจุด C ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 2 2. 5
3. 6 4. 8
5. 13

2 0 a b
20. กําหนดให้ A  และ B  เมือ a, b, c, d เป็ นจํานวนจริงใดๆ
 1 1   c d 

โดยที B  A 1BA ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง


1. a+b+c+d=0 2. –a + b + c + d = 0
3. a–b+c+d=0 4. a+b–c+d=0
5. a+b+c–d=0
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |8
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

21. ถ้ า x 1 , x 2 , x 3 , x 4 เป็ นข้ อมูลของจํานวนจริงทีเรียงลําดับจากน้ อยไปมาก


โดยมีมธั ยฐานเท่ากับ 14 ค่าเฉลียเลขคณิตเท่ากับ 15 และพิสยั เท่ากับ 8
แล้ วสัมประสิทธิของพิสยั ของข้ อมูล 2x 1  4 , 2x 2  3 , 2x 3  2 , 2x 4  1
มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1 8
1. 2.
4 27
8 19
3. 4.
11 59
19
5.
69

22. กําหนดให้ เส้ นตรง 3x – 4y – 6 = 0 ตังฉากกับเส้ นตรง x + ay + 3 = 0 เมือ a เป็ นจํานวนจริง


ถ้ าเส้ นตรงทังสองตัดกันทีจุด A และเส้ นตรงทังสองตัดแกน x ทีจุด B และจุด C ตามลําดับ
แล้ วพืนทีของรูปสามเหลียม ABC ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 6 ตารางหน่วย 2. 8 ตารางหน่วย
3. 10 ตารางหน่วย 4. 12 ตารางหน่วย
5. 14 ตารางหน่วย

23. ข้ อมูลประชากรชุดหนึงประกอบด้ วย x 1 , x 2 , ... , x 10


โดยมีสมั ประสิทธิของการแปรผันเท่ากับ 62.5% และมีความแปรปรวนเท่ากับ 25
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ค่าเฉลียเลขคณิตของ x 12 , x 22 , ... , x 10
2
เท่ากับ 89
(ข) ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของ  x 1 , x 2 , ... ,  x 10 เท่ากับ 5
10
(ค)  (x i  5)2 มีคา่ น้ อยทีสุด
i 1
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |9
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.


24. กําหนดให้ a และ b เป็ นเวกเตอร์
  
โดยที a  b  15 , a  6 และ (2 a  b)  (a  b)  32

ค่าของ a  2b เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 4 2. 76
3. 9 4. 106
5. 136

25. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a n , ...เป็ นลําดับของจํานวนจริง


โดยที a 1 1 และ an  2a n 1  3 สําหรับ n = 2, 3, 4, ...
an
ค่าของ lim เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
n  a n  2  a n 1
1. 0 2. 0.5
3. 1 4. 2.5
5. 4

26. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ


1 1
2
 a(1  x ) dx   1  x 2 dx
1 1
แล้ ว a ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
2 2
1. 2.
5 7
3 
3. 4.
7 3
3
5.
8
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |10
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

27. ให้ A เป็ นเซตคําตอบของอสมการ


x 2  2x 16  x
 log 9 4    2
2 log 2 (log 3 2)

แล้ ว A เป็ นสับเซตของช่วงในข้ อใดต่อไปนี
1. (–, –9)  (3, ) 2. (–, –7)  (4, )
3. (0, ) 4. (–, 1)
5. (–9, 5)

28. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a 59 เป็ นลําดับของจํานวนจริง โดยที


a 2  a 1  a 3  a 2  ...  a i 1  a i  ...  a 59  a 58
ให้ b 1  a 1 และ b n  b n 1  a n 1 สําหรับ n = 2, 3, 4, ..., 60
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) b 4  3a 1  a 4
(ข) b 1  b 2  b 3  5a 1  a 2
(ค) b 60  a 1  59a 30
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

29. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์ตา่ งกัน 3 เล่ม หนังสือวิชาภาษาไทยต่างกัน 2 เล่ม


และหนังสือภาษาอังกฤษเหมือนกัน 5 เล่ม ถ้ าต้ องการจัดเรียงหนังสือ 5 เล่มวางบนชัน
โดยมีหนังสือ แต่ละวิชาอย่างน้ อย 1 เล่ม และมีจํานวนหนังสือวิชาคณิตศาสตร์และหนังสือวิชา
ภาษาไทยรวมกันอย่างมาก 3 เล่ม จํานวนวิธีจดั เรียงหนังสือ 5 เล่มดังกล่าวเท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 360 วิธี 2. 390 วิธี
3. 660 วิธี 4. 680 วิธี
5. 740 วิธี
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |11
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

30. ให้ A เป็ นเซตของจํานวนจริง x ทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ



2 log 1  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0
4
ถ้ า a เป็ นจํานวนเต็มในเซต A ทีมีคา่ มากทีสุด แล้ วค่าของ (a  1)2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 1 2. 4
3. 9 4. 16
4. 25

ตอนที 2 แบบอัตนัย ระบายคําตอบทีเป็ นตัวเลข จํานวน 15 ข้ อ(ข้ อ 31 – 45) ข้ อละ 8 คะแนน

31. ให้ แทนคอมพลีเมนต์ของเซต S และ


S
n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
กําหนดให้ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยที n(U )  70
ถ้ า A, B และ C เป็ นสับเซตของ U โดยที A  B  C   และ
n(A  B)  25 , n(B  C)  18 , n(C  A)  16 และ n((A  B)  C)  7
แล้ ว n(A  B  C) เท่ากับเท่าใด

  
32. ให้ เวกเตอร์ v  a i  b j  ck เมือ a, b และ c เป็ นจํานวนจริง
    
และให้ เวกเตอร์ u  i  k และ w  2 i  j  2k
ถ้ าเวกเตอร์ v มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ u  w และขนาดของเวกเตอร์ v เท่ากับ 6 2 หน่วย
แล้ วค่าของ a – b + c เท่ากับเท่าใด

 n2  a 21
33. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ  
n 1 3 n 1 2
แล้ วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |12
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

34. ให้ A เป็ นเซตของจํานวนจริง x  (0,2) ทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ


o
cos2x  sin x  tan 225

ถ้ า  เป็ นผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต A

แล้ วค่าของ cos   cos เท่ากับเท่าใด
3

35. กําหนดให้ f(x)  x  1  x  2 เมือ 3  x  3


3
ค่าของ  f(x) dx เท่ากับเท่าใด
3

2 2 2
36. ค่าของ 13 sin(2 arctan )  4 tan (arccos ) เท่ากับเท่าใด
3 3

37. ให้ A แทนเซตของจํานวนจริงทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ


3x  5  4x  3  2x  3  5x  1
และให้ B   x 2 x  A 
ผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด

38. จากการสํารวจคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ( x i ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (y i ) ของ


นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 จํานวน 8 คน พบว่า มีความสัมพันธ์เป็ นสมการ
y i  10  2.5x i เมือ i = 1, 2, 3,..., 8
ถ้ านักเรียนทัง 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ คะแนนเรียงลําดับจากน้ อยไปมากดังนี
25 , 32 , 48 , 50 , a , a + 3 , a + 4 , a + 6 คะแนน ตามลําดับ
เมือ a เป็ นจํานวนเต็มบวกและมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ชดุ นีเท่ากับ 51 คะแนน แล้ ว
ผลบวกของค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบ
วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับเท่าใด
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |13
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

39. กําหนดข้ อมูล 2 ชุด คือ ข้ อมูล (x) และ ข้ อมูล (y) ดังนี

x x1 x2 x3 x4 x5
y y1 y2 y3 y4 y5

โดยที 1  x i  25 สําหรับ i = 1, 2, 3, 4, 5
5 2 5 5 5
 x i  175 ,  x i y i  1575 ,  (x i  y i )  275 ,  (20x i  y i )  250
i1 i1 i1 i1
และ ข้ อมูลทังสองชุดมีความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั แบบเส้นตรงคือ y = mx + c
เมือ m, c เป็ นจํานวนจริง
ถ้ า x = 4 แล้ วค่าประมาณของ y จะเท่ากับเท่าใด

40. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้ องหนึง คะแนนสอบมีคา่ เฉลียเลขคณิตและส่วนเบียงเบน


มาตรฐานเท่ากับ a และ b คะแนน ตามลําดับ นาย ก. และนาย ข. เป็ นนักเรียนในห้ องนี
นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตร์ครังนีได้ คะแนน 68 คะแนน คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5
ถ้ าครูผ้ สู อนวิชานี ปรับคะแนนใหม่ โดยเพิมคะแนนของนักเรียนทุกคนเป็ นสองเท่าของคะแนนเดิม
คะแนนใหม่ของนาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ของนาย ก. อยู่ 6 คะแนน และคะแนนใหม่ของนาย ข.
คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.9 แล้ วค่าของ a + b เท่ากับเท่าใด

41. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a n , ... เป็ นลําดับเลขคณิตของจํานวนจริง


2k
ให้ uk   a n สําหรับ k = 1, 2, 3, ...
nk
60
ถ้ า u 5  147 และ u 8  342 แล้ วค่าของ  a n เท่ากับเท่าใด
n1

x 2x
2 2 5
42. ค่าของ lim
x
เท่ากับเท่าใด
x 2 
1x
2 2 2
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |14
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

43. กําหนดให้ f เป็ นฟั งก์ชนั ซึงมีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจํานวนจริง


โดยที f (x)  ax2  bx เมือ a และ b เป็ นจํานวนจริง และสอดคล้ องกับ
2
f (1)  3f (1) และ  f(x) dx  18
1
ถ้ าเส้ นตรง 6x – y + 4 = 0 ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ ง y = f(x) ที x = 1
แล้ วค่าของ f(2) เท่ากับเท่าใด

44. ให้ f เป็ นฟั งก์ชนั ซึงมีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจํานวนจริง


โดยที 2f(x)  f(x 1 )  x  x 1 เมือ x  0
3 a
ถ้ า f( )  เมือ a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวก โดยที ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1
4 b
แล้ วค่าของ a + b เท่ากับเท่าใด

45. กําหนดให้ x0 และ y  0


2x  3y 3x  2y 5
1   1   1 
ถ้ า 
 
12
 ( 2  1) และ    
 2 1  2 1   2 1 
แล้ ว 2x + 5y มีคา่ มากทีสุดเท่ากับเท่าใด
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |15
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

เฉลยคําตอบ
ตอนที 1
1. 1 2. 2 3. 3 4. 5 5. 1 6. 3 7. 2 8. 4 9. 5 10. 3

11. 4 12. 3 13. 4 14. 3 15. 5 16. 1 17 4 18. 1 19. 4 20. 5

21. 4 22. 1 23. 1 24. 2 25. 2 26. 5 27. 2 28. 4 29. 3 30. 3

ตอนที 2
31. 4 32. 12 33. 4 34. 1.5 35. 23

36. 17 37. 4 38. 174.5 39. 43.5 40. 64.25

41. 5610 42. 12 43. 30 44. 37 45. 20


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |16
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

เฉลยแนวคิด
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |17
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

ตอนที 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้ อ(ข้ อ 1 – 30) ข้ อละ 6 คะแนน


1. กําหนดให้ p และ q เป็ นประพจน์ใดๆ
พิจารณาประพจน์ตอ่ ไปนี
(ก) p  [(p  q)  q] เป็ นสัจนิรันดร์
(ข) p  [(p  (q  p))  q] ไม่เป็ นสัจนิรน ั ดร์
(ค) ถ้ า (p  q)  (q  p) มีคา่ ความจริ งเป็ น จริ ง
แล้ ว [p  (p  q)]  (p q) มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด

3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 1
แนวคิด
(ก) p  [(p  q)  q] (ข) p  [(p  (q  p))  q]
F F

T F T F

T F T F
ขัดแย้ ง
F F T T

F T
p  [(p  q)  q] เป็ นสัจนิรันดร์ ไม่เกิดข้ อขัดแย้ ง แสดงว่า
ดังนัน (ก) ถูก  p  [(p  (q  p))  q] ไม่เป็ นสัจนิรันดร์
ดังนัน (ข) ถูก 
(ค) เพราะว่า (p  q)  (q  p)  p  q โดยทีกําหนดให้ (p  q)  (q  p) เป็ นจริ ง
ดังนัน p และ q เป็ นจริงทังคู่ หรือเป็ นเท็จทังคู่
ให้ p และ q เป็ นจริงทังคู่
จะได้ [p  (p  q)]  (p  q)  [T  (T  T)]  (T  T)  T
แสดงว่า (ค) ผิด 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |18
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

2. กําหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ {1, 2, 3, 4}


ให้ P(x) คือ |x – 2| + |x – 3| = 1
Q(x) คือ x(x + 1) > 1
และ R(x) คือ x  1  x  3
ประพจน์ในข้ อใดต่อไปนี มีคา่ ความจริงเป็ น เท็จ
1. x[P(x)]  x[Q(x)] 2. x[P(x)  Q(x)]  x[R(x)]
3. x[Q(x)]   x[ R(x)] 4. x[R(x)]  x[P(x)]
5. x[Q(x)  P(x)]   x[Q(x)]
ตอบ 2
แนวคิด
กําหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ {1, 2, 3, 4}
P(x) คือ |x – 2| + |x – 3| = 1 จะได้ วา่ P(1), P(4) เป็ นเท็จ , P(2), (3) เป็ นจริ ง ,
Q(x) คือ x(x + 1) > 1 จะได้ วา่ Q(1), Q(2), Q(3), Q(4) เป็ นจริ ง
R(x) คือ x  1  x  3 จะได้ วา่ R(1), R(2), R(3), R(4) เป็ นเท็จ
1. จะพบว่ามี x = 1 ทําให้ P(x) เป็ นเท็จ นันคือ x[P(x)] เป็ นเท็จ
และสําหรับทุก x ทําให้ Q(x) เป็ นจริง นันคือ x[Q(x)] เป็ นจริง
ดังนัน x[P(x)]  x[Q(x)]  F  T  T 
2. สําหรับทุก x ทําให้ Q(x) เป็ นจริง ดังนัน x[P(x)  Q(x)] เป็ นจริง
สําหรับทุก x ทําให้ R(x) เป็ นเท็จ นันคือ x[R(x)] เป็ นเท็จ
ดังนัน x[P(x)  Q(x)]  x[R(x)]  T  F  F 
3. เพราะสําหรับทุก x ทําให้ Q(x) เป็ นจริง นันคือ x[Q(x)] เป็ นจริง
และสําหรับทุก x ทําให้ R(x) เป็ นเท็จ ทําให้ R(x) เป็ นจริง นันคือ  x[  R(x)] เป็ นจริง
ดังนัน x[Q(x)]   x[ R(x)]  T  T  T 
4. สําหรับทุก x ทําให้ R(x) เป็ นเท็จ นันคือ x[R(x)] เป็ นเท็จ
และมี x = 2 ทําให้ P(x) เป็ นจริง นันคือ x[P(x)] เป็ นจริง
ดังนัน x[R(x)]  x[P(x)]  F  T  T 
5. มี x = 2 ทําให้ Q(x) เป็ นจริง และ P(x) เป็ นจริง นันคือ Q(x)  P(x) เป็ นจริง
x[Q(x)  P(x)] เป็ นจริง
และสําหรับทุก x ทําให้ Q(x) เป็ นจริง นันคือ x[Q(x)] เป็ นจริง
ดังนัน x[Q(x)  P(x)]   x[Q(x)]  T  T  T 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |19
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

3. กําหนดให้ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S


ให้ A, B และ C เป็ นเซตใดๆ
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) (A B)  C  A (B C)
(ข) P(A) – P(B)  P(A – B)
(ค) P(P(  ))  P(P(P(  ))) เมือ  แทนเซตว่าง
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) ถูกเพียงข้ อเดียว 2. ข้ อ (ข) ถูกเพียงข้ อเดียว
3. ข้ อ (ค) ถูกเพียงข้ อเดียว 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 3
แนวคิด
(ก) ถ้ าให้ A  {1} , B  {1,2} , C  {2}
(A B)  C  {1}  {2}  {1,2}

A (B C)  {1}  {1,2}  {1}


พบว่า (A  B)  C  A (B C) นันคือ (ก) ผิด 

(ข) ถ้ าให้ A  {1,2} , B  {1, 3}


P(A) = {  , {1}, {2}, {1, 2}}
P(B) = {  , {1}, {3}, {1, 3}}
P(A) – P(B) = { {2}, {1, 2} }
P(A – B) = P({1}) = {  , {1}}
พบว่ามี {2}  P(A) – P(B) แต่ {2}  P(A  B)
ดังนัน P(A) – P(B)  P(A – B) นันคือ (ข) ผิด 

(ค) โดยสมบัติของสับเซตทีกล่าวว่า “ถ้ า AB แล้ ว P(A)  P(B) ”


พบว่า   P() [ เซตว่างเป็ นสับเซตของทุกๆเซต]

P()  P(P())
ดังนัน P(P())  P(P(P())) นันคือ (ค) ถูก 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |20
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

4. ให้ a, b, c และ d เป็ นจํานวนจริง


พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ถ้ า a > b และ c > d แล้ ว ac > bd
(ข) ถ้ า a < b < c < 0 แล้ ว |a – c| < |b – c|

(ค) ถ้ า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ ว a c  b d


ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) ถูกเพียงข้ อเดียว 2. ข้ อ (ข) ถูกเพียงข้ อเดียว
3. ข้ อ (ค) ถูกเพียงข้ อเดียว 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 5
แนวคิด
(ก) โดย a > b และ c > d
กําหนด a = 2, b = –1 , c = 1 และ d = –3
จะได้ ac = 2 และ bd = 3
พบว่า ac < bd
แสงว่า ถ้ า a > b และ c > d แล้ ว ac > bd เป็ นเท็จ นันคือ (ก) ผิด 

(ข) โดย a < b < c < 0


กําหนด a = –5, b = –3 และ c = –1
จะได้ |a – c| = |–5 – (–1)| = 4 และ |b – c| = |–3 – (–1)| = 2
พบว่า |a – c| > |b – c|
แสงว่า ถ้ า a < b < c < 0 แล้ ว |a – c| < |b – c| นันคือ (ข) ผิด 

(ค) โดย 0<a<b และ 0 < c <d


1
กําหนด a = 0.01 , b = 0.1 , c = และ d=1
2
1
จะได้ c
a  (0.01) 2  0.01  0.1 และ b d  0.11  0.1

พบว่า a c  bd

แสงว่า ถ้ า 0<a<b และ 0<c<d แล้ ว a c  bd นันคือ (ค) ผิด 


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |21
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

5. ให้ R แทนเซตของจํานวนจริง ถ้ า A เป็ นเซตคําตอบของสมการ |x + 1| + |x + 2| = 3x


แล้ วเซต A เป็ นสับเซตของเซตในข้ อใดต่อไปนี
1. x  R x  2  2x  3  2. x  R 0  x  3 
3. x  R 5  2x  3  4. x  R (x  1)(x  2)  0 
5. x  R (x  1)(x  5)  0 
ตอบ 1.
แนวคิด เนืองจาก x  1  (x
x1
 1) , x  1
, x  1
และ  (x  2) , x  2
x  2 
  x  2 , x  2
ดังนันในการแก้ สมการนี
กรณีที 1 กรณีที 2 กรณีที 3
x  2 2 2  x  1 1 x  1

กรณีที 1 สมมติให้ x < –2


จาก |x + 1| + |x + 2| = 3x จะได้ –(x + 1) + ( –(x +2) ) = 3x
–x – 1 – x – 2 = 3x
3
x
5
3
แต่  2 แสดงว่ากรณีที 1 เซตคําตอบของสมการคือ {}
5
กรณีที 2 สมมติให้ –2  x < –1
จาก |x + 1| + |x + 2| = 3x จะได้ –(x + 1) + (x +2) = 3x
1 = 3x
1
x
3
1
แต่  1 แสดงว่ากรณีที 2 เซตคําตอบของสมการคือ {}
3
กรณีที 3 สมมติให้ –x  –1
จาก |x + 1| + |x + 2| = 3x จะได้ (x + 1) + (x +2) = 3x
2x + 3 = 3x
x =3
และ 3  1 แสดงว่ากรณีที 3 เซตคําตอบของสมการคือ { 3 }
จากทังสามกรณี จะได้ A = {3}
ซึง 3 ทําให้ อสมการ x  2  2x  3 เป็ นจริง   x  R x  2  2x  3 
ดังนัน 
A  x  R x  2  2x  3  
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |22
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

6. ถ้ า A เป็ นเซตคําตอบของอสมการ

log 3 4 x  137  
 2  log 3 1  2 x 2 
แล้ ว A เป็ นสับเซตของช่วงในข้ อใดต่อไปนี
1. (–, 0) 2. (–2, 2)
3. (1, 6) 4. (3, 8)
5. (6, )
ตอบ 3
แนวคิด

log 3 4 x  137   2  log 3  1  2 x 2 
log 3  4 x  137   2 log 3 3  log 3  1  2 x  2 

log 3  4 x  137   log 3 3 2  log 3  1  2 x  2 

log 3  4 x  137   log 3 9  1  2 x  2 

4 x  137  9  1  2 x 2 

4 x  137  9  9  2 2  2 x

4 x  36  2 x  128  0

(2 x )2  36  2 x  128  0

(2 x  4)(2 x  32)  0

โดย 2x  4  0  2x  4  2 x  22  x2

2 x  32  0  2 x  32  2 x  2 5  x  5

(2 x  4)(2 x  32)
 2  5 

ดังนันเซตคําตอบอสมการคือ (2, 5)  (1, 6)


นันคือ A  (1, 6) 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |23
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

7. กําหนดให้ f และ g เป็ นฟั งก์ชนั โดยที


 x  1 ,  1  x  1
f(x)  
 3 , x 1
1
และ g(x)  เมือ –1 < x < 1
2
1x
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) (fog)(x)  3 สําหรับทุก x  (1,1)
1
(ข) (fg)(x)  1 สําหรับทุก x  (1,1)
2
1x
f  2
(ค)   (x)  (x  1) 1  x สําหรับทุก x  (1,1)
g
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 2.
แนวคิด
(ก) เนืองจาก –1 < x < 1

จะได้ วา่ 0  x2  1  1  x 2  0  0  1  x 2  1  0  1  x 2  1
1
ดังนัน  1 นันคือ g(x)  1
1  x2
ดังนัน สําหรับ –1 < x < 1 จะได้ วา่ (fog)(x)  f(g(x))  3 ดังนัน (ก) ถูก 

(ข) เพราะว่า D f  D g  (1,1) ข้ อความ (ข) กําหนดว่าส่วนนีเป็ น 1


ดังนัน สําหรับ x  D f  D g  (1,1)
 1  1 x
(fg)(x) = f(x)g(x) = (x + 1)    ดังนัน (ข) ผิด 
 1  x2  1x 2
1 x 2

(ค) เพราะว่า D f  D g  (1,1)


ดังนัน สําหรับ x  D f  D g  (1,1)
f  f(x) x 1
  (x)    (x  1) 1  x 2 ดังนัน (ค) ถูก 
g g(x) 1
1  x2
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |24
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

8. ให้ f เป็ นฟังก์ชนั โดยที f(x)  x 3  3x 2  4 สําหรับทุกจํานวนจริง x


พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ถ้ า 0 < a < 1 แล้ ว f(a) > f(2 – a)
(ข) f(x) < 4 สําหรับทุกจํานวนจริ ง x < 0
(ค) f มีคา่ ตําสุดสัมพัทธ์ที x = 2
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด

3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 4.
แนวคิด
ในการตรวจสอบข้ อความทัง 3 จะพิจารณาจากกราฟของ f โดยมีขนตอนในการวาดคร่
ั าวๆดังนี
f(x)  x 3  3x 2  4
f (x)  3x 2  6x (จะพบว่า f  หาค่าได้ สําหรับทุกจํานวนจริง x)
ให้ f (x)  0 ; 3x 2  6x  0 ตรวจสอบค่าวิกฤต
3x(x – 2) = 0 f เป็ นฟั งก์ชนั เพิม f เป็ นฟั งก์ชนั ลด f เป็ นฟั งก์ชนั เพิม
x = 0, 2 f (x)
ดังนันค่าวิกฤตคือ 0 และ 2  0  2 
f(0) = 0 3  3  0 2  4  4 ดังนัน f(0) เป็ นค่าสูงสุดสัมพัทธ์
f(2) = 2 3  3  2 2  4  0 f(2) เป็ นค่าตําสุดสัมพัทธ์
y y  f(x)
จุดสูงสุดสัมพัทธ์
4
 f(a)
f(x)  4,x  0
f(2  a)

x
0

1
2
จุดตําสุดสัมพัทธ์
พิจารณาข้ อความ
ถ้ า 0 < a < 1 จะได้ 1 < 2 – a < 2 จากกราฟจะพบว่า f(a) > f(2 – a) นันคือ (ก) ถูก 
สําหรับ x < 0 จากกราฟจะพบว่า f(x) < 4 นันคือ (ข) ถูก 
จากการตรวจสอบค่าวิกฤต เราได้ วา่ f(2) เป็ นค่าตําสุสมั พัทธ์ นันคือ (ค) ถูก 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |25
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

9. สําหรับ a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวกใดๆ


กําหนดให้ a  b เป็ นจํานวนเต็มบวกทีมีสมบัติ ดังนี
(ก) 1  b  b สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก b
(ข) (1  a)  b  a  (a  b) สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก a และ b

ให้ A  (2  5)  (5  9)
B  2  (5  (5  9))
C  ((9  5)  5)  2
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. A<B+C 2. B<C<A
3. B<A<C 4. C<A<B
5. C<B<A
ตอบ 5.
แนวคิด
กําหนดให้ a  b เป็ นจํานวนเต็มบวกทีมีสมบัติ ดังนี
(ก) 1  b  b สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก b
(ข) (1  a)  b  a  (a  b) สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก a และ b
จะพบว่า
สําหรับจํานวนเต็มบวก a ใดๆ
1a  a
2  a  (1  1)  a  1  (1  a)  1  a  a
3  a  (2  1)  a  2  (1  a) 2  a  a
4  a  (3  1)  a  3  (1  a) 3  a  a


จะพบว่า na  a สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n
(ผลลัพธ์ของ na มีคา่ เท่ากับจํานวนหลังเครืองหมาย )

ดังนัน A  (2  5)  (5  9)  5  9  14
B  2  (5  (5  9))  2  (5  9)  2  9  9
C  ((9  5)  5)  2  (5  5)  2  5  2  2
แสดงว่า C<B<A 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |26
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

10. กําหนดให้ x และ y เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับสมการ


(1  i)(x  yi)  3  3(1  i)  x  yi เมือ i 2  1

ค่าของ x2  y2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี


1. 3 2. 6
3. 9 4. 18
5. 27
ตอบ 3.
แนวคิด
(1  i)(x  yi)  3  3(1  i)  x  yi

x  xi  yi  yi 2  3  3  3i  x  yi

x  xi  yi  y  3  3  3i  x  yi

(x  y  3)  (x  y)i  (3  x)  (3  y)i

(x  y  3)2  (x  y)2  (3  x)2  (3  y)2

(x  y  3)2  (x  y)2  (3  x)2  (3  y)2

(x 2  y 2  9 2xy  6x  6y)  (x 2  2xy  y 2 )  (9  6 x  x 2 )  (9  6y  y 2 )

2x 2  2y 2  9  6x  6y  x 2  y 2  18  6 x  6y

x2  y2  9 

Note

(A  B)2  A 2  B 2  2AB

(A  B C)2  A 2  B 2  C 2  2AB  2BC  2AC


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |27
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

3
11. ถ้ า cos   และ     2
5
แล้ ว 100 cot  cos ec  sin 5 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
2 2 2
1. –41 2. –164
3. –205 4. –328
5. –656

ตอบ 4. (–328)
แนวคิด
3
3
cos   > 0 และ     2 
5
3 4 4
แสดงว่า   ( ,2) ทําให้ sin    5
2 5


cos
  5 2  1  sin 5
100 cot cos ec sin  100 
2 2 2   2
sin sin
2 2

cos  sin 5
 100  2 2
sin 2 (  )
2
 5
2 cos sin
 50  2 2
1  cos 
2
sin 3  sin 2
 50 
1  cos 
2
(3 sin   4 sin 3 )  2 sin  cos 
 100 
1  cos 
 4 4 3  4 3 
 3( )  4( )    2( )( ) 
 100   5 5   5 5 
3
1
5
  328 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |28
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

 x 1 
12. ให้ f   (x, y)  R R y   เมือ R แทนเซตของจํานวนจริง
2
 2xx 
โดเมนของ f ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. (–, –2) 2. (–, –2)  (1, )
3. (–2, 1) 4. (–, –1)  (2, )
5. (–1, 2)

ตอบ 3.
แนวคิด
จัด y ในเทอมของ x แล้ วพิจารณาว่า x เป็ นจํานวนจริงใดบ้ างทีทําให้ หาค่า y ได้ เป็ นจํานวนจริง
x 1
จากเงือนไขในฟั งก์ชนั f ทีกําหนด y
2  x  x2 ตัวส่วน  0

ซึง y จะหาค่าได้ เมือ 2  x  x2  0 และ 2  x  x2  0


ค่าใน ต้ อง  0
x 1
นันคือจาก y
2  x  x2
จะหาจํานวนจริง y ได้ ก็ตอ่ เมือ 2  x  x2  0
(2 + x)(1 – x) > 0

 2  1 
–2 < x < 1

ดังนัน โดเมนของ f เท่ากับ (–2, 1) 


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |29
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

13. กําหนดให้ R แทนเซตของจํานวนจริง


ให้ f : R  {5}  R เป็ นฟั งก์ชนั
5x  3
โดยที f(x)  สําหรับจํานวนจริง x  5
x5
ค่าของ (f 1of 1)(1) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. f(0) 2. f(–1)
3. f(1) 4. f(–2)
5. f(2)
ตอบ 4. เพิมเติม ตรวจสอบว่า f เป็ นฟั งก์ชนั 1-1
แนวคิด 1 จาก f(x) 
5x  3
5x  3 x 5
จาก f(x) 
สมมติให้ f(x 1)  f(x 2 )
x5
ต้ องการหา (f 1of 1)(1)  f 1(f 1(1)) 5x 1  3

5x 2  3
x1  5 x2  5
ต่อไปจะหา f 1(1)
28 28
5 5
ให้ f 1(1)  x จะได้ f(x)  1 x1  5 x2  5
28 28
5x  3 
1 x1  5 x2  5
x5 1 1

5x  3  x  5 x1  5 x2  5
x1  5  x2  5
x  2
x1  x2
นันคือ f 1(1)  2
พบว่า ถ้ า f(x1)  f(x 2 ) แล้ ว x1  x 2
ต่อไปจะหา f 1
(2)
ดังนัน f เป็ นฟังก์ชนั ชนิด 1 – 1
ให้ f 1(2)  x จะได้ f(x)  2
5x  3
 2
x5
5x  3  2x  10
x 1
นันคือ f 1
(2)  1

ดังนัน (f 1of 1)(1)  f 1(f 1(1))  f 1(2)  1


5  (2)  3
เมือพิจารณาตัวเลือกจะพบว่า f(2)  1
2  5
แสดงว่า (f 1of 1)(1)  f(2) 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |30
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

ตอบ 4.
แนวคิด 2
5x  3
จะหา f 1(x) จาก f(x) 
x5
ให้ y = f(x)
5x  3
จะได้ y
x5
yx  5y  5x  3
yx  5x  5y  3
(y  5)x  5y  3
5y  3 5x  3
x สลับ x และ y จะได้ y
y5 x5
5x  3
นันคือ f 1(x) 
x 5
จะพบว่า f  f 1

ดังนัน (f 1of 1)(1)  (fof 1 )(1)


1  (fof 1 )(x)  x 
... 
5  (2)  3
เมือพิจารณาตัวเลือกจะพบว่า f(2)  1
2  5
แสดงว่า (f 1of 1)(1)  f(2) 

หมายเหตุ
จาก  อาจจะค่าโดยตรงจากการแทน x = 1 ใน f 1 ได้ ดงั นี
(f 1of 1 )(1)  f 1(f 1(1))
 
 f 1(2)   f 1(1)  5  1  3  2 
 15 
5  (2)  3

2  5
1
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |31
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

14. กําหนดให้ P = 4x + 5y เป็ นฟั งก์ชนั จุดประสงค์


โดยมีอสมการข้ อจํากัด ดังนี
x + 2y  10
x+y 6
3x + y  8
x0 และ y  0
ค่าของ P มีคา่ น้ อยทีสุด ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 24.0 2. 26.8
3. 28.0 4. 29.0
5. 40.0
ตอบ 3 y

แนวคิด
อสมการข้ อจํากัดทีกําหนด 8  (0, 8)

6 (1, 5)
ให้ L1 แทนสมการ x + 2y = 10 
(2, 4)
5 
L2 แทนสมการ x+y=6 (10, 0) x

L3 แทนสมการ 3x + y = 8 0 8 6 10 L1
3 L2
L3

โดยการแก้ ระบบสมการเชิงเส้นจะได้ สมการเส้นตรง จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y


จุดตัดระหว่าง L1 และ L2 คือ (2, 4) L1 (10, 0) (0, 5)
6 22 L2 (6, 0) (0, 6)
จุดตัดระหว่าง L1 และ L3 คือ ( , )
5 5 8
L3 ( , 0) (0, 8)
จุดตัดระหว่าง L2 และ L3 คือ (1, 5) 3

ดังนันเซตทีเป็ นไปได้ (feasible set) คือบริเวณแรเงา จุดมุม(x, y) P = 4x + 5y

โดยมีจดุ มุมได้ แก่ (0,8), (1, 5), (2, 2), (10, 0) (0, 8) 40
(1,5) 29
จากตารางจะพบว่าสมการจุดประสงค์ P = 4x + 5y
(2,4) 28
มีคา่ น้ อยทีเท่ากับ 28 
(10,0) 40
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |32
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

15. กล่องใบหนึงมีลกู แก้ วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้ วสีนําเงินเหมือนกันจํานวนหนึง


สุม่ หยิบลูกแก้ ว 1 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีนําเงินเป็ นสองเท่าของความน่าจะเป็ น
ทีจะได้ ลกู แก้ วสีแดง ถ้ าสุม่ หยิบลูกแก้ ว 2 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วเหมือนกันทัง
สองลูกตรงกับข้ อใดต่อไปนี
4 1
1. 2.
9 2
5 16
3. 4.
33 33
17
5.
33
ตอบ 5.
แนวคิด
กล่องใบหนึงมีลกู แก้ วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้ วสีนําเงินเหมือนกันจํานวน x ลูก
สุม่ หยิบลูกแก้ ว 1 ลูกจากกล่อง
x
C1 x
ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีนําเงิน เท่ากับ x 4

C1 x4
4
C1 4
ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีแดง เท่ากับ x 4

C1 x4

โดยที ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีนําเงินเป็ นสองเท่าของความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วสีแดง
x 4
ดังนัน  2( )
x4 x4
x8
นันคือ ลูกแก้ วสีนําเงินเหมือนกันจํานวน 8 ลูก

ตอนนีในกล่องใบมีลกู แก้ วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลกู แก้ วสีนําเงินเหมือนกันจํานวน 8 ลูก


สุม่ หยิบลูกแก้ ว 2 ลูกจากกล่อง
4 8 12!
จะได้ จํานวนผลลัพธ์ทงหมด
ั n(S)  C2   66
(12  2)!2!
4! 8!
จํานวนวิธีทีลูกแก้ วเหมือนกันทังสองลูก n(E)  4C2  8C 2    34
(4  2)!2! (8  2)!2!
34 17
ดังนัน ความน่าจะเป็ นทีจะได้ ลกู แก้ วเหมือนกันทังสองลูกเท่ากับ  
66 33
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |33
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

16. ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์มิติ 3  3 กําหนดโดย


 a a2 1
  1 1 1 
A  b b 2
1  และ B  a  b c 
 c c2 1  
   bc ca ab 

เมือ a, b และ c เป็ นจํานวนจริ งบวกทีแตกต่างกัน


ค่าของ detB ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. det A 2.  det A
3. abc(det A) 4. abc(detA)
5. a 2b 2c 2 (detA)
ตอบ 1. (det A)
แนวคิด 1
โดยสมบัติการ ดีเทอร์มินนั ต์ ภายใต้การดําเนินการตามแถวเบืองต้น(ตามหลักก็ทําเช่นเดียวกัน)
R ij
B เกิดจากการสลับระหว่างแถว i และ j ของ A แทนด้ วย A  B
จะได้ det B = – det A  det A = – det B
kR i
B เกิดจากการคูณตลอดแถว i ด้ วย k ของ A แทนด้ วย A  B

จะได้ det B = k det A  det A = 1 det B


k
R i  kR j
B เกิดจากการคูณคูณตลอดแถว j ด้ วย k แล้ วนําไปบวกกับแถวที i ของ A แทนด้ วย A  B
จะได้ det A = det B
ดึงตัวร่วม abc จากหลักที 3

ดังนัน
1 1 1 a a2 1
1 1 1 2
det B  a b c det B     abc b b 1
a b c 2
bc ca ab c c 1
transpose
1 a bc a a2 1
 1 b ca
 b b2 1
1 c ab
2
c c 1
2
a a abc
1 1 1 2  det A 
    b b abc
a b c
c c2 abc

1 1 1
ดึงตัวร่วม , ,
a b c
จากแถวที 1 , 2 , 3 ตามลําดับ
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |34
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

17. ให้ P เป็ นพาราโบลาซึงมีสมการเป็ น x 2  8x  4y  12  0


ถ้ า H เป็ นไฮเพอร์โบลาทีมีแกนตามขวางขนานกับแกน y มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ทีจุดยอดของ P
ระยะทางระหว่างโฟกัสทังสองของ H เท่ากับ 4 13 หน่วย และเส้ นกํากับเส้นหนึงของ H
ขนานกับเส้ นตรง 2x – 3y – 2 = 0 แล้ ว สมการของไฮเพอร์โบลา H รูปนีตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0 2. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0
3. 9y 2  4x 2  32x  18y  109  0 4. 9y 2  4x 2  32x  18y  199  0
5. 9y 2  4x 2  32x  18y  199  0
ตอบ 4.
แนวคิด
จาก P เป็ นพาราโบลาซึงมีสมการเป็ น x 2  8x  4y  12  0

จะได้ x 2  8x  4y  12  0  x 2  8x  4y  12

(x  4)2  4y  12  16
(x  4)2  4(1)(y  1)
ดังนัน P มีจดุ ยอดอยูท่ ีจุด (–4, 1)
โดยกําหนด H เป็ นไฮเพอร์โบลาทีมีแกนตามขวางขนานกับแกน y มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ ีจุดยอดของ P
ดังนัน จุด (–4, 1) เป็ นจุดศูนย์กลางของ H
ระยะทางระหว่างโฟกัสทังสองของ H เท่ากับ 4 13 หน่วย ดังนัน c = 2 13
และเส้ นกํากับเส้นหนึงของ H ขนานกับเส้นตรง 2x – 3y – 2 = 0
a 2 2 y
ดังนัน   a b
b 3 3
โดยความสัมพันธ์ของไฮเพอร์โบลา 2x  3y  2  0

c 2  a 2  b2 a
b (4,1)
2 2 x
(2 13)2  ( b)2  b 2  b  36  b = 6

3 0
แทน b = 6 ใน a  2 b  a  2  6  4
3 3
(y  k)2 (x  h)2
สมการของไฮเพอร์โบลา H คือ 2

2
1
a b
โดย (h, k) = (–4, 1) , a = 4, b = 6
ดังนัน H มีสมการเป็ น
9
(y  1)2 (x  4)2 144(y  1)2 4
144(x  4)2
 1    144
42 62 16 36
9y 2  4x 2  32x  18y  199  0 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |35
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

18. กําหนดให้ ABC เป็ นสามเหลียมโดยทีมีความยาวด้ านตรงข้ ามมุม A มุม B และมุม C


1 1
เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามลําดับ ถ้ า b , c
6 2 6 2
และมุม A มีขนาด 60 o พิจารณาข้ อความต่อไปนี
3 C
(ก) a
2
(ข) sin 2 B  sin 2 C  1 b a

3
(ค) sin B  sinC  A B
2 c
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 1. (ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด)
แนวคิด
1 6 2 6 2 1 6 2 6 2
โดย b   และ c  
6 2 62 4 6 2 62 4
6 2 6 2 2 6 6
bc    
4 4 4 2
6 2 6  2 62 1
bc    
4 4 16 4
2 2
 6 2  6 2   6  2 12  2   6  2 12  2 
และ b 2  c 2
      1
 4   4   16   16 
โดยกฎของ cosine จะได้
1 1 1 3 3
a 2  b 2  c 2  2bc cos A  1  2( ) cos 60 o  1  2( )( )   a
4 4 2 4 2
แสดงว่า (ก) ถูก 
sinA sin B sin C b sin A c sin A
โดยกฎ sine จะได้    sin B  , sin C 
a b c a a
2 2 2 2
2 2  b sin A   c sin A  2 2  sin A   sin 60 o 
sin B  sin C        (b  c )    1   1
 a   a   a   ( 3 / 2) 
แสดงว่า (ข) ถูก 
 b sin A   c sin A   sin A  6  sin 60 o  6
sin B  sin C      (b c)    
 a   a   a  2  ( 3 / 2)  2
แสดงว่า (ค) ผิด 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |36
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

19. กําหนดให้ P เป็ นพาราโบลามีสมการเป็ น y  ax 2  bx  5 เมือ a>0 และ b<0


1
ถ้ าระยะทางระหว่างโฟกัสกับจุดยอดของ P เท่ากับ หน่วย และเส้ นตรง 2x – y – 3 = 0
2
สัมผัสกับ P ทีจุด C แล้ ว ระยะทางระหว่างจุดยอดของ P และจุด C ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 2 2. 5
3. 6 4. 8
5. 13
ตอบ 4.
แนวคิด
จากสมการของ P y  ax 2  bx  5 จัดรูปเป็ น (x  h)2  4c(y  k)

จะได้ y  ax 2  bx  5  ax 2  bx  y  5
b
 a(x 2  x)  y  5
a
b 1 b
 (x  )2  (y  5  )
2a a 2a
b 1 b
 (x  )2  4( )(y  5  )
2a 4a 2a

b b 1
ดังนันจุดยอดพาราโบลาคือ ( ,5  ) และ c= ...(1)
2a 2a 4a
เนืองจาก a>0 แสดงว่า P เป็ นพาราโบลาหงาย
1 1
โดยทีกําหนดระยะทางระหว่างโฟกัสกับจุดยอดของ P เท่ากับ หน่วย แสดงว่า c= ...(2)
2 2
1 1 1
จาก (1) และ (2) แสดงว่า   a
4a 2 2
1 1 2
แทน a ในสมการพาราบโบลา y  ax 2  bx  5 จะได้ y x  bx  5
2 2

ต่ อไปจะหาค่ า b และจุด C
1 2
เส้ นตรง 2x – y – 3 = 0 สัมผัสเส้ นโค้ งพาราโบลา y x  bx  5
2
dy
ดังนัน  ความชันของเส้ นตรง 2x – y – 3 = 0 ซึงเป็ นเส้ นสัมผัส
dx
d 1 2
( x  bx  5) = 2 ( 2x – y – 3 = 0  y = 2x – 3  m = 2)
ax 2
xb2
x 2b
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |37
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
แนวคิดข้ อ 19(ต่ อ)

แทน x = 2 – b ในสมการเส้นตรง 2x – y – 3 = 0
จะได้ 2(2  b)  y  3  0  y  1  2b
จะได้ จดุ C คือ (2 – b, 1 – 2b) ...(3)
1 2
ซึงเป็ นจุดบนเส้ นโค้ งพาราโบลา y x  bx  5 ด้ วย
2
1
ดังนัน 1 – 2b = (2  b)2  b(2  b)  5
2
2  4b  (4  4b  b 2 )  2 b(2  b)  10
b 2  4b  12  0
(b – 6)(b + 2) = 0
b = 6, –2
แต่กําหนด b<0 แสดงว่า b = –2

1
แทนค่า a และ b = –2 ใน (1) และ (3)
2
b b 2 2
จะได้ จดุ ยอดพาราโบลาคือ ( ,5  ) = ( , 5 ) = (2, 3)
2a 2a 1 1
2 2
2 2
และจุด C คือ (2 – b, 1 – 2b) = (2 –(–2) , 1 – 2(–2)) = (4, 5)

ดังนันระยะทางจากจุดยอดของ P ไปยัง จุด C เท่ากับ (4  2)2  (5  3)2  8 


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |38
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
2 0 a b
20. กําหนดให้ A  และ B  เมือ a, b, c, d เป็ นจํานวนจริงใดๆ
 1 1   c d 

โดยที B  A 1BA ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง


1. a+b+c+d=0 2. –a + b + c + d = 0
3. a–b+c+d=0 4. a+b–c+d=0
5. a+b+c–d=0
ตอบ 5.
แนวคิด
2 0 a b
A  และ B 
 1 1   c d 

โดยที B  A 1BA จะได้ AB  A  (A 1BA)

AB  BA

2 0 a b  a b  2 0
    
 1 1   c d   c d   1 1 

 2a 2b   2a  b b
  
 a  c b  d   2c  d d 

จะได้ 2a = 2a – b  b=0
–a + c = 2c – d  a+c–d=0

ดังนัน a + b + c – d = (a + c – d) + b
=0+0
=0 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |39
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
21. ถ้ า x 1 , x 2 , x 3 , x 4 เป็ นข้ อมูลของจํานวนจริงทีเรียงลําดับจากน้ อยไปมาก
โดยมีมธั ยฐานเท่ากับ 14 ค่าเฉลียเลขคณิตเท่ากับ 15 และพิสยั เท่ากับ 8
แล้ วสัมประสิทธิของพิสยั ของข้ อมูล 2x 1  4 , 2x 2  3 , 2x 3  2 , 2x 4  1
มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1 8
1. 2.
4 27
8 19
3. 4.
11 59
19
5.
69
ตอบ 4
แนวคิด
สมมติ x1 , x 2 , x 3 , x 4 เป็ นข้ อมูลของจํานวนจริงทีเรียงลําดับจากน้ อยไปมาก
x2  x 3
โดย มัธยฐานเท่ากับ 14 จะได้  14 ...(1)
2
x1  x 2  x 3  x 4
ค่าเฉลียเลขคณิตเท่ากับ 15 จะได้  15 ...(2)
4
และ พิสยั เท่ากับ 8 จะได้ x 4  x1  8 ...(3)
จาก (1) จะได้ x 2  x 3  2  14  28
x 1  28  x 4
จาก (2) และทีได้ x 2  x 3  28 จะได้  15
4
x 1  28  x 4  60
x 1  x 4  32 ...(4)
เนืองจาก x 1  x 2  x 3  x 4 จะได้ 2x 1  2x 2  2x 3  2x 4
โดย 4  3  2  1 ดังนัน 2x 1  4  2x 2  3  2x 3  2  2x 4  1
แสดงว่าข้ อมูล 2x 1  4 , 2x 2  3 , 2x 3  2 , 2x 4  1
มี 2x 1  4 และ 2x 4  1 เป็ นค่าน้ อยสุดและค่ามากสุดข้ อมูลตามลําดับ
(2x 4  1)  (2 x 1  4)
ดังนันสัมประสิทธิของพิสยั ของข้ อมูล =
(2x 4  1)  (2x 1  4)
2(x 4  x 1 )  3
=
2(x 4  x 1)  5
2(8)  3
= [จาก (1) และ (4) ]
2(32)  5
19
= 
59
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |40
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
22. กําหนดให้ เส้ นตรง 3x – 4y – 6 = 0 ตังฉากกับเส้ นตรง x + ay + 3 = 0 เมือ a เป็ นจํานวนจริง
ถ้ าเส้ นตรงทังสองตัดกันทีจุด A และเส้ นตรงทังสองตัดแกน x ทีจุด B และจุด C ตามลําดับ
แล้ วพืนทีของรูปสามเหลียม ABC ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
1. 6 ตารางหน่วย 2. 8 ตารางหน่วย
3. 10 ตารางหน่วย 4. 12 ตารางหน่วย
5. 14 ตารางหน่วย
ตอบ 1
แนวคิด
A
โดยทีเส้นตรงมีสมการ Ax + By + c = 0 จะได้ ความชันเส้ นตรง 
B
3 3
ดังนัน เส้นตรง 3x – 4y – 6 = 0 มีความชันเท่ากับ  
4 4
1
เส้ นตรง x + ay + 3 = 0 มีความชันเท่ากับ 
a
และเพราะว่าเส้ นตรงทังสองตังฉากกัน แสดงว่าความชันของเส้ นตรงทังสองคูณกันเท่ากับ –1
3  1 3
นันคือ      1  a 
4  a 4
แทน a  3 ในสมการเส้ นตรง x + ay + 3 = 0
4
จะได้ x  3 y  3  0  4x  3y  12  0
4
หาจุด A ทีเป็ นจุดตัดของเส้ นตรง 3x – 4y – 6 = 0 และ 4x + 3y + 12 = 0
โดยการแก้ ระบบสมการ 3x  4y  6

4x  3y  12
6 4 3 6
12 3 30 6 4 12 60 12
จะได้ x   และ y  
3 4 25 5 3 4 25 5 y
4 3 4 3
C(3, 0) B(2, 0) x

6 12 12
จุด A คือ ( , ) 5
5 5
จุดตัดแกน X ของ 3x – 4y – 6 = 0 และ 4x + 3y + 12 = 0 6 12
A( ,  )
คือจุด B(2, 0) และ C(–3, 0) ตามลําดับ (แทนค่า y = 0 แล้ วแก้ สมการหา x) 5 5

1 12
ดังนัน พืนทีสามเหลียม ABC = 5
2 5
= 6 ตารางหน่วย 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |41
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
23. ข้ อมูลประชากรชุดหนึงประกอบด้ วย x 1 , x 2 , ... , x 10
โดยมีสมั ประสิทธิของการแปรผันเท่ากับ 62.5% และมีความแปรปรวนเท่ากับ 25
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) ค่าเฉลียเลขคณิตของ x 12 , x 22 , ... , x 10
2
เท่ากับ 89
(ข) ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของ  x 1 , x 2 , ... ,  x 10 เท่ากับ 5
10
(ค)  (x i  5)2 มีคา่ น้ อยทีสุด
i 1
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ

ตอบ 1. (ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด)


แนวคิด
กําหนดข้ อมูลประชากรชุดหนึงประกอบด้ วย x 1 , x 2 , ... , x 10
โดยมีความแปรปรวนเท่ากับ 25 จะได้ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน () = 5
และ สัมประสิทธิของการแปรผันเท่ากับ 62.5%
 62.5 5 62.5
จะได้     8
 100  100
ตอนนีเราได้ แล้ วว่า 8 และ 5

(ก) โดยที x 1 , x 2 , ... , x 10 เป็ นข้ อมูลประชากรมี 8 และ 5


10 10
 x 2i  x 2i
ดังนัน i 1  2    i 1  82  5
10 10
10
 x 2i
 i 1  8 2  52
10
10
 x 2i
 i 1  89
10
แสดงว่า ค่าเฉลียเลขคณิตของ x 12 , x 22 , ... , x 10
2
เท่ากับ 89
ดังนัน ข้ อความ (ก) ถูก 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |42
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
(ต่ อข้ อ 23)

(ข) โดยที x 1 , x 2 , ... , x 10 เป็ นข้ อมูลประชากรมี   5


จากสมบัติของส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
ถ้ า y i  Ax i  B เมือ i = 1, 2, 3, ... , n จะได้  y A x
ดังนัน ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของ  x 1 , x 2 , ... ,  x 10 เท่ากับ 15  5
ดังนัน ข้ อความ (ข) ถูก 

(ค) โดยที x 1 , x 2 , ... , x 10 เป็ นข้ อมูลประชากรมี 8


N
จากสมบัติของค่าเฉลียเลขคณิต ทีว่า   x i  A  2 น้ อยสุดเมือ A
i 1
10 10
ดังนัน   x i  5  2    xi  8 
2

i 1 i 1
ดังนัน ข้ อความ (ค) ผิด 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |43
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.

24. กําหนดให้ a และ เป็ นเวกเตอร์
b
  
โดยที a  b  15 , a  6 และ (2 a  b)  (a  b)  32

ค่าของ a  2b เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 4 2. 76
3. 9 4. 106
5. 136
ตอบ 2.
แนวคิด

  
โดยที a  b  15 , a 6
   
และ (2 a  b)  (a  b)  32
       
2 a  a  b  a  2 a  b  b  b  32
   
 u  u u2 ,    
2  a  b  
2a b 2  32  u  v  v u 

2(6 2 )  15  
b 2  32

b 2  25

ดังนัน 
b 5
จากสมบัติ u  v2 u2    
2u  v v2

พิจารณาค่าของ a  2b
  2    
จะได้ a  2b a 2  2a  (2b)  2 b2
 
   
a 2  4a  b  4
  b2

 6 2  4(15)  4(5 2 )

 76

 
ดังนัน a  2b  76 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |44
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
25. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a n , ... เป็ นลําดับของจํานวนจริง
โดยที a 1 1 และ an  2a n 1  3 สําหรับ n = 2, 3, 4, ...
an
ค่าของ lim เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
n  a n  2  a n 1
1. 0 2. 0.5
3. 1 4. 2.5
5. 4
ตอบ 2. ( 0.5 )
แนวคิด 1 โดยที a1  1 และ a n  2a n 1  3 สําหรับ n = 2, 3, 4, ...
a1  1
a 2  2a 1  3  2(1)  3  2  3
a 3  2a 2  3  2(2  3)  3 = 2 2  2(3)  3


an  2 n 1  2 n 2 (3)  2 n  3 (3)  ...  2(3)  3

 2 n 1(3)  2 n 2 (3)  2 n  3 (3)  ...  2(3)  3  2 n 1(2)

 
3 2 n 1  2 n 2  2 n  3  ...  2  1   2n

 1(1  2 n ) 
 3   2n
 12 
 
3 2n  1   2n

 3  2n  3  2n

 2 n 1  3
an 2 n 1  3
 lim  lim
n  a n 2  a n 1 n  (2 n  3  3)  (2 n  2  3)
2 n 1  3
 lim
n  2 n  3
 2 n 2
 3 
2n  2  
 lim  2n 

n  2 n 2 3  2 2

20

84
1
 
2
(ต่ อ ข้ อ 25)
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |45
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
ตอบ 2. ( 0.5 )
แนวคิด 2
โดยที a 1  1 และ a n  2a n 1  3 สําหรับ n = 2, 3, 4, ...
a1  1
a 2  2a 1  3  2(1)  3  2  3
a 3  2a 2  3  2(2  3)  3 = 2 2  2(3)  3
a 4  2a 3  3  2(2 2  2(3)  3)  3 = 2 3  2 2 (3)  2(3)  3

จะพบว่า a n มีคา่ มากขึนอย่างไม่มีขีจํากัด เมือ n มากขึนอย่างไม่มีขีดจํากัด


นันคือ nlim

an  

an an
ดังนัน lim  lim
n  a n  2  a n 1 n  (2a n 1  3)  (2a n  3)
an
 lim
n  (2a n 1  3)  (2a n  3)
an
 lim
n  2(a n 1  an)
an
 lim
n  2  (2a n  3)  a n 
an
 lim
n  2 an  3
an
 lim
n   3 
2a n  1 
 a n 
1
 lim
2  1  3 
n 
 an 
1

2(1  0)
1
 
2

(ต่ อ ข้ อ 25)
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |46
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
ตอบ 2. ( 0.5 )
แนวคิด 3
โดยที a 1  1 และ a n  2a n 1  3 สําหรับ n = 2, 3, 4, ...
a1  1
a 2  2a 1  3  2(1)  3  2  3
a 3  2a 2  3  2(2  3)  3 = 2 2  2(3)  3
a 4  2a 3  3  2(2 2  2(3)  3)  3 = 2 3  2 2 (3)  2(3)  3


a n  2 n 1  2 n 2 (3)  2 n  3 (3)  ...  2(3)  3
a n  2  2 n 1  2 n (3)  2 n 1(3)  ...  2(3)  3
a n 1  2 n  2 n 1(3)  2 n 2 (3)  ...  2(3)  3
a n  2  a n 1   2 n 1  2 n (3)  2 n 1(3)  ...  2(3)  3    2 n  2 n 1(3)  2 n 2 (3)  ...  2(3)  3 

 2 n 1  2 n (3)  2 n
 4  2n
an 2 n 1  2 n 2 (3)  2 n  3 (3)  ...  2(3)  3
ดังนัน 
a n 2  a n 4  2n
11 3 3 3 
     ...  
4  2 22 2 3 2n 
an 11 3 3 3 
lim  lim     ...  
2 3
n  a n  2  a n 1 n  4  2 2 2 2n 
11 3 3 3 
 lim     ...  
n  4  2 22 2 3 2n 
11 3 3 
     ... 
42 2 2 3
2 
11 3  1  
 
4 2 22 
 1  
  1  
  2  
11 3 2 
    
42 4 1 
1
 2 
4
1

2
 0.5 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |47
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
1 1
26. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ  a(1  x 2 ) dx   1  x 2 dx
1 1
แล้ ว a ตรงกับข้ อใดต่อไปนี
2 2
1. 2.
5 7
3 
3. 4.
7 3
3
5.
8
3
ตอบ 5. ( )
8
แนวคิด
1
พิจารณาหาค่า  1  x 2 dx โดยอาศัยการวาดกราฟ y  1  x2
1

จาก y  1  x2 จะได้ y2  1  x2 เมือ y0

y
x2  y2  1 เมือ y  0
เป็ นสมการของครึงวงกลมรัศมี 1 หน่วย เหนือแกน x ดังรูป
จะพบว่า 1  x2  0
1 1 x 1
 1  x dx = พืนปิ ดล้ อมของครึงวงกลมเหนือแกน x
2
0
1
1
=    12
2


2
1 1
จากสมการ  2
a(1  x ) dx   1  x 2 dx
1 1
1

a  (1  x 2 ) dx 
1
2
1
 x 3  

a  x  
 
3 1 2
 3 
 13 (1)  
a  (1  )  (1   
 3 3 2
4a 

3 2
3
a 
8
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |48
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
27. ให้ A เป็ นเซตคําตอบของอสมการ
x 2  2x 16  x
 log 9 4    2
2 log 2 (log 3 2)

แล้ ว A เป็ นสับเซตของช่วงในข้ อใดต่อไปนี
1. (–, –9)  (3, ) 2. (–, –7)  (4, )
3. (0, ) 4. (–, 1)
5. (–9, 5)
ตอบ 2.
แนวคิด
x 2  2x 16  x
 log 9 4    22 log (log 2) 
2 3

x 2  2x 16  x  log a x n  n log a x
 log 3 (2 ) 
2
2
 2 log 2 (log 3 2)2
 log
1
xlog a x
2
x  2x an n
2  16  x
 log 3 2 
2 
  ( log 3 2)2  log x
a a x
x 2  2x 2(16  x)
 log 3 2    log 3 2  0a 1
x 2  2x  2(16  x) log a B  log a C  B  C

x 2  4x  32  0
(x  8)(x  4)  0

ค่าของ
(x  8)(x  4)
 8  4 
ดังนัน A  (, 8)  (4, )
พิจารณาตัวเลือกจะพบว่า
ตัวเลือกที 2.
A

8 7 4

ซึงจะพบว่า A  (, 8)  (4, )  (, 7)  (4, ) 


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |49
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
28. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a 59 เป็ นลําดับของจํานวนจริง โดยที
a 2  a 1  a 3  a 2  ...  a i 1  a i  ...  a 59  a 58
ให้ b 1  a 1 และ b n  b n 1  a n 1 สําหรับ n = 2, 3, 4, ..., 60
พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(ก) b 4  3a 1  a 4
(ข) b 1  b 2  b 3  5a 1  a 2
(ค) b 60  a 1  59a 30
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ถูก แต่ ข้ อ (ค) ผิด 2. ข้ อ (ก) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ข) ผิด
3. ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูก แต่ ข้ อ (ก) ผิด 4. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ถูกทังสามข้ อ
5. ข้ อ (ก) ข้ อ (ข) และ ข้ อ (ค) ผิดทังสามข้ อ
ตอบ 4.
แนวคิด
เนืองจากกําหนด a 2  a 1  a 3  a 2  ...  a i 1  a i  a 59  a 58
แสดงว่าลําดับมีผลต่างร่วม ทําให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a 59 เป็ นลําดับเลขคณิต
ดังนัน a n  a 1  (n  1)d เมือ d เป็ นผลต่างร่วมของลําดับ

โดยให้ b1  a 1 และ b n  b n 1  a n 1 สําหรับ n = 2, 3, 4, ..., 60


จะได้ b 2  b1  a 1  a 1  a 1
b 3  b2  a 2  a 1  a 1  a 2
b4  b3  a 3  a1  a1  a 2  a 3


n 1
ดังนัน b n  b n 1  a n 1  a 1  a 1  a 2  a 3  ...  a n 1  a 1   a i
i 1
พิจารณาข้ อความ
(ก) b 4  a 1  a 1  a 2  a 3  a 1  a 1  (a 1  d)  (a 4  d)  3a 1  a 4 (ก) ถูก 
(ข) b1  b2  b 3  a 1  (a 1  a 1)  (a 1  a 1  a 2 )  5a 1  a 2 (ข) ถูก 
(ค) b 60  a 1  (a 1  a 2  ...  a 58  a 59 )

 a 1   (a 30  29d)  (a 30  28d)  ...  (a 30  28d)  (a 30  29 d) 


 a 1  (a 30  a 30  ...  a 30  a 30 )
 a 1  59a 30 (ค) ถูก 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |50
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
29. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์ตา่ งกัน 3 เล่ม หนังสือวิชาภาษาไทยต่างกัน 2 เล่ม
และหนังสือภาษาอังกฤษเหมือนกัน 5 เล่ม ถ้ าต้ องการจัดเรียงหนังสือ 5 เล่มวางบนชัน
โดยมีหนังสือ แต่ละวิชาอย่างน้ อย 1 เล่ม และมีจํานวนหนังสือวิชาคณิตศาสตร์และหนังสือวิชา
ภาษาไทยรวมกันอย่างมาก 3 เล่ม จํานวนวิธีจดั เรียงหนังสือ 5 เล่มดังกล่าวเท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 360 วิธี 2. 390 วิธี 3. 660 วิธี
4. 680 วิธี 5. 740 วิธี
ตอบ 3. (660 วิธี)
แนวคิด
จากเงือนไขทีกําหนด จึงแยกคิดได้เป็ น 3 กรณี ดังนี
กรณีที 1 ใน 5 เล่มบนชันมี คณิตศาสตร์ 1 เล่ม ภาษาไทย 1 เล่ม อังกฤษ 3 เล่ม
จํานวนวิธีเลือกคณิตศาสตร์ 1 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 3 เล่ม = 3 C1 วิธี
จํานวนวิธีเลือกภาษาไทย 1 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 2 เล่ม = 2 C1 วิธี
จํานวนวิธีเลือกอังกฤษ 3 เล่มจากทีมีเหมือนกัน 5 เล่ม = 1 วิธี
5!
จํานวนวิธีในการเรียงสับเปลียนหนังสือ 5 เล่มบนชัน = วิธี
3!
5!
ดังนัน จํานวนวิธีเท่ากับ  120 วิธี
 3C 1  2C 1  1 
3!
กรณีที 2 ใน 5 เล่มบนชันมี คณิตศาสตร์ 1 เล่ม ภาษาไทย 2 เล่ม อังกฤษ 2 เล่ม
จํานวนวิธีเลือกคณิตศาสตร์ 1 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 3 เล่ม = 3 C1 วิธี
จํานวนวิธีเลือกภาษาไทย 2 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 2 เล่ม = 2 C2 วิธี
จํานวนวิธีเลือกอังกฤษ 2 เล่มจากทีมีเหมือนกัน 5 เล่ม = 1 วิธี
5!
จํานวนวิธีในการเรียงสับเปลียนหนังสือ 5 เล่มบนชัน = วิธี
2!
5!
ดังนัน จํานวนวิธีเท่ากับ  180 วิธี
 3C 1  2C 2  1 
2!
กรณีที 3 ใน 5 เล่มบนชันมี คณิตศาสตร์ 2 เล่ม ภาษาไทย 1 เล่ม อังกฤษ 2 เล่ม
จํานวนวิธีเลือกคณิตศาสตร์ 2 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 3 เล่ม = 3 C2 วิธี
จํานวนวิธีเลือกภาษาไทย 1 เล่มจากทีมีแตกต่างกัน 2 เล่ม = 2 C1 วิธี
จํานวนวิธีเลือกอังกฤษ 2 เล่มจากทีมีเหมือนกัน 5 เล่ม = 1 วิธี
5!
จํานวนวิธีในการเรียงสับเปลียนหนังสือ 5 เล่มบนชัน = วิธี
2!
5!
ดังนัน จํานวนวิธีเท่ากับ  3C 2  2C 1  1   360 วิธี
2!
ดังนัน จํานวนวิธีจดั เรียงหนังสือ 5 เล่มดังกล่าว = 120 + 180 + 360 = 660 วิธี 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |51
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
30. ให้ A เป็ นเซตของจํานวนจริง x ทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ

2 log 1  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0 
4
ถ้ า a เป็ นจํานวนเต็มในเซต A ทีมีคา่ มากทีสุด แล้ วค่าของ (a  1)2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
1. 1 2. 4
3. 9 4. 16
4. 25
ตอบ 3.
แนวคิด
หาเซต A 
2 log 1  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0 
4

2 log
2 2  4x  24   log 2  8  4x  x 2   0
2
2

log 2  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0 

 log 2  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0 
log 2  8  4x  x 2   log 2  4x  24 

8  4x  x 2  4x  24
x 2  8x  16  0
(x  4)2  0
x+4  0
x  –4
ตรวจสอบ
แทน x  –4 ในสมการ 
2 log 1  4x  24   log 2 8  4x  x 2  0 
4
พบว่า 2 log 1  16  24   log 2  8  16  16   2 log
2 2
8  log 2 8
4
2
 log 2 8  log 2 8
2
  log 2 8  log 2 8

0
ดังนัน –4 เป็ นคําตอบของสมการ นันคือ A = {–4}
และจะได้ สมาชิกทีมากทีสุดของ A คือ –4 นันคือ a = –4
ทําให้ (a  1)2  (4  1)2  9 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |52
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
ตอนที 2 แบบอัตนัย ระบายคําตอบทีเป็ นตัวเลข จํานวน 15 ข้ อ(ข้ อ 31 – 45) ข้ อละ 8 คะแนน

31. ให้ Sแทนคอมพลีเมนต์ของเซต S และ


n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
กําหนดให้ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ โดยที n(U )  70
ถ้ า A, B และ C เป็ นสับเซตของ U โดยที A  B  C   และ
n(A  B)  25 , n(B  C)  18 , n(C  A)  16 และ n((A  B)  C)  7
แล้ ว n(A  B  C) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 4
แนวคิด
กําหนด A, B และ C เป็ นสับเซตของ U เป็ นแผนภาพเวนน์ออยเลอร์ดงั นี

A B
a b c
x
d f
e
g C
U

จาก n(A B)  25 จะได้ a + d = 25


n(B  C)  18 จะได้ b  c  18
n(C  A )  16  n(C  A)  16 จะได้ e + f = 16
n((A  B)  C)  7 n(A   B  C)  7 จะได้ g=7
และ n(U )  70
จะได้ a  b  c  d  e  f  g  x  70
ดังนัน (a  d)  (b  c)  (e  f)  g  x  70
25  18  16  7  x  70
x4

ดังนัน n(A  B  C)  4 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |53
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
  
32. ให้ เวกเตอร์ v  a i  b j  ck เมือ a, b และ c เป็ นจํานวนจริง
    
และให้ เวกเตอร์ u  i  k และ w  2 i  j  2k
ถ้ าเวกเตอร์ v มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ u  w และขนาดของเวกเตอร์ v เท่ากับ 6 2 หน่วย
แล้ วค่าของ a – b + c เท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
แนวคิด
โจทย์ต้องการหา
เวกเตอร์ v มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ u  w และขนาดของเวกเตอร์ v เท่ากับ 6 2 หน่วย
ซึงจะหาได้ จาก ผลคูณของ 6 2 กับ เวกเตอร์หนึงของเวกเตอร์ u  w

      
จาก เวกเตอร์ u  i  k และ w  2 i  j  2k จะได้
  
i j k
 
u  w  1 0 1
2 1 2
     
 (0 i  2 j k)  ( i  2 j  0 k)
  
 i  4 j k

    
และ u  w   i  4 j  k  12  (4)2  12  18  3 2

 
  uw
จะได้ เวกเตอร์หนึงหน่วยทิศทางเดียวกับ uw =  
u  w
  
i  4 j k
=
3 2

โดย เวกเตอร์ 
v มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ u  w และขนาดของเวกเตอร์ v เท่ากับ 6 2 หน่วย
  u  w 
จะได้ v = 6 2    

 u  w
  
 i  4 j k 
= 6 2  
 3 2 
  
= 2 i  8 j 2 k

  
โดยกําหนด v  a i  b j  ck
แสดงว่า a = 2 , b = –8 , c = 2
ดังนัน a – b + c = 2 – (–8) + 2 = 12 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |54
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
 n2  a 21
33. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ  
n 1 3 n 1 2
แล้ วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
ตอบ 4
แนวคิด
 n2  a 21
จาก  
n 1 3 n 1 2
12  a 22  a 32  a 42  a 21
จะได้ 11

2 1

3 1

4 1
 ... 
3 3 3 3 2
4a 9a 16  a 21
(1  a)     ...  ...(1)
3 32 33 2

1 1a 4a 9a 16  a 21 1


(1)  ;     ...   ...(2)
3 3 32 33 34 2 3
3 5 7 9 21 21 1
(1) – (2); (1  a)      ...   
3 32 33 34 2 2 3
3 5 7 9
(1  a)      ... 7 ...(3)
3 32 33 34

1 1a 3 5 7 9 7
(3)  ;      ...  ...(4)
2 3 4
3 3 3 3 3 35 3
2a 2 2 2 2 7
(3) – (4); (1  a)       ... 7
2 3 4
3 3 3 3 35 3
2a  5 2  1 1 1  14
 1   2   ...  
3 3 
2 3 3 3 3  3
2a  5 2  1  14
   
3 3  1  1 
2 3
 
3
2a  5 2  3 
 14
   
3 2
3 2 3
2a  5 1 14
 
3 3 3
2a  6 14

3 3
2a + 6 = 14
a = 4
จะได้ a=4 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |55
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
 n2  a 21
33. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ   แล้ วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
n 1 3 n 1 2
33. ตอบ 4
 n2  a 21  n2  1 21
แนวคิด 2  n 1
   n 1
a
n 1

n 1 3 2 n 1 3 n 1 3 2
 n2 1 21
  a( )
n 1 1 2
n 1 3 1
3
 n2 3a 21
   ...(1)
n 1 2 2
n 1 3
 n2
ให้ S  
n 1
n 1 3
1  n2
S 
3 n
n 1 3
1  n2  n2
S S   
3 n 1 n
n 1 3 n 1 3

2  12  n2   (n  1)2   n2  (n  1)2 
  1   2n  1

S       1     
3  3 0 n 2 3 n 1  n 2 3 n 1  n 2 3 n 1 n 2 3 n 1  n 2 3
n 1

2  2n  1
S 1 
3 n 1
n 2 3
2 1  2n  1
S  
9 3 n 2 3 n
2 2   2n  1   1  2n  1 
S  S  1       
3 9 n 1   3 n
 n 2 3 n 2 3 
4  3  2n  1   1  2n  3  5   2n  1  2n  3  5  2
S  1   
              
9  3 n  3 3 n 1   3 n  3 3 n 1  3  n  3 3 n 1 n  3 3 n 1  3 n  3 3 n 1
4 5  2
S  
9 3 n  3 3 n 1
4 5 2  1 
S    
9 3 9  1 
 1  
3
4
S2
9
9
S
2

9 3a 21
แทน S ใน (1) จะได้    a=4 
2 2 2
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |56
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
 n2  a 21
33. ถ้ า a เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับ   แล้ วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
n 1 3 n 1 2
ตอบ 4
 n2  a 21  n2  1 21
แนวคิด 3  n 1
   n 1
a
n 1

n 1 3 2 n 1 3 n 1 3 2
 n2 1 21
  a( )
n 1 1 2
n 1 3 1
3
 n2 3a 21
   ...(1)
n 1 2 2
n 1 3
 n2
ต่อไปจะหา  n 1
n 1 3
เนืองจากสําหรับ x  R และ |x| < 1 จะได้
1
1  x  x 2  x 3  x 4  ...  ...(2)
1x
อนุพนั ธ์ (2) ทังสองข้ างเทียบกับ x
1
0  1  2x  3x 2  4x 3  ... 
(1  x)2
1
1  2x  3x 2  4x 3  ...  ... (3)
(1  x)2
คูณ x ตลอดสมการ (3)
x
x  2x 2  3x 3  4x 4  ...  ... (4)
(1  x)2
อนุพนั ธ์ (4) ทังสองข้ างเทียบกับ x
1 x
1  2 2 x  3 2 x 2  4 2 x 3  ...  ...(5)
3
(1  x)
คูณ x ตลอดสมการ (5)
x  x2
x  2 2 x 2  3 2 x 3  4 2 x 4  ...  ...(6)
(1  x) 3
 x  x2
นันคือ  n 2x n 
n 1 (1  x) 3
 1 1 
2 1 n
  ( )3  9
 n 1   1
ดังนัน  n 1
 
3
 n 2    3  3 3  ...(7)
n 1 3 n 1 3  (1  1 )3  2
 3 
9 3a 21
แทน (7) ใน (1) จะได้    a=4 
2 2 2
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |57
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
34. ให้ A เป็ นเซตของจํานวนจริง x  (0,2) ทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ
o
cos2x  sin x  tan 225

ถ้ า  เป็ นผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต A

แล้ วค่าของ cos   cos เท่ากับเท่าใด
3
ตอบ 1.5
แนวคิด
o
จากสมการ cos2x  sin x  tan 225
o o
จะได้ cos 2x  sin x  tan(180  45 )

cos 2x  sin x  1
2
1  2 sin x  sin x  1
2
2 sin x  sin x  0
(2 sin x  1)sin x  0
1
sin x  , sin x  0
2
 5
x , x
6 6

ดังนัน A  6 , 56 ,  
 5
ผลบวกของสมาชิกใน A เท่ากับ     2
6 6
โดย  เป็ นผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต A ดังนัน   2
 2 1
จะได้ cos   cos  cos 2  cos  1  ( )  1.5 
3 3 2
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |58
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
35. กําหนดให้ f(x)  x  1  x  2 เมือ 3  x  3
3
ค่าของ  f(x) dx เท่ากับเท่าใด
3
ตอบ 23

แนวคิด เนืองจาก x  1  (x  1)


x 1
, x 1
, x 1

 (x  2) , x  2
และ x  2 
 x  2 , x  2

ช่วงทีต้ องการอินทิกรัลจํากัดเขต

3 2 1 3

3 2 1 3
 f(x) dx   f(x) dx   f(x) dx   f(x) dx
3 3 2 1

2 1 3
  x  1x  2 dx   x  1x  2 dx   x  1x  2 dx
3 2 1

2 1 3
  (x  1)  (x  2) dx   (x  1)  (x  2) dx   (x  1)  (x  2) dx
3 2 1

2 1 3
  2x  1 dx   3 dx   2x  1 dx
3 2 1

 2 2  2  3
 x 1  2x
  2  x    3x     x 
 2 3 2  2 2

  (4  2)  (9  3)    3  (6)    (9  3)  (4  2) 

 23 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |59
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
2 2 2
36. ค่าของ 13 sin(2 arctan )  4 tan (arccos ) เท่ากับเท่าใด
3 3
ตอบ 17
แนวคิด
2 2
กําหนดให้ A  arctan จะได้ tan A =
3 3 13
2 2
sin A 
13
3
3
cos A 
13

2 2
B  arccos จะได้ cos B =
3
3 3 5
5
tan B 
2 2
จะได้
2 2 2 2
13 sin(2 arctan )  4 tan (arccos ) = 13 sin(2A)  4 tan B
3 3
= 13  2 sin A cos A   4 tan 2 B

2
 2 3   5
= 13  2     4 
 13 13   2 

=  12   5
13    4 
 13   4
= 17 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |60
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
37. ให้ A แทนเซตของจํานวนจริงทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการ
3x  5  4x  3  2x  3  5x  1
และให้ B   x x  A 
2

ผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด

ตอบ 4
แนวคิด
(จะหาเซต A)
จากสมการ 3x  5  4x  3  2x  3  5x  1
ยกกําลังสองทังสองข้ าง;
(3x  5)  2 3x  5 4x  3  (4x  3)  (2x  3)  2 2x  3 5x  1  (5x  1)
7x  2  2 3x  5 4x  3  7x  2  2 2x  3 5x  1
2 (3x  5)(4x  3)  2 (2x  3)(5x  1)
ยกกําลังสองทังสองข้ าง;
(3x  5)(4x  3)  (2x  3)(5x  1)
2 2
12x  11x  15  10x  13x  3
2
2x  2x  12  0
2(x  3)(x 2)  0
x  3, 2
ตรวจสอบคําตอบ
แทนค่า x = –3, 2 ใน 3x  5  4x  3  2x  3  5x  1
ถ้ า x = –3
จะพบว่ามี 3x  5  3  (3)  5  14 ไม่นิยามใน 
ถ้ า x = 2
จะพบว่า 3x  5 + 4x  3 = 1 1 2
2x  3 + 5x  1 = 1 1 2
สมการเป็ นจริง

ดังนัน A = {2}

ทําให้ B = { 2 2 } = {4}
 ผลบวกของสมาชิกในเซต B เท่ากับ 4 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |61
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
38. จากการสํารวจคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ( x i ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (y i ) ของ
นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 จํานวน 8 คน พบว่า มีความสัมพันธ์เป็ นสมการ
y i  10  2.5x i เมือ i = 1, 2, 3,..., 8
ถ้ านักเรียนทัง 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ คะแนนเรียงลําดับจากน้ อยไปมากดังนี
25 , 32 , 48 , 50 , a , a + 3 , a + 4 , a + 6 คะแนน ตามลําดับ
เมือ a เป็ นจํานวนเต็มบวกและมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ชดุ นีเท่ากับ 51 คะแนน แล้ ว
ผลบวกของค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบ
วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 174.5
แนวคิด
โดยนักเรียนทัง 8 คนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ คะแนนเรียงลําดับจากน้ อยไปมากดังนี
25 , 32 , 48 , 50 , a , a + 3 , a + 4 , a + 6
และมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ชดุ นีเท่ากับ 51 คะแนน
81
ตําแหน่งของมัธยฐาน   4.5
2
50  a 50  a
จะได้ มัธยฐาน   51 
2 2
 102  50  a
 a  52
แทนค่า a = 52
คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ( x i ) คือ 25 , 32 , 48 , 50 , 52 , 55 , 56 , 58
25  32  48  50  52  55  56  58
ทําให้ คา่ เฉลียเลขคณิตของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ =
8
= 47 คะแนน

จากคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ( x i ) และคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ (y i ) ของ


มีความสัมพันธ์เป็ นสมการ y i  10  2.5x i เมือ i = 1, 2, 3,..., 8
ทําให้ คา่ เฉลียเลขคณิตของคะแนนวิชาภาษาอังกฤษ
= 10 + 2.5 (ค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ )
= 10 + 2.5  4.7
= 127.5 คะแนน
ดังนัน ผลบวกของค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และค่าเฉลียเลขคณิตของคะแนนสอบ
วิชาภาษาอังกฤษ เท่ากับ 47 + 127.5 = 174.5 คะแนน 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |62
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
39. กําหนดข้ อมูล 2 ชุด คือ ข้ อมูล (x) และ ข้ อมูล (y) ดังนี
x x1 x2 x3 x4 x5
y y1 y2 y3 y4 y5

โดยที 1  x i  25 สําหรับ i = 1, 2, 3, 4, 5
5 2 5 5 5
 x i  175 ,  x i y i  1575 ,  (x i  y i )  275 ,  (20x i  y i )  250
i1 i1 i1 i1
และ ข้ อมูลทังสองชุดมีความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั แบบเส้นตรงคือ y = mx + c
เมือ m, c เป็ นจํานวนจริง
ถ้ า x = 4 แล้ วค่าประมาณของ y จะเท่ากับเท่าใด
ตอบ 43.5
แนวคิด
5 5 5
จาก  (x i  y i )  275   x i   y i  275 ...(1)
i 1 i 1 i 1
5 5 5
 (20x i  y i )  250  20  x i   y i  250 ...(2)
i 1 i 1 i 1
5 5
(1) + (2) ; 21  x i  525   x i  25 ...(3)
i 1 i 1
5 5
จาก (1) และ (3) 25   y i  275   y i  250
i 1 i 1
5 5 5 5
ตอนนีเราได้ แล้ วว่า  x 2i  175 ,  x i y i  1575 ,  x i  25 และ  y i  250
i 1 i 1 i 1 i 1
เนืองจาก ข้ อมูลทังสองชุดมีความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั แบบเส้ นตรงคือ y = mx + c
5 5 5
จะได้ สมการปกติ  y i  m xi   c  250 = 25m + 5c
i 1 i 1 i 1
50 = 5m + c ...(4)
5 5 5
และ  x iy i  m  x 2i  c  x i  1575 = 175m + 25c
i 1 i 1 i 1
63 = 7m + c ...(5)
(5) – (4) จะได้ 13 = 2m  m = 6.5
แทน m = 6.5 ใน (4) จะได้ 50 = 5  6.5 + c  c = 17.5
แทน m = 6.5 และ c = 17.5 ในสมการ y = mx + c
จะได้ สมการทํานายคือ y = 6.5x + 17.5
ดังนันถ้ า x = 4 จะได้ y = (6.5  4) + 17.5 = 43.5 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |63
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
40. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้ องหนึง คะแนนสอบมีคา่ เฉลียเลขคณิตและส่วนเบียงเบน
มาตรฐานเท่ากับ a และ b คะแนน ตามลําดับ นาย ก. และนาย ข. เป็ นนักเรียนในห้ องนี
นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตร์ครังนีได้ คะแนน 68 คะแนน คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5
ถ้ าครูผ้ สู อนวิชานี ปรับคะแนนใหม่ โดยเพิมคะแนนของนักเรียนทุกคนเป็ นสองเท่าของคะแนนเดิม
คะแนนใหม่ของนาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ของนาย ก. อยู่ 6 คะแนน และคะแนนใหม่ของนาย ข.
คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.9 แล้ วค่าของ a + b เท่ากับเท่าใด
ตอบ 64.25
แนวคิด
x
โดยทีค่ามาตรฐาน(z) 

เมือ  ,  แทนค่าเฉลียเลขคณิต และส่วนเบียงเบนมาตรฐานตามลําดับ
(คะแนนเดิมทีนักเรี ยนในห้ องสอบได้ )
จาก คะแนนสอบมีคา่ เฉลียเลขคณิต = a คะแนน
และ คะแนนสอบมีสว่ นเบียงเบนมาตรฐาน = b คะแนน
นาย ก. สอบวิชาคณิตศาสตร์ครังนีได้ คะแนน 68 คะแนน คิดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5
68  a
จะได้ 1.5   1.5b  68  a ...(1)
b

(คะแนนทีปรั บใหม่ )
เมือปรับคะแนนใหม่เป็ นสองเท่าของคะแนนเดิม
จะได้ คะแนนสอบใหม่มีคา่ เฉลียเลขคณิต = 2a คะแนน
คะแนนสอบใหม่มีสว่ นเบียงเบนมาตรฐาน = 2b คะแนน
คะแนน นาย ก. จะได้ 2  68 = 136 คะแนน
คะแนนใหม่ของนาย ข. มากกว่าคะแนนใหม่ของนาย ก. อยู่ 6 คะแนน
แสดงว่า ข. ได้ คะแนน 136 + 6 = 142 คะแนน โดยคะแนนนีคิดเป็ นค่ามาตรฐาน 1.9
142  2a
ดังนัน 1.9   1.9  2b  142  2a
2b
 1.9b  71  a ...(2)

3
(2) – (1); 0.4b = 3  b  7.5
0.4
แทนค่า b = 7.5 ใน (2) จะได้ 1.9  7.5 = 71 – a  a = 56.75
ดังนัน a + b = 64.25 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |64
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
41. กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a n , ... เป็ นลําดับเลขคณิตของจํานวนจริง
2k
ให้ uk   a n สําหรับ k = 1, 2, 3, ...
nk
60
ถ้ า u 5  147 และ u 8  342 แล้ วค่าของ  a n เท่ากับเท่าใด
n1
ตอบ 5,610
แนวคิด กําหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , ... , a n , ... เป็ นลําดับเลขคณิตของจํานวนจริง
2k
สมมติให้ uk   a n สําหรับ k = 1, 2, 3, ...
nk
10
จะได้ u 5   a n  a 5  a 6  a 7  ...  a 10
n 5
16
และ u 8   a n  a 8  a 9  a 10  ...  a 16
n8
โดยที u 5  147 และ u 8  342
ดังนัน a 5  a 6  a 7  ...  a 10  147 ...(1)
และ a 8  a 9  a 10  ...  a 16  342 ...(2)
จาก (2) จะเปลียนค่า a 8 , a 9, a 10 ,..., a 16 เป็ นค่าของ a 12 จะได้ เป็ น
(a 12  4d)  (a 12  3d)  ...  a 12  ...  (a 12  3d)  (a 12  4d)  342
a 12  a 12  ...  a 12  ...  a 12  a 12  342

9a 12  342
a 12  38
จาก (1) จะเปลียนค่า a 5, a 6, a 7 ,..., a 10 เป็ นค่าของ a 12  38 จะได้ เป็ น
(a 12  7d)  (a 12  6d)  (a 12  5d)  (a 12  4 d)  (a 12  3 d)  (a 12  2d)  147
6a 12  (7  6  5  4  3  2)d  147

6  38  27d  147
d3
จาก a 12  38 , d  3 จะได้ a 1  a 12  11d  38  (11  3)  5
60
ดังนัน  a n  a 1  a 2  a 3  ...  a 60
n 1
60
  2a 1  (60  1)d 
2
 30(2  5  59  3)
 5, 610 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |65
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
x 2x
2 2 5
42. ค่าของ lim
x
เท่ากับเท่าใด
x 2 
1x
2 2 2

ตอบ 12
แนวคิด
x
เนืองจาก lim 2  4
x 2
x
แทน y = 2
และเมือ x เข้ าใกล้ 2 จะได้ วา่ y เข้ าใกล้ 4

x 2x x 2 x
2 2 5 2  2 2 5
lim  lim
x 2 x x 2 1

2 2 2
1x
2 
x 2  22
x

1
y  4y 5
 lim
y4 1
1 2 1
(y )  2y
1
y(y  4y  5)
 lim
y4  1 
 1 2 1 
y (y )  2y 
2
y  4  5y
 lim
y4 1
y2 2
2
y  5y  4
 lim
y4 y 2
2
y  5y  4 y 2
 lim 
y4 y 2 y 2
(y  1)(y  4)( y  2)
 lim
y4 2
y2
 lim (y  1)( y  2)
y4

 (4  1)( 4  2)

 12 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |66
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
43. กําหนดให้ f เป็ นฟั งก์ชนั ซึงมีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจํานวนจริง
โดยที f (x)  ax2  bx เมือ a และ b เป็ นจํานวนจริง
2
และสอดคล้ องกับ f (1)  3f (1) และ  f(x) dx  18
1
ถ้ าเส้ นตรง 6x – y + 4 = 0 ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ ง y = f(x) ที x = 1
แล้ วค่าของ f(2) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 30
แนวคิด
จาก f (x)  ax2  bx จะได้ f (x)  2ax  b
โดยเส้ นตรง 6x – y + 4 = 0 ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ ง y = f(x) ที x = 1
ดังนัน f (1) = ความชันของเส้ นสัมผัสเส้ นโค้ง y = f(x) ที x = 1
f (1) = ความชันของเส้ นตรง 6x – y + 4 = 0 (เพราะขนานกับเส้ นสัมผัส)
f (1) = 6

จาก f (1)  3f (1) และ เราได้ แล้ วว่า f (1) = 6 จะได้ f (1)  3  6  18

(ตอนนีเรามี f (x)  ax2  bx , f (x)  2ax  b , f (1)  18 และ f (1) = 6 )

โดย f (1) = 6 จะได้ a(12 )  b(1)  6  a+b=6 ...(1)


และ f (1)  18 จะได้ 2a(1) + b = 18  2a + b = 18 ...(2)
แก้ ระบบสมการ (1) และ (2) จะได้ a = 12 และ b = –6
แทนค่า a = 12 และ b = –6 ใน f (x)  ax2  bx
จะได้ f (x)  12x 2  6x

12x3 6x2
และ f(x)   (12x2  6x) dx    c  4x3  3x2  c
3 2
2 2
โดยที  f(x) dx  18 จะได้ 3 2
 (4x  3x  c ) dx  18
1 1
 4x 4 3x 3 2

 
 4  3  cx   18
1

 24  23  2c   14  13  c   18
c = 10
แทน c = 10 ใน f(x)  4x 3  3x2  c

จะได้ f(x)  4x 3  3x2  10 ดังนัน f(2)  4(23 )  3(22 )  10  30 


รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |67
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
44. ให้ f เป็ นฟั งก์ชนั ซึงมีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจํานวนจริง
โดยที 2f(x)  f(x 1 )  x  x 1 เมือ x  0
3 a
ถ้ า f( )  เมือ a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวก โดยที ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1
4 b
แล้ วค่าของ a + b เท่ากับเท่าใด
ตอบ 37
แนวคิด
จาก 2f(x)  f(x 1 )  x  x 1

แทน x ด้ วย x1 จะได้ 2f(x 1)  f((x 1 )1)  x 1  (x 1 )1

2f(x 1 )  f(x)  x 1  x

ตอนนีเรามี 2f(x)  f(x 1 )  x  x 1 ...(1)

และ 2f(x 1 )  f(x)  x 1  x ...(2)

(ต่อไปจะแก้ ระบบสมการ (1) และ (2) หา f(x))

(1)  2 ; 4f(x)  2f(x 1 )  2x  2x 1 ...(3)


(3) + (2) ; 3f(x)  3x  3x 1

f(x)  x  x 1

1
ดังนัน f(x)  x 
x
3 3 1 3 4 25
f( )      โดยทีห.ร.ม. ของ 25 และ 12 เท่ากับ 1
4 4 3 4 3 12
4
ดังนันจาก f( 3 )  a
4 b
แสดงว่า a = 25 และ b = 12
ดังนัน a + b = 37 
รหัสวิชา 71 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ หน้า |68
วันเสาร์ ที 29 ตุลาคม 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น.
45. กําหนดให้ x0 และ y  0
2x  3y 3x  2y 5
1   1   1 
ถ้ า 
   ( 2  1) 12
และ    
 2 1  2 1   2 1 
แล้ ว 2x + 5y มีคา่ มากทีสุดเท่ากับเท่าใด
ตอบ 20
1 2 1 1
แนวคิด เพราะว่า   2 1 > 1 ดังนัน 1
2 1 2 1 2 1
2x  3y
จากอสมการ 

1 
  ( 2  1)12   2  1 2x  3y  ( 2  1)12
 2 1
 2x + 3y  12 [ ฐานมากกว่า 1 ]
3x 2y 5
 1   1 
จากอสมการ      3x – 2y  5 [ ฐานน้ อยกว่า 1 ]
 2 1   2 1 
ตอนนีเรามีระบบอสมการคือ
2x + 3y  12
3x – 2y  5
x, y  0
ต้ องการหาค่า มากทีสุดของ 2x + 5y (จะแก้ ปัญหานีด้ วยกําหนดการเชิงเส้ น ดังนี)
สมการ จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y 12 3
2x + 3y = 12 (6, 0) (0, 4) 5 2 24  15
x  3
2 3 4  9
5 5
3x – 2y = 5 ( ,0 ) (0,  ) 3 2
3 2
2(3) + 3y = 12  y = 2

จุดตัดระหว่างสมการ 2x + 3y = 12 และ 3x – 2y = 5 คือ (3, 2)


y

ดังนันเซตทีเป็ นไปได้ (feasible set) คือบริเวณแรเงา


(0, 4) 
โดยมีจดุ มุมได้ แก่ (0,0), (0, 4), (3, 2), ( 5 , 0)
3

จุดมุม(x, y) 2x + 5y
 (3,2) (0, 0) 0

0 x (0,4) 20
 
(6, 0) (3,2) 16
5
5 ( , 0)
(0,  )  3 5 10
2 ( ,0)
3 3
จากตารางจะพบว่าสมการจุดประสงค์ 7x – 5y มีคา่ มากทีสุดเท่ากับ 20 ทีจุด (0, 4) 

You might also like