You are on page 1of 84

ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 5 ฟังก์ชัน


บทที่ 5 ฟั ง ก์ ช ัน
5.1 ความสั มพันธ์
5.1.1 ผลคูณคาร์ ทเี ชี ยล
บทนิยาม ผลคูณคาร์ทีเชียลของเซต A และเซต B คือเซตของคู่อนั ดับ (x , y) ทั้งหมด
โดยที่ x เป็ นสมาชิกของเซต A และ y เป็ นสมาชิกของเซต B
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A x B อ่านว่า เอ คูณ บี
และเขียนในรู ปเงื่อนไขได้เป็ น A x B = (x , y)  x A และ y B
ตัวอย่าง ให้ A =  2 , 5  , B =  1 , 7 , 8  จงหา A x B
วิธีทา ผลของ A x B คือเซตของคู่อนั ดับซึ่ งตัวหน้าของแต่ละคู่อนั ดับมาจากเซต A และตัว
หลังของแต่ละคู่อนั ดับอยูใ่ นเซต B ดังรู ป
A B
2 1
5 7
8

จากรู ปจะได้วา่ A x B = { (2 , 1) , (2 , 7) , (2 , 8) , (5 , 1) , (5 , 7) , (5 , 8) }
ฝึ กทา ให้ A =  1 , 3  , B =  0 , 7 , 8  , C =  
จงหา A x B , B x A , A x C , B x C , A x A , C x C
วิธีทา

1
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับผลคูณคาร์ ทีเชี ยล
กาหนด A , B , C , D เป็ นเซตจากัดใด ๆ จะได้วา่
1) A x B =  ก็ต่อเมื่อ A =  หรื อ B = 
2) A x B = B x A ก็ต่อเมื่อ A = B หรื อ A =  หรื อ B = 
3) n(A x B) = n(A)  n(B)
เมื่อ n(A x B) คือจานวนสมาชิกของ A x B
n(A) คือจานวนสมาชิกของ A
n(B) คือจานวนสมาชิกของ B
4) A x (B  C) = (A x B)  (A x C)
5) A x (B  C) = (A x B)  (A x C)
6) A x (B  C) = (A x B)  (A x C)
ระวังมากๆ อย่ าสั บสน
1) A  (B x C)  (A  B) x (A  C)
2) A  (B x C)  (A  B) x (A  C)
1. ให้ A = {1} , 2  , B = {0} , C = R จงหาจานวนสมาชิกของ AxB , AxC , AxA , BxB
1. 2 ,  , 4 , 1 2. 1 ,  , 2 , 2
3. 2 , 0 , 4 , 1 4. 1 , 0 , 2 , 2

2. กาหนดให้ A = { 1 , 2 } , B = { 2 , 3 } และ C = { 3 , 4 } จงหาจานวนสมาชิกของ


(AxB)(AxC)
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

2
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
3. จงหาจานวนสมาชิกของ (A x B)  (A x C) เมื่อกาหนดให้
A =  1 , 2 , 3 , ... , 25  , B =  15 , 16 , 17 , ... , 100  , C =  1 , 2 , 3 , ... , 50 
1. 100 2. 200 3. 400 4. 900

5.1.2 ความสั มพันธ์


บทนิยาม r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็ นสับเซตของ A x B
นัน่ คือ r  A x B
ดังนั้น จานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B = จานวนสับเซตของ A x B
= 2[ n(A) x n(B) ]
4. กาหนดให้ A =  3 , 5 , 7  , B =  10 , 11  ความสัมพันธ์จาก A ไป B มีท้ งั หมดกี่แบบ
1. 6 2. 26 3. 62 4. 22

5. กาหนดให้ A =  2 , 3 , 4  ความสัมพันธ์ใน A มีกี่แบบ


1. 9 2. 29 3. 92 4. 99

3
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
6(แนว En) ถ้าเซต A มีสมาชิก 5 ตัวแล้ว จานวนทั้งหมดของความสัมพันธ์จาก A x A ไป A
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 225 2. 2125 3. 252 4. 1252

7. กาหนดให้ A = 1 , 3 , 5  , B = 5 , 10 , 15 , 20  แล้ว
r = (x , y)  A x B  y = 2x  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (5 , 10)  2.   3. (3 , 6) 4. (4 , 8) , (6 , 12)

8. กาหนดให้ A = 1 , 3 , 5  , B = 5 , 10 , 15 , 20  แล้ว
r = (x , y)  A x B  y = (x + 2)2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (5 , 5)  2.   3. (3 , 5) 4. (4 , 3) , (6 , 5)

4
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
9. ให้ A = 1 , 3 , 5  แล้ว r = (x , y)  A x A  y = 14 – 3x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (5 , 5)  2.   3. (3 , 5) 4. (4 , 3) , (6 , 5)

10. กาหนดให้ A = 1 , 3 , 5  , C = 4 , 6 , 8 , 10  แล้ว


r = (x , y)  C x A  y = x – 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (5 , 5)  2.   3. (3 , 5) 4. (4 , 3) , (6 , 5)

11. กาหนดให้ B = 5 , 10 , 15 , 20  , C = 4 , 6 , 8 , 10  แล้ว


r = (x , y)  B x C  y > x  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (10 , 20)  2.  
3.  (5,6) , (5,8) , (5,10) , (10,10) 4. (4 , 3) , (6 , 5)

5
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
12. กาหนดให้ A = 1 , 2 , 3 , 4 , 5 แล้ว r = (x , y)  A x A  x > 2 และ y = 3 
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (3 , 3) , (4 , 3) , (5 , 3) 2. (3 , 3) , (4 , 4) , (5 , 5)
3. (3 , 3)  4. (4 , 3) , (5 , 3)

5.1.3 โดเมนและเรนจ์ ของความสั มพันธ์


บทนิยาม ให้ r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B
โดเมนของ r คือเซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อนั ดับใน r เขียนแทนด้วย Dr
เรนจ์ ของ r คือเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อนั ดับใน r เขียนแทนด้วย Rr
การหาโดเมนและเรนจ์ ของความสั มพันธ์
กรณีที่ 1. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบแจกแจงสมาชิก
การหาโดเมน ให้นาเฉพาะสมาชิกตัวหน้าของแต่ละคู่อนั ดับมาเขียนเป็ นเซตแล้วตอบ
การหาเรนจ์ ให้นาเฉพาะสมาชิกตัวหลังของแต่ละคู่อนั ดับมาเขียนเป็ นเซตแล้วตอบ
กรณีที่ 2. เมื่อโจทย์กาหนดกราฟของความสั มพันธ์ มาให้
โดเมน คือช่วงซึ่ งเกิดจากเงาของกราฟบนแกน X
เรนจ์ คือช่วงซึ่ งเกิดจากเงาของกราฟบนแกน Y
กรณีที่ 3. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งสามารถแจกแจงสมาชิกได้
ให้แจกแจงสมาชิกของความสัมพันธ์ แล้วจึงหาโดเมนและเรนจ์เช่นเดียวกับกรณี ที่ 1.
กรณีที่ 4. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งแจกแจงสมาชิกไม่ ได้
ขั้นที่ 1 การหาโดเมน ควรจัดสมการในรู ป y = เทอมของ x เช่น y = 2x + 6
การหาเรนจ์ ควรจัดสมการให้อยูใ่ นรู ป x = เทอมของ y เช่น x = y 2 6
6
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
ขั้นที่ 2 ใช้หลักการพิจารณาว่า
โดเมน คือค่า x ที่ทาให้ y เป็ นจริ ง หรื อค่า x ที่ทาให้หาค่า y ได้
เรนจ์ คือค่า y ที่ทาให้ x เป็ นจริ ง หรื อค่า y ที่ทาให้หาค่า x ได้
การพิจารณาค่ าโดเมนและเรนจ์ ในเบือ้ งต้ นควรคานึงไว้เสมอว่า
1) ถ้าความสัมพันธ์อยูใ่ นรู ปเศษส่ วน จะได้วา่ ตัวส่ วนต้องไม่เท่ากับ 0
เช่น y = x 1 2 จะได้วา่ x + 2  0
2) ถ้าความสัมพันธ์อยูใ่ นรู ป y =  x  จะได้วา่ xR และ  x   0
3) ถ้าความสัมพันธ์อยูใ่ นรู ป y = x2 จะได้วา่ xR และ x2  0
4) ถ้าความสัมพันธ์อยูใ่ นรู ป y = x จะได้วา่ x  0 และ x  0
13. จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = { (1 , 2) , (3 ,4 ) , ( 5 , 6 ) , ( 7 , 8 ) }
1. Dr = {1, 2, 3, 4} , Rr = {1, 2, 3, 4} 2. Dr = {1, 2, 3, 4} , Rr = {2, 3, 4, 5}
3. Dr = {1, 3, 5, 7} , Rr = {2, 4, 6, 8} 4. Dr = {1, 3, 5, 7} , Rr = {2, 3, 4, 5}

14. จากกราฟของความสัมพันธ์ดงั รู ป โดเมนและ


Y
เรนจ์ของความสัมพันธ์คือข้อใดต่อไปนี้ +1
1. Dr = [–1 ,1] , Rr = [– 2 ,]
– 2 + 2
2. Dr = [– 2 , 2 ] , Rr = [–1 , 1] (0, 0) X
3. Dr = [0 ,1] , Rr = [ 0 , 2 ]
–1
4. Dr = [ 0 , 2 ] , Rr = [0 , 1]

7
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
15. ให้ A = –1 , 0 , 1 , 2  , B = 6 , 7 , 8 , 9  และ r = (x , y) A x B  y = 9 – x 
จงหา Dr และ Rr
1. Dr = { 0 , 1 , 2 } , Rr = {7 , 8 , 9 } 2. Dr = { –1 , 0 , 1 } , Rr = {7 , 8 , 9}
3. Dr = {–1 , 0 , 1 , 2 } , Rr = {6 ,7 , 8 , 9 } 4. Dr = { –1 , 0 , 1 } , Rr = {8 , 9 , 10}

16(แนว มช) กาหนดให้ S = –2 , –1 , 0 , 1 , 2  และ R เป็ นเซตของจานวนจริ ง


กาหนดให้ r = (x , y)  S x R  y = 1x  โดเมนของ r คือ………
1. { 0 , 1 , 2 } 2. { 1 , 2 } 3. {–2 , –1 , 0 } 4. {–2 , –1 }

17. กาหนดให้ r = (x , y)  y = (x – 2)2 แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = [ 2 ,  )
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 2 ,  ) , Rr = R

8
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
18. กาหนดให้ r = (x , y)  y = x2 – 2 แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = [ –2 ,  )
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ –2 ,  ) , Rr = R

19. กาหนดให้ r = (x , y)  y – 5 =  2x – 6   แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = (3 ,  ) , Rr = [ 5 ,  ) 2. Dr = (3 ,  ) , Rr = (– , 5 ]
3. Dr = R , Rr = [ 5 ,  ) 4. Dr = R , Rr = (– , 5 ]

20. กาหนดให้ r = (x , y)  y = 4 –  x – 3   แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = (3 ,  ) , Rr = [ 4 ,  ) 2. Dr = (3 ,  ) , Rr = (– , 4 ]
3. Dr = R , Rr = [ 4 ,  ) 4. Dr = R , Rr = (– , 4 ]

9
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
21. กาหนดให้ r = (x , y)  y = 2x + 1  แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Dr = [ –2 ,  ) , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = [ –2 ,  ) , Rr = [ –2 ,  )
3. Dr = [– 21 ,  ) , Rr = [ 0 ,  ) 4. Dr = [– 21 ,  ) , Rr = [ –2 ,  )

22. กาหนดให้ r = (x , y)  y – 2 = 100  x  แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = (– , 0 ) , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = (– , 100 ] , Rr = [ 0 ,  )
3. Dr = (– , 0 ) , Rr = [ 2 ,  ) 4. Dr = (– , 100 ] , Rr = [ 2 ,  )

23. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 2xx +11  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr =x  x  1 , Rr =y  y  0 2. Dr =x  x  1 , Rr =y  y  1
3. Dr =x  x  1 , Rr =y  y  2 4. Dr =x  x  1 , Rr =y  y  12 

10
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
24. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  x – xy + 2y + 1 = 0  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr =x  x  2 , Rr =y  y  1 2. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  1
3. Dr =x  x  2 , Rr =y  y  2 4. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  2

25. กาหนดให้ความสัม พันธ์ r = {(x,y)  y = 2x} แล้วโดเมนและเรนจ์ของความสัม -


พันธ์ r คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = R , Rr = R 2. Dr = R , Rr = [ 0 ,  )
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  )

26. กาหนดให้ r = (x , y)  y = x2 + 8x – 3  แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = [ 0 ,  )
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ –19 ,  ) 4. Dr = R , Rr = [ –19 ,  )

11
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
27. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1  2x + 3  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = R – {–3} , Rr = ( 0 ,  )
2. Dr = R – {–3} , Rr = (– , 0)  [2 , )
3. Dr = R – {–2 , –4} , Rr = ( 0 ,  )
4. Dr = R – {–2 , –4} , Rr = (– , 0)  [2 , )

28. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  2  x  +  y  = 6  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = [–3 , 3] , Rr = [ –6 , 6 ] 2. Dr= (–, –3]  [3 , ) , Rr= [ –6 , 6 ]
3. Dr = [–3 , 3] , Rr = [ 0 , 6 ) 4. Dr= (–, –3]  [3 , ) , Rr= [ 0 , 6)

29. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x 2  25  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ –5 , 5 ]
2. Dr = [–, –5]  [5 , ) , Rr = [ –5 , 5 ]
3. Dr = R , Rr = [ 5 , )
4. Dr = (–, –5]  [5 , ) , Rr = [ 5 , )

12
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน

30(แนว En) กาหนด r = { (x , y)  R x R  y = x 2  24 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้


9x
ก. โดเมนของ r คือ (– , –3 )  (3 , ) ข. เรนจ์ของ r คือ (– , –1 )  (– 94 , )
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

31(แนว En) ให้ r = { (x , y)  R x R  x2y – 2x2 + 3y + 7 = 0 } แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. Dr = R – 3 , Rr = [ – 73 , 2 ) 2. Dr = R – 3 , Rr = (– 73 , 2 ]
3. Dr = R , Rr = [– 73 , 2 ) 4. Dr = R , Rr = (– 73 , 2 )

5.2 ตัวผกผันของความสัมพันธ์
บทนิยาม ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r คือความสัมพันธ์ซ่ ึ งเกิดจากการสลับที่ของ
สมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังในแต่ละคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ r
ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย r–1
ฝึ กทา จงหาตัวผกผันของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. r = { (3 , 2) , (3 , 4) , (3 , 5) , (3 , 6) } 2. r = { (x , y)  y  2x – 3 }
3. r = { (x , y) | y = x2 + 1 } 4. r = { (x , y)  y = x  3 }

13
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
32(แนว En) ให้ r = (x , y)  R x R  x = y2 – 6y + 10  ข้อความใดต่อไปนี้เป็ นจริ ง
1. Dr 1 = R และ R 1 = [0 , )
r
2. D 1 = [0 , ) และ R =R
r r 1
3. D 1 =R และ R = [1 , )
r r 1
4. D 1 = [1 , ) และ R =R
r r 1

5.3 ฟังก์ชัน
6.3.1 ความหมายของฟังก์ชัน
บทนิยาม ฟังก์ชนั คือความสัมพันธ์ซ่ ึ งสาหรับคู่อนั ดับสองคู่ใดๆ ของความสัมพันธ์น้ นั
ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน
วิธีการตรวจสอบว่า ความสั มพันธ์ ใดจะเป็ นฟังก์ชันหรือไม่
กรณีที่ 1. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบแจกแจงสมาชิก
ขั้นที่ 1 หากความสัมพันธ์มีสมาชิกซ้ ากันหลายตัว ให้ตดั สมาชิกที่ซ้ ากันทิ้งไปแล้ว
เหลือไว้ตวั เดียว
ขั้นที่ 2 ให้พิจารณาโดเมนของสมาชิกแต่ละตัว
หากโดเมนของสมาชิกแต่ละตัวไม่ซ้ ากัน ความสัมพันธ์น้ นั เป็ นฟังก์ชนั
หากสมาชิกมีโดเมนซ้ ากัน ความสัมพันธ์น้ นั ไม่เป็ นฟังก์ชนั
กรณีที่ 2. เมื่อโจทย์กาหนดกราฟของความสั มพันธ์ มาให้
ให้ลากเส้นตรงขนานแกน Y ไปตัดเส้นกราฟของความสัมพันธ์น้ นั
หากเส้นขนานแกน Y ตัดเส้นกราฟจุดเดียวเสมอ ความสัมพันธ์น้ นั เป็ นฟังก์ชนั
หากเส้นขนานแกน Y ตัดเส้นกราฟหลายจุด ความสัมพันธ์น้ นั ไม่เป็ นฟังก์ชนั
14
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
กรณีที่ 3. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งสามารถแจกแจงสมาชิกได้
ให้ทาการแจกแจงสมาชิกให้เห็นจริ ง แล้วตรวจสอบเหมือนกรณี ที่ 1
กรณีที่ 4. เมื่อโจทย์กาหนดความสั มพันธ์ เป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งแจกแจงสมาชิกไม่ ได้
ให้ใช้นิยามของฟังก์ชนั ที่วา่
ถ้า ( x , y) f และ ( x , z)f หาก y = z ความสัมพันธ์น้ นั จะเป็ นฟังก์ชนั่
วิธีทาโดยละเอียดให้ศึกษาจากตัวอย่างต่อๆ ไป
33. ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นฟังก์ชนั
ก. f =  (2 ,6) , (3 , 6) , (4 , 6)  ข. h =  (2 , 3) , (3 , 4) , (3 , 5) 
ค. gof =  (4 , 2) , (3 , 2) , (4 , 2)  ง. f–1 =  (2 , 2) , (2 , 2) , (3 , 6) 
จ. g + h =  (3 , 6) , (4 , 6) , (3 , 6) 
1. ก. เท่านั้น 2. ก. และ ค. 3. ก. , ค. และ ง. 4. ก. , ค. , ง. และ จ.

34. ความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นฟังก์ชนั


1. y 2. y

x x

3. 4. y
y

x
x

15
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
35. ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
ก. { (x , y)  B x By = x – 2 } ; B = { –2 , –1 , 0 , 1 , 2 }
ข. { (x , y)  A x By < x } ; A = { 0 , 1 } , B = { –1 , 1 }
1. ก. เป็ น และ ข. เป็ น 2. ก. เป็ น และ ข. ไม่เป็ น
3. ก. ไม่เป็ น และ ข. เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น และ ข. ไม่เป็ น

36. ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่


ก. r =  (x , y)  R x R 4y = x + 1 
ข. r =  (x , y)  R x R  x  –  y  = 1 
ค. f =  (x , y)  y2 =  x  + 6 
1. ก. เป็ น , ข. เป็ น และ ค. เป็ น 2. ก. เป็ น , ข. เป็ น และ ค. ไม่เป็ น
3. ก. เป็ น , ข. ไม่เป็ น และ ค. เป็ น 4. ก. เป็ น , ข. ไม่เป็ น และ ค. ไม่เป็ น

ฝึ กทา. จงบอกว่าความสัมพันธ์ใดเป็ นฟังก์ชนั


1. f =  (x , y)  y2 = x2 + 6
2. g =  (x , y)   y  = x + 3 
3. g =  (x , y)   x  +  y  = 1 
4. g =  (x , y)   x  –  y  = 1 

16
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
5. r =  (x , y)  y > 2x + 6
6. g =  (x , y)  cos y = x 
7. f =  (x , y)  3y3 + y2 + 2 y – 5 = x 
8. g o h =  (x , y)  x = 3 
9. g =  (x , y)  y5 =  x2 + 3  
10. h o h =  (x , y)  y = –2 
11. g o h =  (x , y)  y = x 
12. g o h =  (x , y)  y = x 
5.3.2 ฟังก์ ชันทีค่ วรรู้ จัก
5.3.2.1 ฟังก์ชันจาก A ไป B (function from A into B)
บทนิยาม f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็ นฟังก์ชนั ที่มี A เป็ นโดเมน
และมีเรนจ์เป็ นสับเซตของ B
f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A  B
ตัวอย่าง A B
1 a
2 b
3 c
b

f = { (1, a) , (2, b) , (3, b) }


โปรดสั งเกตุ
1. ฟังก์ชนั จาก A ไป B นั้น สมาชิกของ A จะถูกใช้จบั คู่หมดทุกตัว ส่ วนสมาชิก
ของ B จะถูกใช้หมดหรื อไม่ก็ได้
2. จานวน f : AB = n(B) n(A)
5.3.2.2 ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B (function from A onto B)
บทนิยาม f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B ก็ต่อเมื่อ f เป็ นฟังก์ชนั ที่มี A เป็ น
โดเมนและ B เป็ นเรนจ์
17
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B เขียนแทนด้วย f : A  B
ทัว่ ถึ ง
ตัวอย่าง A B
1 k
2 m
3

f = { (1, k) , (2, m) , (3, m) }


โปรดสั งเกตุ ฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B นั้น สมาชิกของ A จะถูกใช้จบั คู่หมดทุกตัว
และสมาชิกของ B จะถูกใช้หมดทุกตัวเช่นกัน
5.3.2.3 ฟังก์ชันหนึ่งต่ อหนึ่ง (one–to–one function)
บทนิยาม f เป็ นฟังชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็ นฟังก์ชนั จาก A
ไป B สาหรับ x1 , x2 ใด ๆ ใน A ถ้า y1 = y2 แล้ว x1= x2
f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A 1 1 B
ตัวอย่าง A B
1 a
2 b
3 c
b

f = { (1, a) , (2, b) , (3, c) }


โปรดสั งเกตุ
1. ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B นั้น สมาชิกของ A จะถูกใช้จบั คู่หมดทุกตัว
ส่ วนสมาชิกของ B จะถูกใช้หมดหรื อไม่ก็ได้ และการจับคู่จะเป็ นแบบตัวต่อตัว
2. จานวน f : A 1 1
 B = Pn(B) , n(A)

หมายเหตุ หาก f เป็ นฟังก์ชนั่ หนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทัว่ ถึง B ( one-to-one correspondence)


เขียนแทนด้วย f : A 1 1
 B
ทัว่ ถึง

18
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
ตัวอย่าง A B
1 a
2 b
3 c

f = { (1, a) , (2, b) , (3, c) }


37. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 7 , 8 , 9  ฟังก์ชนั่ จาก A ไป B คือ
1.  (1 , 7) , (2 , 9) , (3 , 7)  2.  (1 , 2) , (2 , 3) , (2 , 1) 
3.  (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9)  4.  (1 , 2) , (2 , 3) , (3 , 4) 

38. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 7 , 8 , 9  ฟังก์ชนั่ จาก B ไป A คือ


1.  (1 , 7) , (2 , 9) , (3 , 7)  2.  (7 , 2) , (8 , 3) , (7 , 1) 
3.  (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9)  4.  (7 , 2) , (8 , 3) , (9 , 3) 

39. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 7 , 8 , 9  ฟังก์ชนั่ จาก A ไป A คือ


1.  (1 , 7) , (2 , 9) , (3 , 7)  2.  (1 , 2) , (2 , 3) , (2 , 1) 
3.  (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9)  4.  (1 , 2) , (2 , 3) , (3 , 2) 

19
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
40. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 7 , 8 , 9  ฟังก์ชนั่ จาก A ไปทัว่ ถึง B คือ
1.  (1 , 7) , (2 , 9) , (3 , 7)  2.  (1 , 9) , (2 , 8) , (3 , 7) 
3.  (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9)  4.  (7 , 2) , (8 , 3) , (9 , 3) 

41. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 7 , 8 , 9  ฟังก์ชนั่ จาก B ไปทัว่ ถึง A คือ


1.  (1 , 7) , (2 , 9) , (3 , 7)  2.  (1 , 9) , (2 , 8) , (3 , 7) 
3.  (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9)  4.  (7 , 3) , (8 , 2) , (9 , 1) 

42. โดเมนและเรนจ์ให้ A = 1 , 2 ,3  , B = 2 , 3 , 4  ฟังก์ชนั่ 1–1 จาก A ไป B คือ


1.  (1 , 3) , (2 , 4) , (3 , 3)  2.  (2 , 2) , (3 , 3) , (4 , 1) 
3.  (1 , 1) , (2 , 2) , (3 , 3)  4.  (1 , 2) , (2 , 3) , (3 , 4) 

20
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
วิธีการตรวจสอบว่ าฟังก์ชันใดจะเป็ นฟังก์ชันหนึ่งต่ อหนึ่งหรือไม่
ก่ อนตรวจสอบว่าความเป็ นฟั งก์ชันหนึ่ งต่อหนึ่ ง ต้องตรวจสอบก่ อนว่าความสั มพันธ์
นั้นๆ เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่ก่อนเสมอแล้วจึงทาการตรวจสอบความเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งดังนี้
กรณีที่ 1. เมื่อโจทย์กาหนดฟังก์ชันเป็ นแบบแจกแจงสมาชิ ก
ให้ดูเรนจ์ (สมาชิกตัวหลัง ) ของคู่สมาชิกแต่ละตัว
หากเรนจ์แต่ละตัวมีค่าไม่ซ้ ากัน จะเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
หากเรนจ์มีค่าซ้ ากัน จะไม่เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
กรณีที่ 2. เมื่อโจทย์กาหนดกราฟของฟังก์ชันมาให้
ให้ลากเส้นตรงขนานแกน X ไปตัดเส้นกราฟของฟังก์ชนั นั้น
หากเส้นขนานแกน X ตัดเส้นกราฟจุดเดียวเสมอ จะเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
หากเส้นขนานแกน X ตัดเส้นกราฟหลายจุด จะไม่เป็ นฟั งก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
กรณีที่ 3. เมื่อโจทย์กาหนดฟังก์ชันเป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งสามารถแจกแจงสมาชิกได้
ให้ทาการแจกแจงสมาชิกให้เห็นจริ ง แล้วตรวจสอบเหมือนกรณี ที่ 1
กรณีที่ 4. เมื่อโจทย์กาหนดฟังก์ชันเป็ นแบบเงื่อนไขซึ่งแจกแจงสมาชิกไม่ ได้
ให้ใช้นิยามของฟังก์ชนั 1 – 1 ที่วา่ " ถ้า (x , y)  f และ (z , y)  f ถ้าตรวจสอบ
ได้วา่ x = z จะแสดงว่าฟังก์ชนั นั้นเป็ นฟังก์ชนั่ 1 – 1 ทันที ”
วิธีทาโดยละเอียดให้ศึกษาจากตัวอย่างต่อๆ ไป
43. ฟังก์ชนั ในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
1. f1 = { (1 , 2) , (3 , 4) , (5 , 6) , (7 , 4) }
2. f2 = { (5 , 7) , (1 , 3) , (4 , 6) , (2 , 7) }
3. f3 = { (3 , 5) , (1 , 4) , (2 , 8) , (6 , 3) }
4. f4 = { (2 , 4) , (5 , 3) , (7 , 4) , (1, 5) }

21
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
44. ความสัมพันธ์ซ่ ึ งมีกราฟดังต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
1. y 2. y

x x

3. 4.
y y

x x

45. จากฟังก์ชนั ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั 1 – 1


ก. r = { (x , y) A x B y < x } ; A = { 0 , 1 } , B = {–1 , 1 }
ข. f = { (x , y)R x R y =  x  + 1 }
ค. f = { (x , y)R x R y = x2 + 2x + 1 }
ง. f = { (x , y)R x R y = 3x – 1 }
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

46. ฟังก์ชนั ในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง


1. f =  (x , y)  y = x2  2. g =  (x , y)  y = x – 1+ 2 
3. h =  (x , y)  y = 2x x 3 
1
4. h =  (x , y)  y = x 2  1 

22
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
47(แนว Pat) กาหนดให้ A = { 1 , 2 , 3 , 4 } , B = { a , b} ฟังก์ชนั จาก A ไป B มี
จานวนทั้งหมดกี่ฟังก์ชนั

48(แนว En) กาหนดให้ A = {1 , 2 , 3 } และ B = {a , b}


และให้ S = { f  f : A  B เป็ นฟังก์ชนั ทัว่ ถึง }
จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22 2. 25 3. 27 4. 30

49(แนว Pat) กาหนดให้ A = { 1 , 2 } , B = { a , b , c , d } ฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ งจาก A


ไป B มีจานวนทั้งหมดกี่ฟังก์ชนั

23
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
5.3.2.4 ฟังก์ชันเพิม่ และฟังก์ ชันลด
บทนิยาม ให้ f เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ งมีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริ ง
และ A เป็ นสับเซตของโดเมน
1. f เป็ นฟังก์ชนั เพิ่ม (increasing function) ใน A ก็ต่อเมื่อสาหรับ x1 และ x2 ใดๆ
ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว y1 < 2
2. f เป็ นฟังก์ชนั ลด (decreasing function) ใน A ก็ต่อเมื่อสาหรับ x1 และ x2 ใดๆ
ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว y1 > y2
Y Y

y2 f y2
y1 y1
f
0 x1 x2 X 0 x1 x2 X
(ก) ฟังก์ชนั เพิ่ม (ข) ฟังก์ชนั ลด
50. จงพิจารณาว่า ฟังก์ชนั ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มหรื อลด
ก) f = { (x , y)R x R y = 3x – 2 } ข) g = { (x , y)R x R y = – x3 + 1 }
1. ก. เพิ่ม ข. ลด 2. ก. เพิ่ม ข. เพิ่ม
3. ก. ลด ข. เพิ่ม 4. ก. ลด ข. ลด

5.3.3 ข้ อตกลงเกีย่ วกับสั ญลักษณ์


พิจารณาความสัมพันธ์ อันเป็ นฟังก์ชนั่ ต่อไปนี้
f = { (x , y) y = x2 + 2x – 6 }
เราอาจเขียนเป็ น f (x) = x2 + 2x – 6 โดยที่ f (x) = y
และเรี ยก f (x) ว่าเป็ น ค่าของฟังก์ชนั่ f ที่ x อ่านว่าเอฟที่เอ็กซ์ หรื อ เอฟเอ็กซ์
24
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
ฝึ กทา จงเขียนความสัมพันธ์อนั เป็ นฟังก์ชนั่ ต่อไปนี้ ให้อยูใ่ นรู ปที่เอ็กซ์
1. f = { (x , y)  y = 2x – 6 }
2. g = { (x , y)  y = x 2  1 }
3. h–1 = { (x , y)  y = 2x – 6 }
4. gof = { (x , y)  y = 3x + 6 }

ฝึ กทา จงเปลี่ยนเป็ นรู ปของความสัมพันธ์


1. f (x) = 3x + 3
2. f (x) =  x 
3. f (x) = x2 + 6
4. (g o f) (x) = 3x2 + 2x + 6
5. (f o g) (x) = 3x2 – 7x
6. f –1(x) = 4x

51. กาหนดให้ f (x) = x2 –3x + 8 ให้หาค่าของ f (0) , f (1) , f (a)


1. 8 , 6 , a2 – 8 2. 6 , 8 , – 3a
3. 8 , 6 , a2 – 3a + 8 4. 6 , 8 , a2 – 3a + 8

25
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
52. จากสมการที่กาหนด จงหา f (2) , f (7) , f (0) , f (4)
 4x  1 เมื่ อ x<3

f(x) =  8 เมื่ อ  3 x 0

 3x

 5 เมื่ อ x>0
1. 1 , –27 , 8 , 15 2. –27 , 1 , 0 , 15
3. 1 , –27 , 8 , –15 4. –27 , 1 , 0 , –15

53(แนว Pat) กาหนดให้ f (x) = x2 + x + 1 และ a , b เป็ นค่าคงตัวโดยที่ b  0


ถ้า f (a + b) = f (a – b) แล้ว  2a  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.5 2. 0.5 3. –1 4. 1

54. กาหนดให้ f (3x – 1) = 2x2 + 3x ค่าของ f (5) ตรงกับข้อใด


1. 65 2. 35 3. 27 4. 14

26
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
55. กาหนดให้ f (x + 3) = 2x – 1 ค่าของ f (1) ตรงกับข้อใด
1. –5 2. 5 3. –1 4. 1

56. กาหนดให้ f (2x + 1) = 2x – 1 ค่าของ f (1) ตรงกับข้อใด


1. –5 2. 5 3. –1 4. 1

57. กาหนดให้ f (2x + 1) = 2x – 1 ค่าของ f (x) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. x – 2 2. 2 x 3. x + 2 4. – 2 x

58. กาหนดให้ f (x + 1) = x2 + 3 ค่าของ f (x) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. x2 – 2 x + 3 2. x2 – 2 x + 4 3. x2 – x + 3 4. x2 – x + 4

27
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
59(แนว En) กาหนดให้ f (x) = x2 + x + 1 จงหา g (x) ที่ทาให้ f (x) = g (x – 1)
1. g(x) = x2 + 3x + 3 2. g(x) = x2 + x – 1
3. g(x) = x2 – x + 1 4. g(x) = x2 – 3x + 3

60. กาหนดให้ f (x – 1) = 2x + 3 ค่าของ f (x + 2) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 x + 3 2. – 2 x + 3 3. 2 x + 9 4. x + 9

61. กาหนดให้ f (3x + 3) = 3x + 5 ค่าของ f (x) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. x – 3 2. 2 x – 3 3. 2 x – 1 4. x + 2

28
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
62. กาหนดให้ f =  (1 , a) , (3 , b) , (5 , c)  แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. f (1) = a , Df = 1 , Rf = a 2. f (3) = b , Df = 3 , Rf = b
3. f (5) = c , Df = 5 , Rf = c 4. f (1) + f (3) + f (5) = 9

3


 5  x 
63(แนว มช) โดเมนของ f (x) = x  
คือข้อใดต่อไปนี้
x 3
1. ( 3 , 5 ) 2. (3 , 5 ] 3. [ 3 , 5 ) 4. [3 , 5 ]

5.3.4 ฟังก์ชันผกผัน
ตัวผกผันของฟังก์ชนั f คือความสัมพันธ์ซ่ ึ งเกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัวหน้าและ
สมาชิกตัวหลังในแต่ละคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ f ถ้าตัวผกผันนั้นเป็ นฟังก์ชนั จะเรี ยกว่า
ฟังก์ชนั ผกผัน
ทฤษฏีบท ให้ f เป็ นฟังก์ชนั
f จะมีฟังก์ชนั ผกผันก็ต่อเมื่อ f เป็ นฟังก์ชนั 1 – 1
ฝึ กทา ถ้า f = (1 , r) , (2 , s) , (3 , r) , (4 , t)  จงหา f –1 , D 1 , R 1 และ
f f
f –1 เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่

29
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
64. กาหนดให้ f = (1 , a) , (3 , b) , (5 , c)  แล้ว f –1(a) + f –1(b) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 3 3. 4 4. 9

65. กาหนดให้ f (x) = 3x – 4 แล้ว f –1(x) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x +3 4 2. x3 + 4 3. x 3 4 4. x3 – 4

66. กาหนดให้ f (x) = 5x + 7 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = 3x – 1 2. f–1(x) = x 3 1
3. f–1(x) = 5x – 7 4. f–1(x) = x 5 7

67. กาหนดให้ f (x) = x 1 2 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = 1x + x 2. f–1(x) = 1x – x
3. f–1(x) = 1x + 2 4. f–1(x) = 1x – 2

30
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
68. กาหนดให้ f (x) = 3 – 4x5 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
5 5
1. f–1(x) = 3 4 x 2. f–1(x) = 3 4 x
3 3
–1 5 –1 5
3. f (x) = 4  x 4. f (x) = 4  x

69. กาหนดให้ f (x) = (4 – x3)5 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


5 5
1. f–1(x) = 3 4 x 2. f–1(x) = 3 4 x
3 3
–1 5 –1 5
3. f (x) = 4  x 4. f (x) = 4  x

70. กาหนดให้ f (x) = xx  23 แล้ว f –1(3) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 92 2. 92 3. – 112 4. 112

31
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
71. กาหนดให้ f (x) = 2x  1 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
1. f–1(x) = x 22 1 2. f–1(x) = x 22 1 และ x ≥ 0
3. f–1(x) = x22 1 4. f–1(x) = x22 1 และ x ≥ 0

72. กาหนดให้ f (x) = 1 + x  1 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = (x – 1)2 + 1 2. f–1(x) = (x – 1)2 + 1 และ x ≥ 1
3. f–1(x) = (x – 1)2 – 1 4. f–1(x) = (x – 1)2 – 1 และ x ≥ 1

73. กาหนดให้ f (x) = 6x  4 เมื่อ x  [0 , 10] แล้ว f –1 (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2 x 2  4 ; x  [ 0 , 10 ]
1. x  4 ; x  [ 2 , 8 ] 2.
6 6
3. 6 x2 – 4 ; x  [ 2 , 8 ] 4. 2
6 x – 4 ; x  [ 0 , 10 ]

32
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
74. สมมติ ว่า f เป็ นฟั งก์ชันหนึ่ งต่อหนึ่ ง และ f (3) = 10 , f (10) = 18 , f–1(4) = 3 แล้ว
ค่าของ f–1(10) + f–1(18) + f (3) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 31 2. 17 3. –17 4. –31

75. ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ ง f (x) = 5 + 2x แล้ว f –1(10) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. –2 3. 25 4. – 25

76. กาหนดให้ f (x + 3) = 8x – 4 แล้ว f –1(0) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0.5 2. –0.5 3. 3.5 4. –3.5

33
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
77(แนว มช) ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั่ ซึ่ ง f (x + 3) = 2x – 1 แล้ว f –1(3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. –2 3. 5 4. –5

78(แนว En) กาหนดให้ f ( 12 x + 1) = 12 x – 1 แล้ว f –1(2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

79. กาหนดให้ f (x – 1) = x2 – 5x + 7 แล้ว f –1(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 0 4. 1 , 2

34
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
80. กาหนดให้ f (x + 1 ) = x3 + 3x2 + 3x + 3 แล้ว f –1(–6) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –3 3. –2 4. –1

81. กาหนดให้ f (2x + 1) = 2x – 4 แล้ว f –1(x) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x 2+ 5 2. x2 + 5 3. x + 5 4. x – 5

82. กาหนดให้ f (6x + 2) = 3x – 7 แล้ว f –1(x) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x +3 5 2. x3 + 5 3. 3x + 5 4. 2x + 16

35
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
83. กาหนดให้ f (x) = 2x 4 –1
5x  3 แล้ว f (x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. f –1(x) = 5x3x24 2. f –1(x) = 5x3x24
3. f –1(x) = 3x 4
5x  2 4. f –1(x) = 3x 4
5x  2

84. กาหนดให้ f –1 (x) = x x 3 แล้ว f (x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. f (x) = x3 x 3 2. f (x) = x3x1
3. f (x) = x3 x 3 4. f (x) = x3x1

5.3.5 ฟังก์ชันประกอบ
บทนิยาม ให้ f และ g เป็ นฟังก์ชนั และ Rf  Dg  
ฟังก์ชนั ประกอบของ f และ g เขียนแทนด้วย gof คือฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนคือ
Dgof = {x  Df  f (x)  Dg}
และกาหนด gof โดย
(g o f) (x) = g [ f (x) ] สาหรับทุก x ใน Dgof
36
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
85. กาหนดให้ f =  (1 , 2) , (3 , 4) , (5 , 6)
g =  (2 ,10) , (4 , 20) , (6 , 30) 
แล้ว g o f คือข้อใดต่อไปนี้
1.  (1 , 2) , (3 , 4) , (5 , 6) 2.  (1 , 10) , (3 , 20) , (5 , 30)
3.  (2 , 1) , (4 , 3) , (6 , 5) 4.  (10 , 1) , (20 , 3) , (30 , 5)

ฝึ กทา. กาหนดให้ f = (1 , 7) , (2 , 8) , (3 , 9) , (7 , 1) , (8 , 2) , (9 , 3)


g = (1 ,1) , (2 , 2) , (3 , 3) , (7 , 7) , (8 , 8) , (9 , 9) 
จงหา g o f , f o g , g o g

86. กาหนดให้ f (x) = x + 6 ; g (x) = 2x –3 ค่าของ (g o f) (2) และ (f o g) (3) เท่ากับข้อ


ใดต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )
1. 11 , 9 2. 11 , 12 3. 13 , 9 4. 13 , 12

37
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
87. กาหนดให้ f (x) = x2 – 2 x  , g (x) = x 5 ค่าของ (g o f) (3) และ (f o g) (9)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )
1. 11 , 0 2. หาค่าไม่ได้ , 0 3. หาค่าไม่ได้ , 9 4. 11 , 9

2x 2  1 ; x  2

88. กาหนดให้ f (x) = 0 ; 2  x  4
x ; x 4

2x  1 ; x2
g (x) = 
2x  2 ; x 2
แล้ว (g o f) (2) + (g o g) (–3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –20 2. –16 3. 6 4. 12

38
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
89. กาหนดให้ f (x) = 3x
2x  2
 เมื่อ x  0
h (x) = 
2x  3
 เมื่อ x  0
g (x) = x2 + 1
จะได้วา่ f o ( h o g ) (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 6 4. 109

90. กาหนด f (x) = x และ g (x) = x2 แล้ว (g o f) (x) และ (f o g) (x) เท่ากับข้อใด
1. (g o f) = x , (f o g) (x) = | x | 2. (g o f) (x) =  x  , (f o g) (x) = x
3. (g o f) หาไม่ได้ , (f o g) (x) = x 4. (g o f) =  x  , (f o g) (x) หาไม่ได้

2 ค่ า x ที่ ท าให้ (f o g) (x) = (g o f) (x)


91(แนว En) ถ้ า f (x) = 4x และ g (x) = x1
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.2 2. 0.4 3. 1.0 4. 2.0

39
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
92(แนว มช) กาหนดให้ g = (x , y)  R x R  y = 2x + 5  และ
h = (x , y)  R x R  y = 4x – 3 
ค่าของ (h–1o g–1) ( 3 ) เท่ากับเท่าใด

3
93. กาหนดให้ f ( x ) = x + 4 และ g( x ) = x ค่าของ (g o f)–1(x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x3 – 4 2. x3 + 4 3. 3 x – 4 4. 3 x + 4

94. กาหนดให้ f (x) = x – 2 และ (g o f) (x) = x2 – 4x – 4 ค่าของ g (–1) เท่ากับข้อใด ต่อไปนี้

1. – 7 2. –3 3. 3 4. 7

40
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
95. กาหนดให้ f (x) = 2x + 1 และ (g o f) (x) = 2x + 4 ค่าของ g (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x – 3 2. x + 3 3. 2x – 4 4. 2x + 4

96. กาหนดให้ f (x) = x + 3 และ (g o f) (x) = 3x + 7 ค่าของ g (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3x – 2 2. 3x + 2 3. 3x – 7 4. 3x + 7

97. กาหนดให้ (g o f) (x) = x 2  1 และ g (x) = x แล้ว f(x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x3 + 2 2. x2 – 1 3. 2x – 3 4. x 2  1

41
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
98. กาหนดให้ (g o f) (x) = x3 + 2 และ g (x) = x + 2 จงหา f (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x3 + 2 2. x3 3. 2x – 3 4. x3 + 3

99. กาหนดให้ (g o f) (x) = 4x – 5 และ g (x) = 2x + 1 จงหา f (x)


1. x + 2 2. x 3. 2x – 3 4. x + 3

f o f –1( x ) = x
100. กาหนดให้ g–1(x) = 3x – 5 และ (f o g) (x) = x + 1 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. f (x) = 3x – 4 2. f–1(x) = 3x – 4
3. f (x) = x 3 5 4. f–1(x) = x 3 5

42
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
101(แนว En) ถ้า f (x) = x – 1 และ (g o f–1) (x) = 4x2 – 1 แล้วเซตคาตอบของสมการ g (x) = 0
คือข้อใดต่อไปนี้
1. { 2 , 3 } 2. { 12 , 23 } 3. { 0 , 1 } 4. { 12 , 25 }

102. กาหนดให้ (f–1 o g–1) (x) = 4x – 5 และ g (x) = 2x + 1 จงหา f (x)


1. x 
2
1 2. 2x + 3 3. x 
8
1 4. x + 8

ถ้า f และ g เป็ นฟังก์ชนั แบบ 1 – 1 และไปทัว่ ถึง ( g o f ) –1 = f –1o g –1

103. กาหนดให้ (f–1 o g)–1 (x) = 2x – 6 และ g (x) = x + 3 จงหา f–1(x)


1. x 
2
1 2. x 2 1 3. x 2 3 4. x 2 3

43
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
104. กาหนดให้ f (x) = x + 1 และ g (x) = x จงหา Dgof
1. R 2. [ 0 ,  ) 3. ( – , 0 ] 4. [ –1 ,  )

105. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x2 จงหา Dfog


1. R 2. [ 0 ,  ) 3. ( – , 0 ] 4. ( – , 0 )

106. กาหนดให้ f (x) = x  5 , g (x) = x2 จงหา Dgof และ g o f


1. [ 5 ,  ) , x – 5 2. [ 5 ,  ) , (x + 5)2
3. [ 0 ,  ) , x – 5 4. R , x – 5

44
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
107. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = x2 + 4x แล้วโดเมนของ f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , –4)  (4 , ) 4. (0 , )

108. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = x2 + 4x แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , –4)  (4 , ) 4. (0 , )

109. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = x2 + 4x แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , –4)  (4 , ) 4. (0 , )

45
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
110. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = x2 + 4x แล้วโดเมนของ g o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , –4)  (4 , ) 4. (0 , )

5.3.6 การดาเนินการของฟังก์ ชัน


บทนิยาม ให้ f และ g เป็ นฟังก์ชนั ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของ R
ผลบวก , ผลต่าง , ผลคูณ และผลหาร ของ f และ g เขียนแทนด้วย f+g , f – g ,
f.g และ gf ตามลาดับ เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ งกาหนดค่าโดย
(f + g) (x) = f (x) + g (x)
(f – g) (x) = f (x) – g (x)
(f . g) (x) = f (x) . g (x)
f (x)
gf (x) = g (x) เมื่อ g (x)  0
โดเมนของ f +g , f – g และ f . g คือ Df  Dg
สาหรับโดเมนของ gf คือ { x  x  Df  Dg และ g (x)  0 }
111. กาหนดให้ f = (1 , 9) , (2 , 4) , (3 , 8) , (4 , 7) , (5 , 6)
g = (1 , 3) , (3 , 2) , (7 , 6) , (5 , 0) 
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. f + g =  (1 , 12) , (3 , 10) , (5 , 6)  2. f – g =  (1 , 6) , (3 , 6) , (5 , 6) 
3. f  g =  (1 , 27) , (3 , 16) , (5 , 0)  4. gf =  (1 , 3) , (3 , 4) , (5 , 0) 

46
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
112. กาหนดให้ f =  (2 , 1) , (5 , 4) , (7 , 3) , (9 , 6) 
g =  (2 , 5) , (5 , 1) , (7 , 0) , (8 , 3) 
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Df+g =  2 , 5 , 7 , 8 , 9  2. D f– g = 9
3. D f  g =  2 , 5 , 7 , 8 , 9 4. D f = 2 , 5
g

113. กาหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง


1. (f + g) (9) = 84 2. (f – g) (–4) = 18
3. (f  g) (4) = 32 4.  gf  (16) = 64

3
114(แนว Pat) ถ้า f (x) = x และ g (x) = x2 แล้ว (f–1 + g–1) (2) มีค่าเท่าใด

47
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
115(แนว En) ถ้า f (x) = (3  x) (2  x) และ g (x) = 1 แล้วโดเมนของ f . g
x+3
คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1.  2. – , 2 3. –3 , 2 4. –3 , 2

116. กาหนด f (x) = x + 1 เมื่อ –4 < x  3


g (x) = x – 2 เมื่อ –2  x < 5
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. (f + g) (x) = 2x – 1 เมื่อ –6 < x < 8
2. (f – g) (x) = 3 เมื่อ –2 < x < 3
3. (f . g) (x) = x2 – x – 2 เมื่อ 8 < x < 15
4. ( gf )(x)  xx  12 เมื่อ { –2  x  3 } – { 2 }

48
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
117. กาหนดให้ f (x) = 9  x 2 และ g (x) = x 2  2 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. (f + g ) (x) = 9  x 2  x 2  2 ; Df + g = [–3 , – 2 ]  [ 2 , 3]
2. (f – g) (x) = 9  x 2  x 2  2 ; Df – g = [–3 , – 2 ]  [ 2 , 3]
3. (f . g) (x) = (9  x 2 )(x2  2) ; Df . g = [–3 , – 2 ]  [ 2 , 3]
2  2)
4. ( gf )(x) = (9  x)(x ; D f = [–3 , – 2 ]  [ 2 , 3]
x2  2
g



49
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
เฉลยบทที่ 5 ฟั ง ก์ ช ัน
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบ 14 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบ 14 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 2. 86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 2. 88. ตอบข้ อ 2.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 1. 92. ตอบ 0.5
93. ตอบข้ อ 1. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบข้ อ 1.
97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 2. 99. ตอบข้ อ 3. 100. ตอบข้ อ 1.

50
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 3. 103. ตอบข้ อ 4. 104. ตอบข้ อ 4.
105. ตอบข้ อ 1. 106. ตอบข้ อ 1. 107. ตอบข้ อ 3. 108. ตอบข้ อ 4.
109. ตอบข้ อ 4. 110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 4. 112. ตอบข้ อ 4.
113. ตอบข้ อ 2. 114. ตอบ 12 115. ตอบข้ อ 4. 116. ตอบข้ อ 4.
117. ตอบข้ อ 4.



51
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน

ตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 5 ฟั ง ก์ ช ัน


5.1 ความสั มพันธ์
5.1.1 ผลคูณคาร์ ทเี ชี ยล
1. กาหนดให้ A = {1 , 2} และ B = {3 , 6 , 7} แล้ว A  B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (1 , 1) , (2 , 2) }
2. { (3 , 3) , (6 , 6) , (7 , 4) }
3. { (1 , 3) , (1 , 6) , (1 , 7) , (2 , 3) , (2 , 6) , (2 , 7) }
4. { (3 , 1) , (6 , 1) , (7 , 1) , (3 , 2) , (6 , 2) , (7 , 2) }

2. กาหนดให้ A = {a , b , c} และ B = {e , f} แล้ว A  B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. { (a , a ) , (b , b) , (c , c) }
2. { (e , e ) , (f , f) }
3. { (e , a) , (f , a) , (e , b) , (f , b) , (e , c) , (f , c) }
4. { (a , e) , (a , f) , (b , e) , (b , f) , (c , e) , (c , f ) }

3. จงหา P x (Q  R) เมื่อ P = 0 , Q = 2 , 3 , 9 , R = a , b , c


1.  2. (0 , 0)
3. (0 , 2) , (0 , 3) , (0 , 9) 4. (0 , a) , (0 , b) , (0 , c)

4. ถ้า n เป็ นจานวนสมาชิ กของเซต A และ m เป็ นจานวนสมาชิ กของเซต B แล้วจานวน


สมาชิกของ A  B , B  A , A  A และ B  B ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. m n , n m , n2 , m2 2. m n , n m , m2 , n2
3. n2 , m n , n m , m2 4. n2 , m2 , m n , n m

5. กาหนดให้ M = {1, 2} , N = {2, 3} และ P = {4, 5} แล้ว (M  N)  (M  P) มี


จานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8
52
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
6. กาหนดให้ M = {1 , 2} , N = {2 , 3} และ P = {4 , 5} แล้ว (M  N)  (M  P) มี
จานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8

6.1.2 ความสั มพันธ์


7. ให้ A = 1 , 2 และ B = 6 จงหาความสัมพันธ์จาก A ไป B มีท้ งั หมดกี่แบบ
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8

8. กาหนดให้ A =  m , k  ความสัมพันธ์ใน A มีกี่แบบ


1. 4 2. 24 3. 22 4. 44

9(แนว En) ถ้าเซต A มีสมาชิก 3 ตัวแล้ว จานวนทั้งหมดของความสัมพันธ์จาก A x A ไป A


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 29 2. 227 3. 92 4. 272

10. กาหนดให้ A = 2 , 3 , 4 , 5 , B = 4 , 9 และ r = (x , y)  A x B  y = 2x 


แล้วจานวนสมาชิกของ r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

11. กาหนดให้ A = 2 , 3 , 4 , 5 , B = 4 , 9 และ r = (x , y)  A x B  y = x2 


แล้วจานวนสมาชิกของ r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

12. ให้ B = 5 , 10 , 15 , 20  , C = 4 , 6 , 8 , 10  และ


r = (x , y)  B x C  y = ( x 210 ) 
แล้วจานวนสมาชิกของ r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
53
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
13. กาหนดให้ A = 2 , 3 , 4 , 5 , B = 4 , 9 และ
r = (x , y)  A x B  x เป็ นจานวนคู่ที่นอ้ ยกว่า y 
แล้วจานวนสมาชิกของ r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

14. ก าหนดให้ A = {0 , 2 , 4} , B = {0 , 1 , 2} และ r เป็ นความสั มพัน ธ์ จาก A ไป B


ถ้า (x , y)  r เมื่อ x  y แล้ว r คือข้อใดต่อไปนี้
1. r = { (2 , 0 ) , (2 , 1 ) , (4 , 0 ) , (4 , 1 ) , (4 , 2 )}
2. r = { (0 , 2 ) , (1 , 2 ) , (0 , 4 ) , (1 , 4 ) , (2 , 4 )}
3. r = { (x , y)  x A , y  B และ x > y }
4. ข้อ 1. และ 3. ถูก

15. จานวนสมาชิกของความสัมพันธ์ r = (x , y)  I+ x I+  x2 + y2 = 25  เท่ากับข้อ


ใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

5.1.3 โดเมนและเรนจ์ ของความสั มพันธ์


16. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
{ (–3 , 9) , (–2 , 4) , (–1 , 1) , (0 , 0) , (1 , 1) , (2 , 4) , (3 , 9) } คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = { 0 , 1 , 4 , 9 } , Rr = { –3 , –2 , –1 , 0 , 1 , 2 , 3 }
2. Dr = { –3 , –2 , –1 , 0 , 1 , 2 , 3 } , Rr = { 0 , 1 , 4 , 9 }
3. Dr = { –3 , –2 , –1 , 0 , 1 , 2 , 3 } , Rr = { –3 , –2 , –1 , 0 , 1 , 2 , 3 }
4. Dr = { 0 , 1 , 4 , 9 } , Rr = { 0 , 1 , 4 , 9 }

17. ให้ r = (1 , –2) , (0 , 0) และให้ P(A) แทนเพาเวอร์เซตของเรนจ์ของ r ดังนั้น P(A) คือ
1.  , {–2} , {–2 , 0} , {0, –2} 2.  , {1} , {1 , 0} , {0 , 1}
3. {–2} , {} , {–2 , 0} ,  4. {–2} , {0} , {–2 , 0} , 
54
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
18. ก าหนดให้ S = {1 , 2 , 3 , 4 , 5} และ r =  (x , y)  S  S  x + y = 6  แล้ว
จานวนสมาชิกของโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , 0 2. 3 , 1 3. 3 , 3 4. 5 , 5

19. ก าหนดให้ S = {1 , 2 , 3 , 4 , 5} และ r = (x , y)  S  S  x – y = 6  แล้ว


จานวนสมาชิกของโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , 0 2. 3 , 1 3. 3 , 3 4. 5 , 5

20. ก าหนดให้ r = { (x , y) A x A  y = x2 } เมื่ อ A = {–2 , –1 , 0 , 1 , 2} แล้ ว


จานวนสมาชิกของโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , 0 2. 3 , 1 3. 3 , 2 4. 3 , 3

21. กาหนดให้ S = {1 , 2 , 3 , 4 , 5} และ r = (x , y)  S  S  x > 2 และ y = 3  แล้ว


จานวนสมาชิกของโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , 0 2. 3 , 1 3. 3 , 3 4. 5 , 5

22. ก าหนดให้ r = { (x , y)  I+ x I+  x2 + y2 = 4 } แล้ว จ านวนสมาชิ ก ของโดเมน


และเรนจ์ของ r ตามลาดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 , 0 2. 3 , 1 3. 3 , 2 4. 3 , 3

23. กาหนดให้ความสั มพันธ์ r = { (x , y)  I+ x I  x2 + y2 = 4 } แล้วโดเมนและเรนจ์


ของความสัมพันธ์ r คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = { 0 , 2 } , Rr = { 0 , 4 } 2. Dr = { 0 , 1 } , Rr = { 0 , 4 }
3. Dr = { 2 } , Rr = { 0 } 4. Dr = { 0 } , Rr = { 0 }

24. ให้ A = { x  I+  x2 – 25 < 0 }


B = {yI  y < 2}
55
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
r = { (x , y)  A x B  y –  x  > 0 }
แล้วจานวนสมาชิกของ r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

25. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x 1 2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr =x  x  2 , Rr =y  y  1 2. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  1
3. Dr =x  x  2 , Rr =y  y  0 4. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  0

26. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x3x 5  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr =x  x  –5 , Rr =y  y  3 2. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  3
3. Dr =x  x  –5 , Rr =y  y  0 4. Dr =x  x  0 , Rr =y  y  0

27. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y =  x   คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = R
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  )

28. โดเมนและเรนจ์ข องความสั ม พัน ธ์ r = (x , y)  I  I  y =  x – 2   คื อข้อใด


ต่อไปนี้
1. Dr = { x  x  I } , Rr = { y  y  I }
2. Dr = { x  x  I } , Rr = { y  y  I และ y ≥ 0 }
3. Dr = { x  x  I และ x ≥ 0 } , Rr = { y  y  I }
4. Dr = { x  x  I และ x ≥ 0 } , Rr = { y  y  I และ y ≥ 0 }

29. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = R
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  )

56
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
30. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y2 = x  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = R
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  )

31. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = (x – 2)2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = R , Rr = R
3. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = [ 0 ,  )

32. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x2 + 1  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 1 ,  ) 2. Dr = R , Rr = R
3. Dr = [1 ,  ) , Rr = R 4. Dr = [1 ,  ) , Rr = [1 ,  )

33. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = – x  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = [ 0 ,  ) , Rr = R
3. Dr = [0 ,  ) , Rr = (– , 0 ] 4. Dr = (– , 0 ] , Rr = [0 ,  )

34. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x 2  2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 2 ,  ) 2. Dr = [ 2 ,  ) , Rr = R
3. Dr = R , Rr = [ 2 ,  ) 4. Dr = [ 2 ,  ) , Rr = R

35. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1  x 2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [0 , 1] 2. Dr = R , Rr = [ 0 ,  )
3. Dr = [–1 , 1] , Rr = [0 , 1] 4. Dr = [–1 , 1] , Rr = [ 0 ,  )

36. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x 2  1  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = (– ,–1]  [1 ,) , Rr = [0 , )
3. Dr = R , Rr = [0 , 1] 4. Dr = (– ,–1]  [1 ,) , Rr = [0 , 1]
57
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
37. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 2x 2  8  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = R , Rr = [ 0 ,  ) 2. Dr = (– ,–2]  [2 ,) , Rr = [0 , )
3. Dr = R , Rr = [0 , 2] 4. Dr = (– ,–2]  [2 ,) , Rr = [0 , 2]

38. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x + 2  คือข้อใดต่อไปนี้


x 9
1. Dr = (– ,–2]  [9 ,) , Rr = [ 0 ,  )
2. Dr = (– ,–2]  [9 ,) , Rr = [ 0 , 1)  (1 , )
3. Dr = (– ,–2]  (9 ,) , Rr = [ 0 ,  )
4. Dr = (– ,–2]  (9 ,) , Rr = [ 0 , 1)  (1 , )

39. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 7


4  x  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = (– , 0) , Rr = [0 ,  ) 2. Dr = (– , 4)  [2 ,) , Rr = [0 , )
3. Dr = (– , 0) , Rr = (0 ,  ) 4. Dr = (– , 4) , Rr = (0 , )

40. จงหา Dr และ Rr ของความสัมพันธ์ r = {(x , y)  R x R | y = 9  x 2 }


1. Dr = [–3 , 3] , Rr = [ 0 , 3 )
2. Dr= (–, –3]  [3 , ) , Rr= [ 0 , 3 )
3. Dr = [–3 , 3] , Rr = [ 0 , )
4. Dr= (–, –3]  [3 , ) , Rr= [ 0 , )

41. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1  คือข้อใดต่อไปนี้


x2  9
1. Dr = (–3 , 3) , Rr = ( 0 , 3 )
2. Dr= (–, –3)  (3 , ) , Rr= ( 0 , 3 )
3. Dr = (–3 , 3) , Rr = ( 0 , )
4. Dr= (–, –3)  (3 , ) , Rr= ( 0 , )

58
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
42. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1  คือข้อใดต่อไปนี้
9  x2
1. Dr = (– , 3) , Rr = [0 ,  ) 2. Dr = (–3 , 3) , Rr = [0 , )
3. Dr = (– , 3) , Rr = [ 13 ,  ) 4. Dr = (–3 , 3) , Rr = [ 13 , )

43. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  x2 + y2 – 2x + 4y + 1 = 0 คือข้อใด


ต่อไปนี้
1. Dr = [–1 , 3] , Rr = [–4 , 0] 2. Dr = [–1 , 3] , Rr = [–4 , 0]
3. Dr = (–1 , 3) , Rr = (–4 , 0) 4. Dr = (–1 , 3) , Rr = (–4 , 0)

44. ถ้าความสัมพันธ์ r = {(x , y) R x R  y = 2 1 } แล้วข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์ของ r


x  2x  3
1. (– , – 12 ]  (0 , ) 2. (– , – 14 ]  (0 , )
3. [– 12 , 0 ) 4. [– 14 , 0 )

45. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1


x  คือข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = (– , 0)  (0 , ) , Rr = R 2. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = R
3. Dr = (– , 0)  (0 , ) , Rr = ( 0 ,  ) 4. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = ( 0 ,  )

46. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1 1 x  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = (– , 1)  (1 , ) , Rr = R 2. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = R
3. Dr = (– , 1)  (1 , ) , Rr = ( 0 ,  ) 4. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = ( 0 ,  )

47. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 1  x1 + 2  คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = R – {–1 , –3} , Rr = ( 0 ,  )
2. Dr = R – {–1 , –3} , Rr = (– , 0)  [1 , )
3. Dr = R – {–2} , Rr = Rr = ( 0 ,  )
4. Dr = R – {–2} , Rr = (– , 0)  [1 , )
59
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
x
48. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y =  คือข้อใดต่อไปนี้
1 x
1. Dr = R , Rr = [0 , 1) 2. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = [0 , 1)
3. Dr = R , Rr = ( 0 ,  ) 4. Dr = ( 0 ,  ) , Rr = ( 0 ,  )

49. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r = (x , y)  4  x  + y2 = 4 คือข้อใดต่อไปนี้


1. Dr = [–1 , 1] , Rr = [ –2 , 2 ] 2. Dr= (–, –1]  [1 , ) , Rr= [ –2 , 2 ]
3. Dr = [–1 , 1] , Rr = [ 0 , 2 ) 4. Dr= (–, –1]  [1 , ) , Rr= [ 0 , 2)

5.2 ตัวผกผันของความสัมพันธ์
50. โดเมนของตัวผกผันของความสัมพันธ์ { (1 , 3) , (2 , 4) , (3 , 7) , (6 , 7) , (6 , 10) } คือ
ข้อใดต่อไปนี้
1. Dr = { 1 , 2 , 3 , 6 } 2. Dr = { 3 , 4 , 7 , 10 }
3. Dr = { 1 , 2 , 3 , 4 , 6 , 7 , 10 } 4. ถูกทุกข้อ

51. ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r = (x , y)  2x + y = 1 คือข้อใดต่อไปนี้


1. r–1 = (x , y)  2x + y = 1  2. r–1 = (x , y)  y = 1 2 x 
3. r–1 = (x , y)  y = 2 – 3x  4. r–1 = (x , y)  y = 2 3 x 

52. ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = 2 – 3x  คือข้อใดต่อไปนี้


1. r–1 = (x , y)  2x + y = 1  2. r–1 = (x , y)  y = 1 2 x 
3. r–1 = (x , y)  y = 2 – 3x  4. r–1 = (x , y)  y = 2 3 x 

53. ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y > x  คือข้อใดต่อไปนี้


1. r–1 = (x , y)  x y > 1  2. r–1 = (x , y)  y < x 
3. r–1 = (x , y)  y > x  4. ถูกทุกข้อ

60
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
54. ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r = (x , y)  x y = 1  คือข้อใดต่อไปนี้
1. r–1 = (x , y)  x y = 1  2. r–1 = (x , y)  xy = 1 
3. r–1 = (x , y)  xy = 1  4. ถูกทุกข้อ

55. ตัวผกผันของความสัมพันธ์ r = (x , y)  y = x  คือข้อใดต่อไปนี้


1. r–1 = (x , y)  y2 = x และ x ≥ 0  2. r–1 = (x , y)  y2 = x 
3. r–1 = (x , y)  y = x2 และ x ≥ 0  4. r–1 = (x , y)  y = x2 

5.3 ฟังก์ชัน
5.3.1 ความหมายของฟังก์ชัน
56. ความสัมพันธ์ r ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั
1. r1 = { (1 , 2) , (3 , 4) , (1 , 5) , (4 , 7) }
2. r2 = { (5 , 9) , (6 , 8) , (7 , 4) , (6 , 3) }
3. r3 = { (1 , 7) , (2 , 4) , (3 , 5) , (2 , 4) }
4. r4 = { (5 , 1) , (6 , 2) , (4 , 3) , (5 , 7) }

57. ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั


(ก) { (1 , a) , (2 , b) , (3 , b) , (5 , c) }
(ข) { (1 , a) , (2 , b) , (3 , c) , (4 , d) , (4 , e) }
(ค) { (1 , a) , (2 , a) , (3 , a) , (4 , a) }
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

58. ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นฟังก์ชนั


(ก) {(x , y)  A  A  y  x} ; A = {1 , 2 , 3}
(ข) {(x , y)  B  B  y = x – 2} ; B = {–2 , –1 , 0 , 1 , 2}
1. ก. เป็ น ข. เป็ น 2. ก. ไม่เป็ น ข. เป็ น
3. ก. เป็ น ข. ไม่เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น ข. ไม่เป็ น
61
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
59. ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นฟังก์ชนั
(ก) { (x , y)  A  B  y < x } ; A = {0 , 1} , B = {–1 , 1}
(ข) { (x , y)  y = 1 เมื่อ x  0 และ y = –1 เมื่อ x  0 }
1. ก. เป็ น ข. เป็ น 2. ก. ไม่เป็ น ข. เป็ น
3. ก. เป็ น ข. ไม่เป็ น 4. ก. ไม่เป็ น ข. ไม่เป็ น

60. กาหนดให้ D = { 2 , 5 , 6 , 7 , 8 } อินเวอร์สของความสัมพันธ์ที่มี D เป็ นโดเมนในข้อใด


ต่อไปนี้ ไม่เป็ นฟังก์ชนั
1. { (x , y)  y = x – 5 }
2. { (x , y)  y =  x – 2  }
3. { (x , y)  y = x2 – 4x }
4. { (x , y)  y = เศษที่เหลือจากการหาร x ด้วย 4 }

61. ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั


1. r1 = { (x , y)  R x R   x  +  y  = 4 }
2. r2 = { (x , y)  R x R   x + y  = 1 }
3. r3 = { (x , y)  R x R  y = 2x + 1 }
4. r4 = { (x , y)  R x R  x = y2 + 2y + 1 }

62. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็ นฟังก์ชนั


1. r1 = { (x , y)  R x R  y =  x – 2  + 3 }
2. r2 = { (x , y)  R x R  y = x2 – 2x + 3 }
3. r3 = { (x , y)  R x R  y = x 2  3x }
4. r4 = { (x , y)  R x R  y > x – 3 }

62
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
63. ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั
(ก) {(x , y)  y = x } (ข) {(x , y)  x = 3 } (ค) {(x , y)  y = –2 }
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

64. ถ้า r แทนความสัมพันธ์ จงหาว่าความสัมพันธ์ที่เป็ นฟังก์ชนั่ คือข้อใด


1. r = {(x , y)  x2 = 9} 2. r = {(x , y)  x2 = 4y2}
3. r = {(x , y)  x2 – y2 = 0} 4. r = {(x , y)  y = 1x }

65. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็ นฟังก์ชนั่


1. {(x , y)  R x R  y = x} 2. {(x , y)  R x R  y = x2}
3. {(x , y)  R x R  y = x3} 4. {(x , y)  R x R  y2 = x}

5.3.2 ฟังก์ ชันทีค่ วรรู้ จัก


66. กาหนดให้ A = {1 , 2 , 3} และ B = {a , b , c}
และ f1 = {(1 , a) , (2 , b) , (3 , a)} f2 = {(1 , a) , (2 , c) , (3 , b)}
f3 = {(1 , a) , (2 , a) , (3 , b)} f4 = {(a , 1) , (b , 2) , (c , 2)}
f5 = {(a , 2) , (b , 1) , (c , 2)} f6 = {(a , 1) , (b , 1) , (c , 1)}
f7 = {(1 , 1) , (2 , 2) , (3 , 3)} f8 = {(a , a) , (b , b) , (c , c)}
ฟังก์ชนั f ที่กาหนดให้มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั่ จาก A ไป B
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67. จากข้อที่ผา่ นมา ฟังก์ชนั f ที่กาหนดให้มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั่ จาก A ไปทัว่ ถึง B
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

68. จากข้อที่ผา่ นมา ฟังก์ชนั f ที่กาหนดให้มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั่ 1 – 1


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

63
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
69. กาหนดให้ A = { 1 , 2 , 3 } , B = { 4 , 5 , 6 , 7 } และ C = { a , b , c , d }
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. f1 = { (1 , 4) , (2 , 5) , (3 , 6) } เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B
ข. f2 = { (2 , a) , (3 , b) , (4 , c) } เป็ นฟังก์ชนั จาก B ไป C
ค. f3 = { (a , 4) , (b , 5) , (c , 6) , (d , 7) } เป็ นฟังก์ชนั จาก C ไป B
ง. f4 = { (4 , 1) , (5 , 2) , (6 , 3) , (7 , 4) } เป็ นฟังก์ชนั จาก B ไป A
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 1 ข้อ 2. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 2 ข้อ
3. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 3 ข้อ 4. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 4 ข้อ

70. กาหนดให้ A = { a , b , c } , B = { 1 , 2 , 3 } และ C = { 1 , 2 , 3 , 4 }


ถ้า f = { (a , 1) , (b , 2) , (c , 3) } แล้ว จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. f : A  B ข. f : A  C
ค. f : B  A ง. f : A  A
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 1 ข้อ 2. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 2 ข้อ
3. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 3 ข้อ 4. ข้อ ก ถึง ง มีขอ้ ถูก 4 ข้อ

71. ให้ A = {x , y , z} , B = {1 , 0} ข้อใดต่อไปนี้ ฟังก์ชนั ที่เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B


1. { (x , 1) , (y , 1) , (z , 1) } 2. { (x , 0) , (y , 0) , (z , 0) }
3. { (x , 1) , (y , 0) , (z , 0) } 4. ถูกทุกข้อ

72(แนว Pat) กาหนดให้ A = {x , y , z} , B = {1 , 0} ฟั งก์ชัน จาก A ไป B มี จานวน


ทั้งหมดกี่ฟังก์ชนั

64
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
73. ฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั 1 – 1
(ก) { (x , y)  y = x2 + x }
(ข) { (x , y)  y = 2x + 5 }
(ค) { (x , y)  y =  2x – 1  }
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

74. ฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มในเซตที่กาหนด


(ก) { (x , y)  y = –3x + 7 } ในเซต (0 , )
(ข) { (x , y)  y = –x2 + 5 } ในเซต ( , 0]
(ค) { (x , y)  y =  x  } ในเซต [–2 , 2]
(ง) { (x , y)  y = x2 + 1 } ในเซต R
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

5.3.3 ข้ อตกลงเกีย่ วกับสั ญลักษณ์


75. กาหนดให้ f = { (x , y)  R x R  y = 2x – 3 } ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. f (–5) = –13 2. f (0) = –3 3. f (2) = 1 4. f (5) = 4

76. กาหนดให้ f (x) = x2 + 1 และ k  R ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง


1. f (k) = k2 + 1 2. f (2x) = 4x2 + 1
3. f (x3) = x9 + 1 4. f (x + 1) = x2 + 2x +2

3x  2
 ; x2
77. กาหนดให้ f (x)   ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
 5x
 ; x2
1. f (–2) = 1 2. f (1) = 5 3. f (2) = 8 4. f (3) = 15

65
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
1 เมื่ อ x  1

78. กาหนดให้ f (x) = x เมื่ อ 1  x  3 แล้ว f (–2) + f (1) + f (9) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

2 เมื่ อ x  3
1. 2 2. 3 3. 4 4. 11

 2x  5 ; x  9

79. กาหนดให้ f (x)   x4 ; 9  x  8

 x 2  3x ; x 8

g (x) = 2x + 1
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. f (g (–6) ) = –15 2. f (g (6) ) = 9 3. g (f (6) ) = 5 4. g (f (–1) ) = 7

80. กาหนดให้ f (x) = x  1


g (x) = x2 + 1
h (x) = x + 1
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. f (g (x) ) = x 2. g (f ( x ) ) = x
3. g ( f ( h ( 4 ) ) ) = 17 4. h (g ( f ( 5 ) ) ) = 6

81. กาหนดให้ f (x) = ax2 – bx + c , f (0) = 5 , f (–1) = 10 , f (1) = 6 ข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. f (–2) = 20 2. f (2) = 12 3. f (–3) = 38 4. f (3) = 25

82. กาหนดให้ f (3x – 1) = 2x2 + 3x ค่าของ f (8) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. 65 2. 35 3. 27 4. 14

83. กาหนดให้ f (2x + 1) = 3x – 9 ค่าของ f (1) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


1. –9 2. –3 3. 3 4. 9
66
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
84. กาหนดให้ f (2x + 1) = 2x – 12 ค่าของ f (x) ตรงกับข้อใด
1. 2x + 11 2. 2x – 13 3. x – 13 4. x + 11

85. กาหนดให้ f (x +1 ) = 3x2 – 3x + 4 ค่าของ f (x) ตรงกับข้อใด


1. 3x2 – 15x + 22 2. 3x2 – 9x + 10 3. 3x2 – 6x + 5 4. 3x2 – 10x + 2

86. กาหนดให้ f (x + 1) = 3x – 5 ค่าของ f (x – 2) ตรงกับข้อใด


1. 3 x + 8 2. – 3 x + 8 3. 3 x – 8 4. x – 8

87. กาหนดให้ ก. h (x) = (x + 2)2 (x – 4)1/4 ข. k (x) = x5 แล้วโดเมนของ


x 1
ฟังก์ชนั ที่กาหนด คือข้อใดข้อไปนี้
1. ก. [4 , ) ข. [–5 , ) 2. ก. [4 , ) ข. [–5 , 1)  (1 , )
3. ก. (– , 4] ข. [–5 , ) 4. ก. (– , 4] ข. [–5 , 1)  (1 , )

88. กาหนดให้ ก. f (x) = x  2  x ข. g (x) = x  2 – 1x แล้ว


โดเมนของฟังก์ชนั ที่กาหนด คือข้อใดข้อไปนี้
1. ก. (– , 2] ข. (–2 , ) 2. ก. (– , 2] ข. [–2 , 0)  (0 , )
3. ก. [0 , 2] ข. (–2 , ) 4. ก. [0 , 2] ข. [–2 , 0)  (0 , )

89. ก าหนดให้ g (x) = x2 + 4 และ Dg =  x  –5  x  3  แล้วเรนจ์ของฟั งก์ชัน g


คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ 13 , 29] 2. [0 , 13] 3. [0 , 29] 4. [4 , 29]

90. ก าหนดให้ h (x) = x2 – 6 และโดเมนของ h คื อ {x  –4 < x < 3} แล้ว เรนจ์ข อง


ฟังก์ชนั h คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ 3 , 10] 2. [0 , 10] 3. [–6 , 10] 4. [–6 , 10)
67
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
2x  1 } ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
91. กาหนดให้ f = { (x , y)  R x R  y = 3x 4
1. f : R  R 2. f : R –  43   R –  23 
3. f : R –  43   R 4. f : R –  43   R

92. กาหนดให้ f = (x , y)  y = x + 1  แล้วเซต A ที่ทาให้ f เป็ นฟั งก์ชนั จาก A ไป R


คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ –1 , 0] 2. [–1 , ] 3. [– , –1] 4. R

93. กาหนดให้ f =  (x , y)  y = x2 + 4 แล้วเซต A ที่ทาให้ f เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไป A


คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ 4 , 0] 2. [4 , ] 3. [– , 4] 4. R

5.3.4 ฟังก์ชันผกผัน
94. กาหนดให้ f (x) = 3x + 1 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
1. f–1(x) = 3x – 1 2. f–1(x) = x 3 1
3. f–1(x) = 5x – 7 4. f–1(x) = x 5 7

95. กาหนดให้ f (x) = 5 – x แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = 3x + 1 2. f–1(x) = x 3 1
3. f–1(x) = 5 – x 4. f–1(x) = 5 + x

3
96. กาหนดให้ f (x) = 5 + x แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
1. f–1(x) = (x + 5)3 2. f–1(x) = (x – 5)3
3. f–1(x) = x3 + 5 4. f–1(x) = x3 – 5

68
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
97. กาหนดให้ f (x) = 2  5x แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
1. f–1(x) = x 25 2 2. f–1(x) = x 25 2 และ x ≥ 0
3. f–1(x) = x 25 2 4. f–1(x) = x 25 2 และ x ≥ 0

98. กาหนดให้ f (x) = x2 + x และ x ≥ – 12 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = x  14  12 2. f–1(x) = x  14  12 และ x ≥ – 14
3. f–1(x) = x  14  12 4. f–1(x) = x  14  12 และ x ≥ – 14

99. กาหนดให้ f (x) = 9 – x2 และ x [0 , 3] แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = 9  x และ x [0 , 3] 2. f–1(x) = 9  x และ x [0 , 9]
3. f–1(x) = 1 และ x [0 , 3] 4. f–1(x) = 1 และ x [0 , 9]
9x 9x

100. กาหนดให้ f (x) = x 2  4 และ x  2 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = x 2  4 และ x [0 , ) 2. f–1(x) = x 2  4 และ x [0 , )
3. f–1(x) = x 2  4 และ x [0 , 2] 4. f–1(x) = x 2  4 และ x [0 , 2]

101. กาหนดให้ f (x) = 16  x 2 และ 0  x  4 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใด


ต่อไปนี้
1. f–1(x) = 16  x 2 และ 0  x  2 2. f–1(x) = 16  x 2 และ 0  x  4
3. f–1(x) = 16  x 2 และ 0  x  2 4. f–1(x) = 16  x 2 และ 0  x  4

102. กาหนดให้ f (x) = 3x – 3 (x  R) แล้ว f–1(3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

103. ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ง f (x) = x2 + 4x แล้ว f –1(12) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. –2 3. 25 4. – 25

69
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
104. ถ้า g เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ง g (x) = x3+3x2+3x+9 แล้ว g–1(7) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 2 3. 3 4. 5

105. ถ้า f เป็ นฟังก์ชนั ซึ่ง f–1( 43 x + 2) = 5x – 11 แล้ว f –1(4) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 2 3. 4 4. 6

106. กาหนดให้ f (2x – 1) = 3x + 5 แล้ว f–1(x) คือข้อใดต่อไปนี้


1. 2 (x3 5) 2. 2 (x3 5) 3. 3 (x 2 5) 4. 3 (x2 5)

107. กาหนดให้ f–1(5x – 3) = 4x + 1 แล้ว f (x) คือข้อใดต่อไปนี้


1. 5x 4 17 2. 4x 5 17 3. 4x 5 17 4. 5x 4 17

108. กาหนดให้ f (x) = xx  22 แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้


1. f–1(x) = 2 xx 12 2. f–1(x) = 2 xx 12
3. f–1(x) = 3x5 x2 4. f–1(x) = 3x5 x2

109. กาหนดให้ f (x) = 15  2x


3x แล้วฟังก์ชนั ผกผันของ f คือข้อใดต่อไปนี้
1. f–1(x) = 2 xx 12 2. f–1(x) = 2 xx 12
3. f–1(x) = 3x5 x2 4. f–1(x) = 3x5 x2

5.3.5 ฟังก์ชันประกอบ
110. กาหนดให้ f = { (1 , 5) , (2 , 4) , (3 , 6) , (4 , 10) } และ
g = { (3 , 1) , (4 , 10) , (5 , 9) }
แล้ว g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (1 , 9) , (2 , 10) } 2. { (3 , 7) , (4 , 20) }
3. { (3 , 6) , (4 , 100) } 4. หาไม่ได้

70
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
111. กาหนดให้ f = { (–3 , 1) , (0 , 4) , (2 , 0) }
g = { (–3 , 2) , (1 , 2) , (2 , 6) } และ
h = { (2 , 4) , (1 , 0) }
แล้ว f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (–3 , 6) , (1 , 6) } 2. { (–3 , 2) }
3. { (–3 , 0) , (1 , 0) } 4. หาไม่ได้

112. กาหนดให้ f = { (–3 , 1) , (0 , 4) , (2 , 0) }


g = { (–3 , 2) , (1 , 2) , (2 , 6) } และ
h = { (2 , 4) , (1 , 0) }
แล้ว g o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (–3 , 6) , (1 , 6) } 2. { (–3 , 2) }
3. { (–3 , 0) , (1 , 0) } 4. หาไม่ได้

113. กาหนดให้ f = { (–3 , 1) , (0 , 4) , (2 , 0) }


g = { (–3 , 2) , (1 , 2) , (2 , 6) }
และ h = { (2 , 4) , (1 , 0) }
แล้ว g o h เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (–3 , 6) , (1 , 6) } 2. { (–3 , 2) }
3. { (–3 , 0) , (1 , 0) } 4. หาไม่ได้

114. กาหนดให้ f (x) = x + 6 และ g (x) = 2x –3 แล้ว (g o f) (3) + (f o g) (6) เท่ากับข้อใด


ต่อไปนี้
1. 0 2. 4 3. 15 4. 30

115. ก าหนดให้ f (x) = x2 – 2 x  และ g (x) = x2 + 1 แล้ว (g o f) (3) + (f o g) (–2)


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 25 4. 28
71
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
2
 เมื่อ x  2
116. กาหนดให้ f (x) =  2 และ g(x) = 3x – 1
x เมื่อ x  2
แล้ว (g o f)(–2) + (f o g)(2) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 2. 11 3. 12 4. 13

2x 2  1 ; x  2

117. กาหนดให้ f (x) = 0 ; 2  x  4
x ; x 4

2x  1 ; x2
g (x) = 
2x  2 ; x 2
แล้ว (f o g) (4) + [ f o (g o f) ] (0) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –20 2. –16 3. 6 4. 12

118. กาหนดให้ f (x) = 2x + 1 ; 0  x  4


g (x) = 3x – 2 ; –1  x  2
แล้ว (g o f) (1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 3 4. ไม่นิยาม

119. กาหนดให้ f (x) = x3 – x และ g (x) = x2 แล้ว (g o f) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x4 2. x6– x2
3. (x3 – x)3 – (x3 – x) 4. x6 – 2x4 + x2

120. กาหนดให้ f (x) = x3 – x และ g (x) = x2 แล้ว (f o g) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x4 2. x6– x2
3. (x3 – x)3 – (x3 – x) 4. x6 – 2x4 + x2

72
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
121. กาหนดให้ f (x) = x3 – x และ g (x) = x2 แล้ว (f o f) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x4 2. x6– x2
3. (x3 – x)3 – (x3 – x) 4. x6 – 2x4 + x2

122. กาหนดให้ f (x) = x3 – x และ g (x) = x2 แล้ว (g o g) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x4 2. x6– x2
3. (x3 – x)3 – (x3 – x) 4. x6 – 2x4 + x2

123. กาหนดให้ f (x) = x2 – 2 x  และ g (x) = x2 + 1 แล้ว (f o g) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. (x2 +1)2 – 2 x2 + 1  2. (x2 +1)2 – 2 (x2 + 1)
3. x4 – 4x2  x  + 4x2 + 1 4. x4 – 4x3 + 4x2 + 1

124. กาหนดให้ f (x) = x2 – 2 x  และ g (x) = x2 + 1 แล้ว (g o f) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. (x2 +1)2 – 2 x2 + 1  2. (x2 +1)2 – 2 (x2 + 1)
3. x4 – 4x2  x  + 4x2 + 1 4. x4 – 4x3 + 4x2 + 1

125. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x2 แล้ว (g o f) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x 2.  x  3. x 2  x 4. 4x2

126. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x2 แล้ว (f o g) ) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x 2.  x  3. x 2  x 4. 4x2

127. กาหนดให้ f (x) = 1  x , g (x) = 1 – x2 และ h (x) = 2 + x แล้ว


(f o (g o h)) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x x 2 2. 44 x x
3. x 2  4x  2 4. x4 – 4x3 + 4x2 + 1
73
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
2x 2  1 ; x  2

128. กาหนดให้ f (x) = 0 ; 2  x  4
x ; x 4

2x  1 ; x2
g (x) = 
2x  2 ; x 2
แล้ว (g o f) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4x2 + 2x –7 2. x2 + 4x – 3
4x 2  4 ; x  2
 x  1 ; x2
3.  1 ; 2  x  4 4. 
2x  2 x  2 ; x 2

; x 4

 4x ; x 0
129. กาหนดให้ f (x) = 
6  2x ; x 3
g (x) = x2 + 2 ; x > 1
แล้ว (f o g) (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 – 2x2 เมื่อ  x  > 1 2. x2 + 1 เมื่อ  x  > 1
 2  4x x  3
3. x  4 ; x  0 4. 
;
x  3 ; x 3 6  2x ; x0

130(แนว En) ให้ f = (x , y) R x R  y = 3x – 2 และ


g = (x , y) R x R  y = 2x + 7
ค่าของ (g–1o f–1) (4) คือข้อใด
1.  176 2.  52 3.  16 4. 7
2

131. กาหนดให้ g (x) = 2x และ (f o g) (x) = 4x2 + 1 แล้ว f (–2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 5 3. 25 4. ไม่นิยาม

74
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
132. กาหนดให้ f (x) = x – 2 และ (g o f) (x) = x2 – 4x – 4 แล้ว g (–1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –7 2. 0 3. 3 4. ไม่นิยาม

133. กาหนดให้ g (x) = 2x + 1 และ h (x) = 4x2 + 4x + 7 ซึ่ ง (f o g) (x) = h (x) แล้ว f (x)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + x – 1 2. x3 + 1 3. x2 + 6 4. ไม่นิยาม

3
134. ให้ g (x) = x + 2 และ (f o g) (x) = (x  2) 2 + 1 แล้ว f (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x6– x4 2. x3 + 1 3. (x3 – x)3 – x3 4. x6 – 2x3 + x

135. กาหนดให้ (g o f) (x) = 4x – 5 และ g (x) = 2x + 1 แล้ว f (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x2+ 3 2. 2x3 – 3 3. 2x – 3 4. 3x – 2

2 แล้ว f (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


136. กาหนดให้ g (x) = 2 x และ (g o f) (x) = x  1
1
1. x  2. 2x 2 1 3. 2x – 1 4. x + 2
1

137. กาหนดให้ g (x) = x + 2 และ (g o f) (x) = x + 2 แล้ว f (x) เท่ากับข้อใด


ต่อไปนี้
1. x2 + 2 2. x2 – 2 3. x2 + 4x + 2 4. x2 + 4x + 4

138. กาหนดให้ f (x) = 3x + 5 และ h (x) = 3x2 + 3x + 2 ซึ่ง (f o g) (x) = h (x) แล้ว g (x)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x2 + x – 1 2. x3 + 1 3. x2 + 6 4. ไม่นิยาม

139. กาหนดให้ g–1(x) = 4x + 2 และ (f o g) (x) = x – 5 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง


1. f (x) = 4x – 3 2. f–1(x) = 4x – 3
3. f (x) = x5
4 4. f–1(x) = x 4 5
75
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
140(แนว En) ถ้า f (x) = x และ (g o f–1) (x) = 4x2 – 1 แล้วเซตคาตอบของสมการ g (x) = 0
คือข้อใดต่อไปนี้
1. { 2 , 3 } 2. { – 12 , 12 } 3. { 0 , 1 } 4. { 12 , 23 }

141. ให้ (f–1 o g–1) (x) = 4x – 2 และ g(x) = 2x + 3 แล้ว f (x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8x2 + 10 2. 8x2 – 10 3. x 810 4. x 810

142. ให้ (f–1 o g)–1(x) = 2x – 4 และ g(x) = x + 5 แล้ว f –1(x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. x2 + 2 2. x2 – 2 3. x 2 1 4. x 2 1

143. กาหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x  5 แล้วโดเมนของ f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [30 , )
3. (– , – 5 ]  [ 5 , ) 4. (–5 , )

144. ก าหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x  5 แล้ว โดเมนของ g o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [30 , )
3. (– , – 5 ]  [ 5 , ) 4. (–5 , )

145. กาหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x  5 แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [30 , )
3. (– , – 5 ]  [ 5 , ) 4. (–5 , )

146. ก าหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x  5 แล้ว โดเมนของ g o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [30 , )
3. (– , – 5 ]  [ 5 , ) 4. (–5 , )
76
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
147. กาหนดให้ f (x) = x + 1 และ g (x) = x แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 1)  (1 , ) 4. [–1 , )

148. กาหนดให้ f (x) = x + 1 และ g (x) = x แล้วโดเมนของ f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 1)  (1 , ) 4. [–1 , )

149. ก าหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x 1 4 แล้ว โดเมนของ f o g เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 16)  (16 , ) 4. (4 , )

150. ก าหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x 1 4 แล้ว โดเมนของ g o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 16)  (16 , ) 4. (4 , )

151. ก าหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x 1 4 แล้ว โดเมนของ f o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 16)  (16 , ) 4. (4 , )

152. ก าหนดให้ f (x) = x x 1 และ g (x) = 2x – 3 แล้ว โดเมนของ f o g เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. R – { 23 } 3. R – { 0 } 4. R – { 0 , –1 }

153. ก าหนดให้ f (x) = x x 1 และ g (x) = 2x – 3 แล้ว โดเมนของ g o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. R – { 23 } 3. R – { 0 } 4. R – { 0 , –1 }

77
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
154. กาหนดให้ f (x) = x x 1 และ g (x) = 2x – 3 แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. R – { 23 } 3. R – { 0 } 4. R – { 0 , –1 }

155. ก าหนดให้ f (x) = x x 1 และ g (x) = 2x – 3 แล้ว โดเมนของ g o g เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. R – { 23 } 3. R – { 0 } 4. R – { 0 , –1 }

156. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = 2x + 3 แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0)  (0 , ) 4. (–3 , )

157. กาหนดให้ f (x) = 1x และ g (x) = 2x + 3 แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0)  (0 , ) 4. (–3 , )

3
158. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x แล้วโดเมนของ f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0] 4. (0 , )

3
159. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0] 4. (0 , )

3
160. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0] 4. (0 , )

3
161. กาหนดให้ f (x) = x และ g (x) = x แล้วโดเมนของ g o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0] 4. (0 , )

78
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
162. ก าหนดให้ f (x) = 3x + 1 และ g (x) = 2x – x2 แล้ว โดเมนของ g o f เท่ า กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 16)  (16 , ) 4. (4 , )

163. กาหนดให้ f (x) = 3x + 1 และ g (x) = 2x – x2 แล้วโดเมนของ f o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. [0 , 16)  (16 , ) 4. (4 , )

164. กาหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) = x + 5 แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0 ] 4. (–5 , )

165. กาหนดให้ f (x) = x3 – 3 และ g (x) = x + 2 แล้วโดเมนของ g o f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0 ] 4. (–2 , )

166. กาหนดให้ f (x) = x3 – 3 และ g (x) = x + 2 แล้วโดเมนของ f o g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. R 2. [0 , ) 3. (– , 0 ] 4. (–2 , )

5.3.6 การดาเนินการของฟังก์ชัน
167. กาหนดให้ f = { (1 , 5) , (2 , 4) , (3 , 6) , (4 , 10) } และ
g = { (3 , 1) , (4 , 10) , (5 , 9) }
แล้ว f + g เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (1 , 9) , (2 , 10) } 2. { (3 , 7) , (4 , 20) }
3. { (3 , 6) , (4 , 100) } 4. { (3 , 6) }

168 กาหนดให้ f = { (1 , 5) , (2 , 4) , (3 , 6) , (4 , 10) } และ


g = { (3 , 1) , (4 , 10) , (5 , 9) }
แล้ว g – f เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (1 , 9) , (2 , 10) } 2. { (3 , 5) , (4 , 0) }
3. { (3 , –5) , (4 , 0) } 4. { (3 , 6) }
79
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
169. กาหนดให้ f = { (1 , 5) , (2 , 4) , (3 , 6) , (4 , 10) } และ
g = { (3 , 1) , (4 , 10) , (5 , 9) }
แล้ว gf เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. { (1 , 9) , (2 , 10) } 2. { (3 , 5) , (4 , 0) }
3. { (3 , –5) , (4 , 0) } 4. { (3 , 6) }

170. กาหนดให้ f = {(1 , 3) , (2 , 5) , (3 , 7) , (4 , 9)}


และ g = {(2 , 6) , (3 , 8) , (4 , 10)}
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. f + g = {(2 , 11) , (3 , 15) , (4 , 19)} 2. f – g = {(2 , –1) , (3 , –1} , (4 , –1)}
3. f  g = {(2 , 30} , (3 , 56) , {4 , 90)} 4. gf = {(2 , 65 ) , (3 , 87 ) , (4 , 109 )}

171. กาหนดให้ f = { (1 , 5) , (3 , 2) , (5 , 8) , (4 , 6) } และ


g = { (0 , 4) , (3 , 1) , (5 , 2) , (4 , 3) , (1 , 0) }
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Rf +g = { 2 } 2. Rf – g = { 5 , 6 , 8}
3. Rf . g = {0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 8} 4. R f = {2 , 4}
g

172. กาหนดให้ f (x) = 2x + 1 และ g (x) = 3x – 4 ข้อใดต่อไปนี้ถูก


1. (f + g) (x) = 5x – 4 2. (f – g) (x) = x + 5
3. (f  g) (x) = 6x2 + 5x – 4 4.  gf  (x) = 3x
2x  1
4

173. กาหนดให้ f (x) = x2 – 1 และ g (x) = x – 1 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง


1. (f + g ) (x) = x2 + x – 2 2. (f – g) (x) = x2 – x
3. (f . g) (x) = x3 + x2 – x 4. ( gf )(x) = x + 1

80
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
174. กาหนดให้ f (x) = x 2  1 และ g (x) = 1  x ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่ถูกต้อง
ก. (f + g ) (x) = x 2  1  1  x ; Df + g = (– , 1]
ข. (f – g) (x) = x 2  1  1  x ; Df – g = (– , 1]
ค. (f . g) (x) = (x2  1)(1  x) ; Df . g = (– , 1]
2 x)
ง. ( gf )(x) = (x 11)(1x ; D f = (– , 1]
g
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

175. กาหนดให้ f (x) = x2 และ g (x) =  x 4 2 ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่ถูกต้อง


2x  4
ก. (f + g ) (x) = x(x ; Df + g = R – { 0 , –2 }
 2)
ข. (f – g) (x) = x6x(x 42) ; Df – g = R – { 0 , –2 }
ค. (f . g) (x) = – x (x8 2) ; Df . g = R – { 0 , –2 }
ง. ( gf )(x) = x 2x 2 ; D f = R – { 0 , –2 }
g
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

176. กาหนดให้ f (x) = x 1 2 และ g (x) = x x 1 ข้อความต่อไปนี้ มีกี่ขอ้ ที่ถูกต้อง


2x  4
ก. (f + g ) (x) = x(x ; Df + g = R – {–2 , 1}
 2)
ข. (f – g) (x) = x6x(x 42) ; Df – g = R – {–2 , 1}
ค. (f . g) (x) = – x (x8 2) ; Df . g = R – {–2 , 1}
ง. ( gf )(x) = x 2x 2 ; D f = R – {–2 , 1}
g
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

81
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
177. กาหนด f (x) = x2 – 2x + 3
g (x) = 2xx 13
h (x) = x  2
ข้อใดต่อไปนี้ผดิ
1. Df + g = R – {–1} 2. Df – h = {x  x ≥ –2}
3. Dg . h = [–2 , –1]  (–1 , ) 4. D h  [2 , 23 ]  ( 23 , )
g

178. กาหนด f (x) = 2x – 1 เมื่อ –3 < x  5


g (x) = x2 – 2x + 2 เมื่อ –1 < x  6
h (x) = x  3 เมื่อ – < x  7
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Df +g = (–4 , 11) 2. Dg – h = (– , 6)
3. Df . h = (–3 , 5) 4. D h = (3 , 5]
g



82
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน

เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 5 ฟั ง ก์ ช ัน


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 4. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบ 8
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 3.
85. ตอบข้ อ 2. 86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 2. 88. ตอบข้ อ 4.
89. ตอบข้ อ 4. 90. ตอบข้ อ 4. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 2.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 2. 95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 2.
97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 2.
83
ติวสบายคณิต เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 ฟังก์ชัน
101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 1. 104. ตอบข้ อ 1.
105. ตอบข้ อ 4. 106. ตอบข้ อ 2. 107. ตอบข้ อ 4. 108. ตอบข้ อ 2.
109. ตอบข้ อ 3. 110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 3. 112. ตอบข้ อ 1.
113. ตอบข้ อ 4. 114. ตอบข้ อ 4. 115. ตอบข้ อ 3. 116. ตอบข้ อ 4.
117. ตอบข้ อ 3. 118. ตอบข้ อ 4. 119. ตอบข้ อ 4. 120. ตอบข้ อ 2.
121. ตอบข้ อ 3. 122. ตอบข้ อ 1. 123. ตอบข้ อ 1. 124. ตอบข้ อ 3.
125. ตอบข้ อ 1. 126. ตอบข้ อ 2. 127. ตอบข้ อ 2. 128. ตอบข้ อ 3.
129. ตอบข้ อ 1. 130. ตอบข้ อ 2. 131. ตอบข้ อ 3. 132. ตอบข้ อ 1.
133. ตอบข้ อ 3. 134. ตอบข้ อ 2. 135. ตอบข้ อ 3. 136. ตอบข้ อ 1.
137. ตอบข้ อ 3. 138. ตอบข้ อ 1. 139. ตอบข้ อ 1. 140. ตอบข้ อ 2.
141. ตอบข้ อ 3. 142. ตอบข้ อ 3. 143. ตอบข้ อ 4. 144. ตอบข้ อ 3.
145. ตอบข้ อ 1. 146. ตอบข้ อ 2. 147. ตอบข้ อ 4. 148. ตอบข้ อ 2.
149. ตอบข้ อ 4. 150. ตอบข้ อ 3. 151. ตอบข้ อ 2. 152. ตอบข้ อ 2.
153. ตอบข้ อ 3. 154. ตอบข้ อ 4. 155. ตอบข้ อ 1. 156. ตอบข้ อ 3.
157. ตอบข้ อ 3. 158. ตอบข้ อ 2. 159. ตอบข้ อ 2. 160. ตอบข้ อ 1.
161. ตอบข้ อ 2. 162. ตอบข้ อ 1. 163. ตอบข้ อ 1. 164. ตอบข้ อ 1.
165. ตอบข้ อ 1. 166. ตอบข้ อ 1. 167. ตอบข้ อ 2. 168. ตอบข้ อ 3.
169. ตอบข้ อ 4. 170. ตอบข้ อ 4. 171. ตอบข้ อ 4. 172. ตอบข้ อ 4.
173. ตอบข้ อ 4. 174. ตอบข้ อ 3. 175. ตอบข้ อ 4. 176. ตอบข้ อ 4.
177. ตอบข้ อ 4. 178. ตอบข้ อ 4.



84

You might also like