You are on page 1of 69

ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 8 กรด – เบส

บ ท ที่ 8 ก ร ด – เ บ ส
8.1 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ และนอนอิเล็กโทรไลต์
สารอิเล็กโทรไลต์ คือสารซึ่ งเมื่อละลายน้ าแล้วสามารถแตกตัวเป็ นไอออนบวกและ
ลบได้ ทาให้สารละลายที่ได้สามารถนาไฟฟ้ าได้ และสารละลายที่ได้น้ ี เรี ยกว่าสารละลายอิเล็กโทร
ไลต์ เช่นโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) เมื่อนาไปละลายน้ าจะแตกตัวเป็ นโซเดียมไอออน ( Na+ ) กับ
คลอไรด์ไอออน ( Cl– ) โซเดี ยมคลอไรด์จึงเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ ส่ วนสารละลายที่ได้จะเป็ น
สารละลายอิเล็กโทรไลต์
สารอิเล็กโทรไลต์ ยังแบ่งได้เป็ น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่
1. สารอิเล็ก โทรไลต์ แก่ คื อสารที่ ละลายน้ าแล้วแตกตัวได้ม าก สารละลายที่ ได้จะน า
ไฟฟ้ าได้ดี เช่นโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) ไฮโดรคลอริ ก ( HCl ) เป็ นต้น
2. สารอิเล็กโทรไลต์ อ่อน คือสารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวได้น้อย สารละลายที่ได้จะนา
ไฟฟ้ าได้แย่ เช่นไฮโดรฟูออริ ก ( HF ) แอซีติก ( CH3COOH ) เป็ นต้น
สารนอนอิเล็กโทรไลต์ คือสารซึ่ งเมื่อละลายน้ าแล้วไม่สามารถแตกตัวเป็ นไอออนบวกและ
ลบได้ ทาให้สารละลายที่ได้ไม่นาไฟฟ้ า เช่นน้ าตาลทราย เป็ นต้น และสารละลายที่ได้จากการนา
สารพวกนี้ไปละลายน้ าจะเรี ยกว่าสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์

1. โซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) เป็ นสารอิเล็กโทรไลต์เพราะเหตุในข้อใด


1. สามารถแตกตัวเป็ นไอออนบวกและลบได้
2. เมื่อละลายน้ าแล้วสารละลายที่ได้สามารถนาไฟฟ้ าได้
3. เมื่อละลายน้ าแล้วสามารถตกตะกอนได้
4. มีคาตอบที่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

1
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด
เมื่อนำกรดไปละลำยน้ ำมักจะแตกตัวให้ไอออนบวกเป็ น H+ และไอออนลบอื่นๆ เช่น
HCl(g)  H+(aq) + Cl– (aq)
HNO3(l)  H+(aq) + NO3 (aq)
ปกติแล้ว H+ จะถูกน้ ำ (H2O) ล้อมรอบกลำยเป็ น H3O+(aq) สมกำรที่สมบูรณ์จึงเป็ น
HCl(g) + H2O(l)  H3O+(aq) + Cl–(aq)
HNO3(g) + H2O(l)  H3O+(aq) + NO3 (aq)
H+ หรื อ H3O+ เรี ยกว่ำไฮโดรเจนไอออน หรื อไฮโดรเนียมไอออน
8.2.2 ไอออนในสารละลายเบส
เมื่อนำเบสไปละลำยน้ ำมักจะแตกตัวให้ไอออนลบเป็ น OH– และไอออนบวกอื่นๆ เช่น
NaOH(s)  Na+(aq) + OH–(aq)
Ca(OH)2(s)  Ca2+(aq) + 2 OH–(aq)
OH– เรี ยกว่ำไฮดรอกไซด์ไอออน
ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. HCl(g)  H+(aq) + ………..
2. HNO3(l)  H+(aq) + ………...

ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. HCl(g) + H2O(l)  ………... + Cl–(aq)
2. HNO3(g) + H2O(l)  ………... + NO3 (aq)

ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. NaOH(s)  ………... + OH–(aq)
2. Ca(OH)2(s)  ………... + 2 OH–(aq)

2
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.3 ทฤษฏีกรด-เบส
ทฤษฏีกรด-เบส เป็ นทฤษฏีที่กล่ำวถึงควำมหมำยของกรดและเบส ทฤษฏีที่น่ำสนใจได้แก่
8.3.1 ทฤษฏีกรด-เบสอาร์ รีเนียส
ทฤษฏีกรด-เบสอำร์ รีเนียส ได้ให้นิยำมไว้วำ่
กรด (acid) คือสารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวให้ H+ หรื อ H3O+ ไอออน
เช่น HCl(g)  H+(aq) + Cl–(aq)
เบส (base) คือสารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวให้ OH– ไอออน
เช่น NaOH(s)  Na+(aq) + OH–(aq)
ทฤษฏีน้ ี มีขอ้ จากัดบางประการที่สาคัญคือ สารที่เป็ นกรดหรื อเบสจะต้องละลายน้ าได้ ถ้า
ไม่ละลายน้ าจะไม่สามารถจัดเป็ นกรดหรื อเบสได้ นอกจากนี้ ยงั ไม่สามารถอธิ บายความเป็ นกรด
หรื อเบสของสารที่ไม่มี H+ หรื อ OH– ในโมเลกุลอีกด้วย
8.3.2 ทฤษฏีกรด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี
ทฤษฏีกรด-เบสเบริ นสเตด-ลำวรี ได้ให้นิยำมว่ำ
กรด (acid) คือสำรที่สำมำรถให้โปรตอน ( H+ ) แก่สำรอื่นได้
เบส (base) คือสำรที่สำมำรถรับโปรตอน ( H+ ) จำกสำรอื่นได้
ตัวอย่ำงเช่น H+

CH3COOH + H2O  CH3COO– + H3O+


ให้ H+ รับ H+
เป็ นกรด เป็ นเบส
ในปฏิกิริยำนี้ CH3COOH จะเป็ นตัวจ่ำย H+ ให้กบั H2O ดังนั้น CH3COOH จึง
เป็ นกรด ส่ วน H2O ซึ่งรับ H+ จะเป็ นเบส
H+

NH3 + H2O  NH4+ + OH–


+
รับ H ให้ H+
เป็ นเบส เป็ นกรด
ในปฏิกิริยำนี้ H2O จะเป็ นตัวจ่ำย H+ ให้กบั NH3 ดังนั้น H2O จึงเป็ นกรด ส่ วน
NH3 ซึ่งรับ H+ จะเป็ นเบส

3
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.3.3 ทฤษฏีกรด-เบสลิวอิส
ทฤษฏีกรด-เบสลิวอิส ได้ให้นิยำมว่ำ
กรด (acid) คือสำรที่สำมำรถรับคู่อิเล็กตรอน
เบส (base) คือสำรที่สำมำรถให้คู่อิเล็กตรอน
ตัวอย่ำงเช่น H F H F
H N + B F H N B F
H F H F
ให้ e คู่ รับ e คู่
เป็ นเบส เป็ นกรด
ในปฏิ กิริยำนี้ NH3 จะเป็ นตัวจ่ำยคู่อิเล็กตรอนให้กบั BF3 ดังนั้น NH3 จึงเป็ น
เบส ส่ วน BF3 ซึ่งรับคู่อิเล็กตรอนจะเป็ นกรด
2. สำรในข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่สำมำรถใช้ทฤษฏีกรด–เบสอำร์รีเนียส ระบุได้วำ่ เป็ นกรดหรื อเบส
1. HCl 2. NaOH 3. H2SO4 4. BF3

ฝึ กทา. จำกปฏิกิริยำต่อไปนี้ จงระบุวำ่ สำรตั้งต้นตัวไดเป็ นกรดและตัวใดเป็ นเบส

1. CH3COOH + H2O  CH3COO– + H3O+

2. NH3 + H2O  NH 4 + OH–

จำกโจทย์ตวั อย่ำงที่ผ่ำนมำโปรดสังเกตว่ำ H2O สำมำรถเป็ นได้ท้ งั กรดและเบส สำรที่ มี


คุณสมบัติเช่นนี้เรี ยกว่ำสารแอมโฟเทอริก (Amphoterice)
4
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.4 คู่กรด-เบส
คูก่ รด – เบส คือคู่ของสำรที่ทำหน้ำที่เป็ นกรดในปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำกับสำรที่ทำหน้ำที่เป็ น
เบสในปฏิ กิริยำย้อนกลับ หรื อคู่ของสำรที่ทำหน้ำที่ เป็ นเบสในปฏิ กิริยำไปข้ำงหน้ำกับสำรที่ทำ
หน้ำที่เป็ นกรดในปฏิกิริยำย้อนกลับ
คู่กรด – เบส คู่กรด – เบส
CH3COOH + H2O  CH3COO–+ H3O+ NH3 + H2O  NH 4 + OH–
กรด เบส เบส กรด เบส กรด กรด เบส
คู่กรด – เบส คู่กรด – เบส
ปฏิกิริยำย้อนกลับของปฏิกิริยำนี้ H3O จะ ปฏิกิริยำย้อนกลับของปฏิกิริยำนี้ NH4+
+
จ่ำย H+ ให้แก่ CH3COO– ดังนั้น H3O+ จึง จะจ่ำย H+ ให้แก่ OH– ดังนั้น NH4+
เป็ นกรด ส่ วน CH3COO– จะเป็ นเบส จะเป็ นกรด ส่ วน OH– จะเป็ นเบส
เรี ยก CH3COOH ว่ำเป็ นคูก่ รดของ CH3COO– เรี ยก NH3 ว่ำเป็ นคู่เบสของ NH 4
เรี ยก H2O ว่ำเป็ นคู่เบสของ H3O+ เรี ยก H2O ว่ำเป็ นคู่กรดของ H3O+
เรี ยก CH3COO– ว่ำเป็ นคู่เบสของ CH3COOH เรี ยก NH 4 ว่ำเป็ นคู่กรดของ NH3
เรี ยก H3O+ ว่ำเป็ นคู่กรดของ H2O เรี ยก OH– ว่ำเป็ นคู่เบสของ H2O

ฝึ กทา. ให้จบั คู่กรด–เบส พร้อมบอกว่ำสำรตัวใดเป็ นกรดและตัวใดเป็ นเบส

CH3COOH + H2O  CH3COO– + H3O+

NH3 + H2O  NH 4 + OH–

HS– + H2O  S– + H3O+

HCO3 + H2O  CO 32 + H3O+

5
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
3(แนว En) กรดซัลฟิ วริ กทำปฏิกิริยำกับกรดไพโรซัลฟิ วริ กดังสมกำร
H2SO4(aq) + H2S2O7 (aq)  H 3SO 4 (aq) + HS2 O 7 (aq)
โมเลกุลและไอออนคูใ่ ดในปฏิกิริยำที่ทำหน้ำที่เป็ นเบส
1. H2SO4 และ H 3SO 4 2. H2SO4 และ HS2 O 7
3. H2S2O4 และ HS2O7 4. H2S2O7 และ H 3SO 4

4. จำกปฏิกริ ยำผันกลับได้ต่อไปนี้ HCO3– (aq) + OH– (aq)  CO32– (aq) + H2O(l)


สำรคู่ใดที่จดั เป็ นกรดตำมทฤษฏีของเบริ นสเตด (Bronsted ) ทั้ง 2 สำร
1. HCO3– และ CO32– 2. HCO3 และ H2O
3. OH– และ H2O 4. OH และ CO32–

6
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

5. จำกปฏิกริ ยำต่อไปนี้
H2PO3– (aq) + H2O(l)  H3O+(aq) + HPO32– (aq)
HS– (aq) + H2O(l)  H3O+(aq) + S2– (aq)
ไอออนในข้อใดเป็ นคู่กรด – เบสซึ่ งกันและกัน
1. H2PO3– , HPO32– 2. H2PO3– , H3O+
3. H3O+ , S2– 4. H3O+ , HS–

6(แนว En) ข้อใดเป็ นคู่เบสของกรดต่อไปนี้ตำมลำดับ


HCO3 , HPO 24 , HS–
1. CO 32 , PO 34 , S2– 2. H2CO3 , H2 PO 4 , H2S
3. H2CO3 , H3PO4 , H2S 4. CO 32 , H2 PO 4 , S2–

7
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
7. ข้อใดเป็ นคู่กรดของเบสต่อไปนี้ตำมลำดับ
HCO3 , HPO 24 , HS–
1. CO 32 , PO 34 , S2– 2. H2CO3 , H2 PO 4 , H2S
3. H2CO3 , H3PO4 , H2S 4. CO 32 , H2 PO 4 , S2–

8.5 การแตกตัวของกรดและเบส
8.5.1 การแตกตัวของกรดแก่ และเบสแก่
กรดแก่ ( Strong acid ) คือกรดที่แตกตัวให้ได้อย่ำงสมบูรณ์ ( แตกตัวได้ 100% ) กรดแก่
มีเพียง 6 ตัว ได้แก่ HClO4 , HI , HBr , HCl , HNO3 , H2SO4
( เรี ยงตำมลำดับตำมควำมแก่ หรื อควำมสำมำรถในกำรแตกตัวจำกมำกไปน้อย )
เบสแก่ (Strong base) คือเบสที่แตกตัวให้ได้อย่ำงสมบูรณ์ ( แตกตัวได้ 100% ) เบสแก่มี
เพียง 8 ตัว ได้แก่ LiOH , NaOH , KOH , CsOH , RbOH , Ca(OH)2 , Ba(OH)2 , Sr(OH)2
( เรี ยงตำมลำดับตำมควำมแก่ หรื อควำมสำมำรถในกำรแตกตัวจำกมำกไปน้อย )
เมื่อนำกรดแก่และเบสแก่ไปละลำยน้ ำจะเกิดกำรแตกตัวได้อย่ำงสมบูรณ์ ปฏิกิริยำกำรแตก
ตัวจะเป็ นปฏิกิริยำไปข้ำงหน้ำอย่ำงเดียวไม่ผนั กลับ กำรคำนวณใช้วิธีเหมือนกำรคำนวณปริ มำณ
สำรสัมพันธ์และสมกำรเคมีธรรมดำคือใช้สมกำร
สู ตรที่ 1 ใช้ สาหรับการเตรี ยมสารละลายโดยใส่ ตัวถูกละลายลงในตัวทาละลาย
g V
แก๊ ส
cสารละลาย v cอนุภาคย่อย v จานวนอนุภาค ย่อย
n = M = 22.4 = 1000 = 1000 k =
k ( 6.02 x 1023 )
8
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
เมื่อ n คือจำนวนโมลตัวถูกละลำย
g คือมวลตัวถูกละลำยที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุล หรื อมวลอะตอมตัวถูกละลำย
Vแก๊ส คือปริ มำตรแก๊สซึ่ งเป็ นตัวถูกละลำย ( ลิตร , dm3 )
cสำรละลำย คือควำมเข้มข้นของสำรละลำย ( โมล/ลิตร )
cอนุภำคย่อย คือควำมเข้มข้นของอนุ ภำคย่อยในสำรละลำย ( โมล/ลิตร )
v คือปริ มำตรของสำรละลำย ( cm3)
k คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
สู ตร 2 ใช้ เมื่อนาสารละลายเดิมมาทาการปรับเปลีย่ นความเข้ มข้ นและปริมาตร
c1 v 1 = c 2 v 2
เมื่อ c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายตอนแรกและตอนหลัง ( โมล/ลิตร )
v1 , v2 คือปริ มาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลาดับ
สู ตร 3 ใช้ เมื่อนาสารละลายเดิมมาทาการปรับเปลีย่ นความเข้ มข้ นและปริมาตร
แล้วต้ องการหาความเข้ มข้ นของไอออนบางตัวในสารละลาย
k c1 v1 = cอนุภำคย่อย v2
เมื่อ c1 คือความเข้มข้นของสารละลายตอนแรก ( โมล/ลิตร )
cอนุภำคย่อย คือควำมเข้มข้นของอนุภำคย่อยในสำรละลำย ( โมล/ลิตร )
v1 , v2 คือปริ มาตรของสารละลายตอนแรกและตอนหลัง ตามลาดับ
k คือจานวนไอออนนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
สู ตร 4 ใช้ เมื่อผสมสารละลายหลายตัวเข้ าด้ วยกัน
cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + …
เมื่อ c1 , c2 , cรวม คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม

สู ตร 5 ใช้ หาอนุภาคย่ อยบางตัวในสารละลายผสม


cอนุภำคย่อยรวม vรวม = k1 c1 v1 + k2 c2 v2 + …

9
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
เมื่อ c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 และ 2
cอนุภำคย่อยรวม คือความเข้มข้นรวมของอนุภาคย่อยนั้นๆ ในสารละลายผสม
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
k1 , k2 คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารที่ 1 และ 2
8. Sr(OH)2 เป็ นเบสแก่ เมื่ อนา Sr(OH)2 61 กรัม มาละลายในน้ า 200 ลู กบาศก์เซนติ เมตร
สารละลายที่ได้จะมีความเข้มข้น OH– ไอออนกี่โมลต่อลิตร ( Sr = 88 , O = 16 , H = 1)

9. กรดไนตริ ก ( HNO3 ) เป็ นกรดแก่ ถ้านากรดนี้ 0.3 โมล มาละลายน้ า 600 ลู ก บาศก์-
เซนติเมตร ความเข้มข้นของ H+ ไอออน จะเป็ นกี่โมลต่อลิตร

10
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
10. มี Ca(OH)2 1 mol/dm3 อยู่ 100 cm3 ทาให้เจือจางเป็ น 1 ลิตร จะได้สารละลาย Ca(OH)2
เข้มข้นกี่ mol/dm3

11. มี Ca(OH)2 2 mol/dm3 อยู่ 5 cm3 ท าให้ เจื อ จางเป็ น 50 cm3 สารละลายใหม่ ที่ ไ ด้จะมี
ความเข้มข้น OH– ไอออนกี่ mol/dm3

12(แนว มช) Ba(OH)2 เป็ นเบสแก่ เมื่ อน ำ 100 cm3 ของ Ba(OH)2 เข้ม ข้น 0.1 mol/dm3
ผสมน้ ำลงไปอีก 400 cm3 จงหำควำมเข้มข้นของ OH– เป็ น mol/dm3

11
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
3. สมมุติให้ X และ Y เป็ นโลหะเบสตัวแรกคือ XOH ตัวที่สองคือ Y(OH)2 เมื่ อนำเบสทั้ง
สองต่ำงก็มีควำมเข้มข้น 0.10 mol/dm3 อย่ำงละ 500 cm3 มำรวมกัน สำรละลำยที่ได้จะมี
ควำมเข้มข้นของ OH– เป็ นกี่ mol/dm3
1. 0.30 2. 0.20 3. 0.15 4. 0.10

8.5.2 การแตกตัวของกรดอ่อน
กรดอ่ อน คือกรดที่แตกตัวได้นอ้ ย ปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดอ่อนจะผันกลับได้ เมื่อเข้า
สู่ ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่สมดุลเรี ยกค่าคงที่การแตกตัวของกรด ใช้สัญลักษณ์ Ka
กำรคำนวณกำรแตกตัวของกรดอ่อนต้องคำนวณแบบสมดุลเคมี หรื อใช้สูตรลัดต่อไปนี้
[ กรดที่แตกตัว ] = [ H3O+ ] = K a . Ca
[H O ] Ka
% = 3C x 100 = x 100
a Ca
เมื่อ Ka คือค่าคงที่การแตกตัวกรดซึ่ งมีค่าน้อยมาก
Ca คือความเข้มข้นกรดตอนเริ่ มต้น
% คือร้อยละการแตกตัว
หมายเหตุ ; สู ตรลัดนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อ KCaa > 1000 หากไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขนี้ ต้อง
คานวณแบบสมดุลเคมีดงั ตัวอย่างต่อไป
12
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

14. ในสารละลายกรด CH3COOH เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ที่ ภาวะสมดุ ลจะมี H3O+ ไอออน
เข้มข้นกี่ mol/dm3 ( ให้ Ka ของ CH3COOH ที่ 25oC = 1.8 x 10–5 )
1. 1.8 x 10–2 2. 1.8 x 10–3 3. 3.0 x 10–2 4. 3.0 x 10–3

15. จงคำนวณหำควำมเข้ม ข้น H3O+ ในหน่ วยโมล/ลิ ตร ซึ่ งเกิ ดจำกกำรแตกตัวของกรด HA


เข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร ( ให้ Ka ของกรด HA นี้มีค่าเท่ากับ 1 x 10–7 )
1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–4 3. 1 x 10–7 4. 1 x 10–8

13
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
16. จงคำนวณหำร้อยละกำรแตกตัวของกรด HA เข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร
( ให้ Ka ของกรด HA นี้มีค่าเท่ากับ 1 x 10–7 )
1. 1 2. 0.1 3. 0.001 4. 0.0001

17(แนว En) HA เป็ นกรดอ่อนมีคา่ คงที่สมดุลการแตกตัวเท่ากับ 1 x 10–4 มีสำรละลำย HA


4 mol dm–3 จะแตกตัวได้ร้อยละเท่ำใด
1. 0.1 2. 0.5 3. 1.0 4. 10.0

14
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
18(แนว มช) ถ้ำสำรละลำยของกรดอ่อน HA ที่เข้มข้น 0.01 โมล/ลิตร มีปริ มำณ H3O+ ไอออน
2.0 x 10–3 โมล/ลิตร ค่ำ Ka ของกรดนี้มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 x 10–3 2. 2 x 10–4 3. 4 x 10–3 4. 4 x 10–4

19(แนว En) กรดอ่อน HX มี ค่ ำคงที่ ก ำรแตกตัวเท่ ำกับ 2.0 x 10–6 สำรละลำยกรด HX จะ


ต้องมีควำมเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบำศก์เดซิ เมตร จึงจะทำให้ควำมเข้มข้นของ H3O+ เท่ำกับ
2 x 10–3 โมลต่อลูกบำศก์เดซิ เมตร
1. 0.8 2. 1.6 3. 2.0 4. 3.6

20. กรดโมโนโปรติกชนิ ดหนึ่ งแตกตัวได้ 5.0 % ถ้ำสำรละลำยนี้ เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จำนวน
600 cm3 จะมีควำมเข้มข้นของ H3O+ ไอออนกี่โมล/ลิตร

15
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
21. เมื่อนำกรด HCN ซึ่ งมีค่ำ Ka = 4.9 x 10–10 นำกรดนี้ มำ 5.4 กรัม เติมน้ ำกลัน่ ลงไปให้ได้
ปริ มำตร 2 ลิตร อยำกทรำบว่ำกรดนี้แตกตัวกี่เปอร์เซ็นต์

22(แนว En) ละลำยกรดฟอร์ มิก (HCOOH) จำนวนหนึ่ งในน้ ำ 5000 cm3 พบว่ำมี H3O+ เข้มข้น
เท่ำกับ 5.0 x 10–3 mol.dm–3 ถ้ำค่ำคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ำกับ 2.0 x 10–4 สำรละลำยนี้
มีกรดฟอร์ มิกละลำยอยูก่ ี่กรัม

16
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
23(แนว มช) ที่ 25oC สำรละลำย HF เข้มข้น 0.09 โมล/ลิตร แตกตัวได้ 0.8% ดังนั้นสำร
ละลำย HF เข้มข้น 0.04 โมล/ลิตร ที่ 25oC จะแตกตัวกี่เปอร์ เซ็นต์

24(แนว มช) ค่ำร้อยละกำรแตกตัวของสำรละลำยกรดแอซี ติก (CH3COOH) ที่มีควำมเข้มข้นต่อไป


นี้ ข้อใดมีค่ำมำกที่สุด
A 2.00 mol/dm3 B 0.50 mol/dm3 C 0.010 mol/dm3
1. ข้อ A 2. ข้อ B 3. ข้อ C 4. แตกตัวเท่ำกันหมด

17
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
25(แนว มช) สำรละลำย 4 อย่ำงต่ อไปนี้ สำรละลำยแต่ล ะอย่ำงเข้ม ข้น 10–2 mol/dm3
สำรละลำยใดเป็ นกรดมำกที่สุด
1. HClO2 , Ka = 1.1 x 10–2
2. HC2H3O2 , Ka = 1.8 x 10–5
3. HCN , Ka = 4.0 x 10–10
4. HF , Ka = 6.7 x 10–4

26(แนว มช) ไอออนหรื อโมเลกุลใดที่มีควำมเข้มข้นสู งสุ ด ในสำรละลำยกรดอะซีติกเข้มข้น


10–3 mol/dm3
1. H3O+ 2. OH– 3. CH3COO– 4. CH3COOH

สำหรับกรดพอลิโปรติก ( คือกรดซึ่งแตกตัวให้ H+ ได้หลำยขั้นตอน ) เช่น H3PO4


กรดนี้สำมำรถแตกตัวได้ 3 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 H3PO4  H+ + H 2 PO 4 : Ka1 = 7.5 x 10–3
ขั้นที่ 2 H 2 PO 4  H+ + HPO 24 : Ka2 = 6.3 x 10–8
ขั้นที่ 3 HPO 24  H+ + PO 34 : Ka3 = 4.0 x 10–13
สิ่ งที่ควรรู ้เกี่ยวกับกำรแตกตัวหลำยขั้นตอนของกรดพอลิโปรติกดังตัวอย่ำงนี้ ได้แก่
1) ค่ำ Ka1  Ka2  Ka3 เสมอ
2) เมื่อเปรี ยบเทียบความเป็ นกรดจะได้วา่ H3PO4  H 2 PO 4  HPO 24
3) เมื่อเปรี ยบเทียบความเข้มข้นของสำรต่ำงๆ ที่สมดุลจะพบว่ำ
[H3PO4]  [H+]  [ H 2 PO 4 ]  [ HPO 24 ]  [ PO 34 ]
18
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
27(แนว มช) กรด H2CO3 เป็ นกรดพอลิ โปรติก มีค่ำ Ka1 = 4.3 x 10–7 ที่ 25oC ค่ำ Ka2 ของ
กรดนี้เท่ำกับเท่ำใด
1. 5.6 x 10–11 2. 7.52 x 10–3 3. 2.2 x 10–2 4. 2.2 x 10–1

28. จงหำควำมเข้มข้นของ H+ ในสำรละลำย H2S เข้มข้น 0.1 mol/dm3


( Ka1 = 1.0 x 10–7 , Ka2 = 1.2 x 10–13 )
1. 1 x 10–2 2. 1 x 10–4 3. 1 x 10–7 4. 1 x 10–8

8.5.3 การแตกตัวของเบสอ่ อน
เบสอ่อน คือเบสที่แตกตัวได้นอ้ ย ปฏิกิริยาการแตกตัวของเบสอ่อนจะผันกลับได้ เมื่อเข้าสู่
ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่สมดุลเรี ยกค่าคงที่การแตกตัวของเบส ใช้สัญลักษณ์ Kb
กำรคำนวณกำรแตกตัวของกรดเบสต้องคำนวณแบบสมดุลเคมี หรื อใช้สูตรลัดต่อไปนี้
[เบสที่แตกตัว] = [ OH– ] = K b  Cb

] Kb
% = [OH
Cb x 100 = x 100
Cb
เมื่อ Kb คือค่ำคงที่กำรแตกตัวเบสซึ่ งมีค่ำน้อยมำก
Cb คือความเข้มข้นเบสในตอนเริ่ มต้น
% คือร้อยละการแตกตัว
C
หมายเหตุ ; สู ตรลัดนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อ Kb > 1000 หากไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขนี้ ต้อง
b
คานวณแบบสมดุลเคมี
19
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
29. กาหนดให้ BOH เป็ นเบสอ่อนชนิ ดหนึ่ ง มี Kb = 1.50 x 10–8 จงคานวณหาความเข้มข้น
ของ OH– ไอออน ที่ภาวะสมดุลในสารละลาย BOH เข้มข้น 0.06 โมล/ลิตร
1. 1. x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 1 x 10–5 4. 3 x 10–5

30. NH4OH เข้มข้น 0.5 mol/dm3 มีค่า Kb = 1.8 x 10–5 มีร้อยละการแตกตัวเท่าใด

31. สารละลายเบส 4 ชนิด ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน มีค่า Kb ดังนี้


สารละลายเบส Kb
A 2.0 x 10–4
B 3.0 x 10–6
C 9.0 x 10–6
D 4.2 x 10–8
สารที่มีความเป็ นเบสสู งสุ ดคือสารใด และสารที่มีความเป็ นกรดสู งสุ ดคือสารใด (ตามลาดับ)
1. A , A 2. D , D 3. A , D 4. D , A

20
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

8.6 การแตกตัวเป็ นไอออนของนา้


ปกติแล้วน้ าบริ สุทธิ์ สามารถแตกตัวให้ H3O+ กับ OH– ได้เล็กน้อยดังสมการ
H2O (l) + H2O (l)  H3O+(aq) + OH–(aq)
ข้อควรทราบเกี่ยวกับการแตกตัวของน้ า
1. ในน้ าบริ สุทธิ์ ที่อุณหภูมิ 25oC จะพบว่า
[H3O+] = 1 x 10–7 mol/dm3
และ [OH–] = 1 x 10–7 mol/dm3
2. ปฏิกิริยาการแตกตัวของน้ าเป็ นปฏิกิริยาที่ผนั กลับได้ ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่สมดุล
เรี ยกค่าคงที่การแตกตัวของน้ า ใชสัญลักษณ์ Kw
และจากสมการการแตกตัวของน้ าจะได้วา่
Kw = [ H3O+ ] [ OH– ]
Kw = ( 1 x 10–7 ) ( 1 x 10–7 )
Kw = 1 x 10–14
3. เมื่อเติมกรดลงในน้ า
จะทาให้ [ H3O+ ] จะมากขึ้น ( มากกว่า 1 x 10–7 mol/dm3 )
แต่ [ OH– ] จะลดลง ( น้อยกว่า 1 x 10–7 mol/dm3 )
เมื่อเติมเบสลงในน้ า
จะทาให้ [ OH– ] จะมากขึ้น ( มากกว่า 1 x 10–7 mol/dm3 )
แต่ [ H3O+ ] จะลดลง ( น้อยกว่า 1 x 10–7 mol/dm3 )
แต่ไม่วา่ จะเป็ นสภาวะเติมกรดหรื อเบสลงไป ที่ 25oC จะได้วา่
[ H3O+ ] [ OH– ] = Kw
[ H3O+ ] [ OH– ] = 1 x 10–14 เสมอ
32. กรดฟอร์ มิก ( HCOOH ) มีค่าคงที่สมดุลที่ 25oC เท่ากับ 1.8 x 10–4 จงคานวณหาความ
เข้มข้นของ H3O+ และ OH– ไอออน (ในหน่วยโมล/ลิ ตร) ในสารละลายกรดฟอร์ มิกเข้ม
ข้น 0.56 mol/dm3 ที่ภาวะสมดุลที่ 25oC ( ตอบตามลาดับ )
1. 10–1 , 10–13 2. 10–2 , 10–12 3. 10–3 , 10–11 4. 10–4 , 10–10

21
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
33. สารละลาย NH3 เข้มข้น 0.005 โมล/ลิ ตร จะมี ความเข้มข้นของ H3O+ ไอออน เป็ นกี่
โมล/ลิตร ( กาหนดให้ Kb ของ NH3 เป็ น 1.8 x 10–5 )
1. 1.25 x 10–11 2. 3.33 x 10–11 3. 3.00 x 10–4 4. 3.33 x 10–4

34. สารละลายแอมโมเนีย (NH3) เข้มข้น 0.01 mol/dm3 แตกตัวได้ 4.2% จงคานวนหาความ


เข้มข้นของ H3O+ ในหน่วย mol/dm3
1. 1.2 x 10–11 2. 2.4 x 10–11 3. 2.4 x 10–4 4. 4.2 x 10–4

22
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
35. ถ้านา HNO3 เป็ นกรดแก่หนัก 6.3 กรัม ละลายในน้ าแล้วทาให้ปริ มาตรเป็ น 10 ลิตร จะมี
ความเข้มข้นของ H3O+ และ OH– ไอออนเป็ นกี่โมลต่อลิตร ( ตอบตามลาดับ )
1. 10–1 , 10–13 2. 10–2 , 10–12 3. 10–3 , 10–11 4. 10–4 , 10–10

8.7 pH ของสารละลาย
ความเข้มข้น H3O+ เป็ นปริ มาณที่มีคา่ น้อยไม่สะดวกแก่การนามาใช้ นักวิทยาศาสตร์ จึง
เปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปที่ใช้งานสะดวกคือรู ปของค่า pH โดยอาศัยความสัมพันธ์วา่
pH = – log [ H3O+ ]
ข้ อควรรู้ ในภาวะเป็ นกรด pH  7
ภาวะที่เป็ นกลาง pH = 7
ภาวะที่เป็ นเบส pH  7
36. ในภาวะที่ เป็ นกลางความเข้ม ข้น H3O+ มี ค่ า เท่ า กับ 1 x 10–7 mol/dm3 จะมี ค่ า pH
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 7 4. 10

23
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
37. สารละลายซึ่งมีความเข้มข้น H3O+ 1 x 10–3 mol/dm3 จะมีค่า pH เท่าใด
1. 3 2. 4 3. 7 4. 10

38. สารละลายซึ่งมีความเข้มข้น OH– 1 x 10–4 mol/dm3 จะมีค่า pH เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 4 3. 7 4. 10

39. สารละลายซึ่งมีความเข้มข้น H3O+ 2 x 10–5 mol/dm3 จะมีค่า pH เท่าใด

24
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
40(แนว มช) Ca(OH)2 หนัก 0.148 กรัม ละลายน้ าได้หมดเป็ นสารละลายที่มีปริ มาตร 2000 cm3
pH ของสารละลายนี้เป็ นเท่าใด (Ca = 40 , O = 16 , H = 1 , log 5 = 0.70)
1. 12.30 2. 12.00 3. 11.70 4. 11.30

41(แนว มช) M(OH)2 เป็ นเบสแก่ เมื่อนาสารละลายของเบสนี้ เข้มข้น 0.025 mol/dm3 ปริ มาตร
100 cm3 มาเติมน้ าเพิ่มอีก 400 cm3 จงหา pH ของสารละลายที่ได้น้ ี
1. 12.30 2. 12.00 3. 11.70 4. 11.00

25
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
42. เมื่ อผสมสารละลาย HCl 0.01 mol/dm3 150 cm3 กับ HCl 0.06 mol/dm3 150 cm3
เข้า ด้วยกัน แล้วเติมน้ าอีก 750 cm3 จะได้สารละลายที่มี pH เท่าใด
1. 1 2. 3 3. 11 4. 13

43. มีสารละลายกรดชนิ ดหนึ่ ง pH เท่ากับ 5 ความเข้มข้น H3O+ ในสารละลายกรดนี้ มีค่าเท่า


กับกี่โมล/ลิตร
1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–5 3. 1 x 10–9 4. 1 x 10–11

26
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
44(แนว มช) เมื่อนาสารละลายกรดแก่ที่มี pH เท่ากับ 5.0 มาจานวน 10 cm3 แล้วเทลงไป
ในน้ าจนได้ปริ มาตรทั้งหมดเป็ น 100 cm3 สารละลายกรดในตอนหลังนี้มี pH เท่าใด
1. 4.5 2. 5.5 3. 6.0 4. 6.5

45. จงหา pH ของสารละลาย CH3COOH เข้มข้น 5.56 mol/dm3 ( Ka = 1.8 x 10–5 )


1. 1 2. 2 3. 12 4. 13

46. สารละลายกรด HCN เข้มข้น 2.5 x 10–1 mol/dm3 มีค่า pH เท่าใด ( Ka = 4 x 10–10 )
1. 3 2. 5 3. 9 4. 11

27
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
47. กรดอ่อน HA เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ปริ มาตร 100 cm3 กรดนี้ แตกตัวได้ 0.10% ค่า pH
และค่าคงที่สมดุลของกรดนี้มีค่าเป็ นเท่าใดตามลาดับ
1. 1 , 1 x 10–6 2. 2 , 1 x 106 3. 3 , 1 x 10–6 4. 3 , 2 x 106

48(แนว En) สารละลายกรดชนิดหนึ่งมีความเข้มข้น 0.01 mol/dm3 pH ของสารละลายเท่ากับ 5


กรดนี้แตกตัวร้อยละเท่าไร (กรดนี้เป็ นกรดมอนอโพรติก )
1. 0.001 2. 0.1 3. 1 4. 10

28
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
49(แนว En) กรดอ่อน HA ปริ มาตร 100 cm3 วัดค่า pH ได้เท่ากับ 4 ค่าคงที่สมดุลของกรดนี้
เท่ากับ 1.0 x 10–7 ความเข้มข้นของกรดนี้มีค่ากี่โมล/ลิตร
1. 0.1 2. 1.0 3. 0.2 4. 2.0

50(แนว มช) Strychnine เป็ นเบสอ่อน การเกิดไอออนในน้ าเป็ นไปตามปฏิกิริยา


S(aq) + H2O  SH+(aq) + OH–(aq)
สารละลายของ Strychnine 1.0 mol/dm3 มี pH เท่ า กั บ 11 ค่ า คงที่ ข องสมดุ ล ของ
Strychnine เป็ นเท่าใด
1. 1.0 x 10–6 2. 1.0 x 10–14 3. 1.0 x 10–22 4. 2.0 x 10–22

29
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
51(แนว En) สารละลาย AOH เข้มข้น 0.01 โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร มี pH = 11 สารละลายนี้
มีการแตกตัวร้อยละเท่าใด
1. 1 2. 2 3. 5 4. 10

8.8 อินดิเคเตอร์ สาหรับกรด–เบส


อินดิ เคเตอร์ (Indicator) คือสารอินทรี ย ์ ( ส่ วนใหญ่ จะเป็ นกรดอ่ อน) ที่ มี สี และสามารถ
เปลี่ยนสี ได้ เมื่อ pH ของสารละลายเปลี่ยนไป
สู ตรสมมุติของอินดิเคเตอร์ ทวั่ ไปคือ HIn
( In จะมีโครงสร้างซับซ้อนมากจึงเขียนเป็ นสัญลักษณ์แทน )
ตัวอย่างเช่ น สาร Bromothymol blue (HIn) เมื่อนาไปละลายน้ าได้
HIn(aq) + H2O(l)  H3O+(aq) + In–(aq)
สี เหลือง สี น้ ำเงิน
1. ค่า Ka ของ HIn เท่ากับ 1 x 10–7 ดังนั้นในสภาวะเป็ นกลางปริ มาณ HIn จะมีค่า
เท่ากับปริ มาณ In– สี ของสารละลายจึงเป็ นสี เขียว ( เหลืองผสมน้ าเงิน )
2. ถ้าเติมกรด (H3O+) ลงไป ปฏิกิริยาจะผันกลับเกิด HIn มากขึ้นสี เหลืองจึงเข้มข้น
3. ถ้าเติมเบส (OH–) ลงไป OH– จะทาปฏิกิริยากับ H3O+ ทาให้ H3O+ มีปริ มาณ
ลดลงและจะเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากขึ้น ทาให้ In– มีปริ มาณมากขึ้นสี น้ าเงินเข้มขึ้น

30
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
ตัวอย่ างอินดิเคเตอร์ ทคี่ วรรู้ จัก
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีเ่ ปลีย่ นสี สี ในช่ วง pH ต่า สี ในช่ วง pH สู ง
Bromolthymol blue 6.0 – 8.0 เหลือง น้ าเงิน
Methyl red 4.2 – 6.2 แดง เหลือง
Phenolphthalein 8.3 – 10.0 ไม่มีสี ชมพู

52. สารละลายกรดชนิดหนึ่ง เมื่อนามาทดสอบกับอินดิเคเตอร์ ได้ผลการทดลองดังนี้


อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีเ่ ปลีย่ นสี สี ทเี่ ปลีย่ น สี ทสี่ ั งเกตเห็น
A 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง แดง
B 3.8 – 5.4 เหลือง – น้ าเงิน เขียว
C 5.1 – 8.0 แดง – น้ าเงิน แดง
D 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน เหลือง
สารละลายกรดนี้ควรมีค่า pH ประมาณเท่าใด
1. 6 2. 5 3. 4 4. 3

31
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
53(แนว มช) สารละลายกรดชนิดหนึ่ง เมื่อนามาทดสอบกับอินดิเคเตอร์ ได้ผลการทดลองดังนี้
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีเ่ ปลีย่ นสี สี ทเี่ ปลีย่ น สี ทสี่ ั งเกตเห็น
A 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง แดง
B 3.8 – 5.4 เหลือง – น้ าเงิน เขียว
C 5.1 – 8.0 แดง – น้ าเงิน แดง
D 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน เหลือง
สารละลายกรดนี้ควรมีความเข้มข้น H3O+ กี่โมลต่อลิตร
1. 10–6 2. 10–5 3. 10–4 4. 10–3

8.9 ปฏิกริ ิยาของกรดและเบส


ปฏิ กิ ริ ย าระหว่า งกรดกับ เบสจะได้ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ เป็ นเกลื อ กับ น้ า เรี ย กปฏิ กิ ริย าที่ เกิ ด นี้ ว่า
ปฎิกิริยาสะเทิน
ตัวอย่างเช่น HCl + NaOH  NaCl + H2O
กรด เบส เกลือ น้ า
ตัวอย่างปฎิกิริยาระหว่างกรดกับเบสอื่น ๆ
2 HCl + Ca(OH)2  CaCl2 + 2 H2O
Ba(OH)2 + 2 HCl  BaCl2 + 2 H2O
2 NaOH + H2SO4  Na2SO4 + 2 H2O
3 Ba(OH)2 + 2 H3PO4  Ba3(PO4)2 + 6 H2O

32
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

8.10 เกลือและปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิส


8.10.1 เกลือ
เกลือ คือสารประกอบของโลหะหมู่เทียบเท่าโลหะ (เช่น NH 4 ) กับอนุมูลกรด (ไอออนลบ
ของกรด)
เช่น MgCl2 ( ได้จาก Mg2+ กับ Cl– ซึ่งเป็ นอนุมูลของกรด HCl )
NH4CN ( ได้จาก NH 4 กับ CN– ซึ่งเป็ นอนุมูลของกรด HCN )
ฝึ กทา. จงระบุวา่ สารต่อไปนี้ เป็ น กรด , เบส หรื อ เกลือ
1) NH4OH ………….. 2) Cu(OH)2 ……………. 3) LiOH ……………..
4) KOH ……………… 5) CH3COOH…….……. 6) HF… ……………..
7) HCN …….……….. 8) H2SO4 ……………… 9) LiCN ……………..
10) NH4CN ………….. 11) KCN ……….………. 12) KI ………………..
13) CaCl2 ……..…….. 14) AlCl3 ……….………. 15) HCOOK………….

ฝึ กทา. จงบอกว่าไอออนบวกต่อไปนี้ อาจได้มาจากการแตกตัวของเบสใด


ตัวอย่าง Na+ อาจมาจาก NaOH อันเป็ นเบสแก่
1) Li+ อาจมาจาก ....................... อันเป็ น .............
2) Na+ อาจมาจาก ....................... อันเป็ น ............
3) K+ อาจมาจาก ....................... อันเป็ น .............
4) Cs+ อาจมาจาก ....................... อันเป็ น ............
5) Rb+ อาจมาจาก ...................... อันเป็ น ............
6) Ca2+ อาจมาจาก ...................... อันเป็ น ............
7) Ba2+ อาจมาจาก ...................... อันเป็ น .............
8) Sr2+ อาจมาจาก ....................... อันเป็ น ............
9) Mg2+ อาจมาจาก ...................... อันเป็ น .............
10) NH 4 อาจมาจาก ...................... อันเป็ น ...........

33
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
ฝึ กทา. จงบอกว่าไอออนลบต่อไปนี้ อาจได้มาจากการแตกตัวของกรดใด
ตัวอย่าง Cl อาจมาจาก HCl อันเป็ น กรดแก่
1) ClO 4 อาจมาจาก ........................... อันเป็ น ..............
2) I– อาจมาจาก ............................ อันเป็ น ............
3) Br– อาจมาจาก ............................ อันเป็ น .............
4) Cl– อาจมาจาก ........................... อันเป็ น .............
5) NO3 อาจมาจาก ............................ อันเป็ น .............
6) SO24  อาจมาจาก .......................... อันเป็ น .............
7) CH3COO– อาจมาจาก ......................... อันเป็ น .............
8) HCOO– อาจมาจาก .......................... อันเป็ น .............
9) PO 34  อาจมาจาก ......................... อันเป็ น .............

ฝึ กทา. จงบอกว่าเกลือต่อไปนี้ ได้มาจากกรด และ เบสใด


ตัวอย่าง NaCl  มาจาก HCl อันเป็ นกรดแก่
มาจาก NaOH อันเป็ นเบสแก่
1) K2SO4  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
2) KNO3  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
3) CH3COONa  มาจาก................. อันเป็ น ...................
มาจาก................. อันเป็ น ...................
4) Na2CO3  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
5) NaCN  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................

34
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
6) NH4Cl  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
7) NH4I  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
8) NH4 NO3  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................
9) NH4CN  มาจาก...................... อันเป็ น ...................
มาจาก...................... อันเป็ น ...................

8.10.2 ปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิส


ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส คือปฎิกิริยาที่เกิดระหว่างไอออนบวกหรื อลบของเกลือกับน้ าแล้วทา
ให้สารละลายนั้นมีฤทธิ์ เป็ นกรดหรื อเบส
ปฏิกิริยาของเกลือสามารถแยกพิจารณาตามกรณี ต่อไปนี้
กรณีที่ 1 เกลือทีเ่ กิดจากกรดอ่อนกับเบสแก่ เช่น CH3COONa
เมื่อละลายน้ าจะได้ CH3COONa  CH3COO– + Na+
Na+ ได้จากเบสแก่ NaOH ดังนั้น Na+ จะละลายน้ าได้ดีและไม่ทาปฎิกิริยากับน้ า แต่
CH3COO– ได้จากกรดอ่อน CH3COOH ดังนั้น CH3COO– เกิดปฎิกิริยากับน้ าได้ดงั นี้
CH3COO– + H2O  CH3COOH + OH–
สุ ดท้ายสารละลายจะมีฤทธิ์ เป็ นเบส เพราะมี OH– อยู่ ปฏิกิริยานี้เรี ยกปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
โปรดจาให้ แม่ น กรดอ่อนจะสร้ างเบส (OH– )
กรณีที่ 2 เกลือทีเ่ กิดจากกรดแก่กบั เบสอ่อน เช่น NH4Cl
เมื่อละลายน้ าจะได้ NH4Cl  NH 4 + Cl–
Cl– ได้จากกรดแก่ HCl ดังนั้น Cl– จะละลายน้ าได้ดีและไม่ ท าปฎิ กิริย ากับ น้ า แต่
NH 4 ได้จากเบสอ่อน NH3 ดังนั้น NH 4 เกิดปฎิกิริยากับน้ าได้ดงั นี้
NH 4 + H2O  NH3 + H3O+

35
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
สุ ดท้ายสารละลายจะมีฤทธิ์ เป็ นกรด เพราะมี H3O+ อยู่ ปฏิกิริยานี้เรี ยกปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
โปรดจาให้ แม่ น เบสอ่อนจะสร้ างกรด (H3O+)
กรณีที่ 3 เกลือทีเ่ กิดจากกรดอ่อนกับเบสอ่อน เช่น NH4CN
เมื่อละลายน้ าจะได้ NH4CN  NH 4 + CN–
NH 4 ได้จากเบสอ่อน NH3 เกิดปฎิกิริยากับน้ าได้ดงั นี้
NH 4 + H2O  NH3 + H3O+
CN– ได้จากกรดอ่อน HCN เกิดปฎิกิริยากับน้ าได้ดงั นี้
CN– + H2O  HCN + OH–
จะเห็นว่าในสารละลายมีท้ งั กรดและเบส เมื่อรวมกันแล้วจะเป็ นกรดหรื อเบสให้พิจารณา
ที่ ค่ า Ka และ Kb ของกรดอ่ อนและเบสอ่ อนอัน เป็ นต้น ก าก าเนิ ดของเกลื อนั้น ซึ่ งในที่ น้ ี ก็ คื อ
HCN และ NH3
ถ้า Ka > Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็ นกรด
ถ้า Ka < Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็ นเบส
ถ้า Ka = Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็ นกลาง
โปรดจาให้ แม่ น กรดอ่อนจะสร้ างเบส (OH– ) และเบสอ่อนจะสร้ างกรด (H3O+)
กรณีที่ 4 เกลือทีเ่ กิดจากกรดแก่กบั เบสแก่ เช่น NaCl
เมื่อละลายน้ าจะได้ NaCl  Na+ + Cl–
Na+ ได้จากเบสแก่ NaOH และ Cl– ได้จากกรดแก่ HCl
ทั้ง Na+ และ Cl– จะไม่ทาปฎิกิริยากับน้ า ในสารละลายจึงเป็ นกลาง
เช่นนี้เรี ยกว่าไม่เกิดปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
ฝึ กทา. จงบอกว่า สารละลายเกลือต่อไปนี้ จะมีฤทธิ เป็ นกรด หรื อ เบส หรื อ เป็ นกลาง
1) CH3COONa 2) Na2CO3 3) NaCN
4) NH4Cl 5) NH4 I 6) NH4 NO3
7) NH4CN 8) K2SO4 9) KNO3

36
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
58(แนว En) เมื่อนาเกลือ 4 ชนิด ต่อไปนี้มาละลายน้ า
ก. NH4 NO3 ข. CH3COONa ค. Na2CO3 ง. K2SO4
สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่มีฤทธิ์ เป็ นเบส
1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค. 3. ข. และ ค. 4. ข. และ ง.

ค่าคงที่ไฮโดรลิซิส
กรณีไอออนลบ ( จากกรดอ่อน ) เกิดไฮโดรลิซิส
ตัวอย่างเช่ น CH3COO–(aq) + H2O(l)  CH3COOH(aq) + OH–(aq)

CH COOH OH 
ที่ภาวะสมดุล Kh =  3 
CH3COO 

และเรายังจะได้อีกว่า Kh = KKwa

เมื่อ Kh = ค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
Ka = ค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อน อันเป็ นที่มาของไอออนลบนั้น
(ในที่น้ ี CH3COO– ได้มาจากกรดอ่อน CH3COOH จึงใช้ ค่า Ka ของ CH3COOH )
สาหรับความเข้มข้น OH– ที่เกิด อาจคานวณหาค่าได้โดยใช้สูตรลัดต่อไปนี้ได้
K
[OH–] = K C = Kw Cs
h s a
เมื่อ Cs = ความเข้มข้นของเกลืออันเป็ นที่มาของไอออนลบนั้น

37
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
กรณีไอออนบวก ( จากเบสอ่ อน ) เกิดไฮโดรลิซิส
ตัวอย่างเช่ น NH 4 (aq) + H2O(l)  NH3(aq) + H3O+(aq)
 NH3   H3O 
   
ที่ภาวะสมดุล Kh =  

 NH 
 

 4 
และเรายังจะได้อีกว่า Kh = KKw
b
เมื่อ Kh = ค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
Kb = ค่าคงที่การแตกตัวของเบสอ่อน อันเป็ นที่มาของไอออนบวกนั้น
(ในที่น้ ี NH4 ได้มากจากกรดอ่อน NH3 จึงใช้ ค่า Kb ของ NH3)
สาหรับความเข้มข้น H3O+ ที่เกิด อาจคานวณหาค่าได้โดยใช้สูตรลัดต่อไปนี้ได้
Kw
[H3O+] = k h Cs =
K b Cs
เมื่อ Cs = ความเข้มข้นของเกลืออันเป็ นที่มาของไอออนบวกนั้น
59. สารละลาย NH4Cl เข้มข้น 1.8 x 10–3 mol/dm3 จะมี pH เท่าใด
( กาหนด Kb ของ NH3 ที่ 25oC คือ 1.8 x 10–5 )
1. 6 2. 8 3. 9 4. 11

38
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
60. จงค านวณหาค่ า pH ของสารละลาย CH3COONa เข้ม ข้น 1.8 x 10–3 mol/dm3 ถ้า Ka
ของ CH3COOH ที่ 25oC คือ 1.8 x 10–5
1. 6 2. 8 3. 9 4. 11

61. สารละลายโซเดียมวาเลอเรต (NaV) เข้มข้น 0.10 mol/dm3 มี pH เท่าไร


( สมมุติค่า Ka ของ HV คือ 1 x 10–5 mol/dm3 )
1. 6 2. 8 3. 9 4. 11

39
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
62. KCN เข้มข้น 0.05 mol/dm3 มีค่า pH เท่าใด ( HCN มีค่า Ka = 5 x 10–10 )
1. 6 2. 8 3. 9 4. 11

63. ถ้าสารละลาย XCl เข้มข้น 1 mol/dm3 มี pH = 5 จงหาค่า Kh ของ X+ ไอออน


1. 1 x 10–5 2. 1 x 10–8 3. 1 x 10–10 4. 1 x 10–11

40
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

8.11 บัฟเฟอร์
สารละลายบัฟเฟอร์ คือสารละลายที่สามารถควบคุม pH ให้คงที่ได้ เมื่อเติมกรดหรื อเบส
ลงเล็กน้อย
บัฟเฟอร์มี 2 ชนิด ได้แก่
ชนิดที่ 1 บัฟเฟอร์ ที่ได้จากกรดอ่อนผสมกับเกลือของกรดอ่อนนั้น
เช่น ผสม CH3COOH กับ CH3COONa เข้าด้วยกัน
เมื่อเติม H+ จากกรดใดๆ ลงไป H+ จะถูกสะเทินด้วย CH3COO– จากเกลือ
ดังสมการ CH3COO– + H3O+  CH3COOH + H2O
เมื่อเติม OH จากเบสใดๆ ลงไป OH จะถูกสะเทินด้วย CH3COOH จากกรด
ดังสมการ CH3COOH + OH  CH3COO– + H2O
เราสามารถหา [H3O+] ของบัฟเฟอร์กรดได้จากสมการ
[H3O+] = [ ก ร ด ] . Ka
[ เ ก ลื อ ]
เมื่อ Ka คือค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อน
ชนิดที่ 2 บัฟเฟอร์ที่ได้จากเบสอ่อนผสมกับเกลือของเบสอ่อนนั้น
เช่น ผสม NH3 กับ NH4Cl เข้าด้วยกัน
เมื่อเติม H+ จากกรดใดๆ ลงไป H+ จะถูกสะเทินด้วย NH3 จากเบส
ดังสมการ NH3 + H3O+  NH 4 + H2O
เมื่อเติม OH จากเบสใดๆ ลงไป OH จะถูกสะเทินด้วย NH 4 จากเกลือ
ดังสมการ NH 4 + OH  NH3 + H2O
เราสามารถหา [OH] ของบัฟเฟอร์ เบสได้จากสมการ
[OH-] = [ เ บ ส ] . Kb
[ เ ก ลื อ ]
เมื่อ Kb คือค่าคงที่การแตกตัวของเบสอ่อน
การพิจารณาว่าสารผสมคู่ใดเป็ นบัฟเฟอร์ หรื อไม่น้ นั ให้ใช้หลักดังนี้

41
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
1. กรณี ที่สารที่ ผสมกันนั้นไม่ทาปฏิ กิริยากัน ให้ดูว่ามีสารตัวหนึ่ งเป็ นกรดอ่อนหรื อเบส
อ่อน แล้วอีกตัวเป็ นเกลือซึ่ งมีไอออนของกรดอ่อนหรื อเบสอ่อนนั้นหรื อไม่ ถ้าใช่สารผสมนั้นจะ
เป็ นบัฟเฟอร์ ทนั ที ไม่ตอ้ งสนใจปริ มาณสารแต่ละตัว
2. กรณี ที่เป็ นสารผสมของกรดกับเบส ให้พิจารณาปริ มาณ H+ ของกรด และ OH– ของ
เบส หากไอออนที่มีมากกว่าเป็ นของกรดอ่อนหรื อเบสอ่อน สารผสมนั้นจะเป็ นบัฟเฟอร์ เพราะ
กรดจะทาปฏิ กิริยากับเบสแล้วเกิ ดเกลื อของกรดอ่อนหรื อเบสอ่อนผสมอยู่กบั กรดอ่อนหรื อเบส
อ่อนที่เหลือนั้น
การหาปริ มาณปริ มาณ H+ ของกรด และ OH– ของเบส อาจหาได้จากสมการต่อไปนี้
ปริ มาณ H+ ของกรด = a ca va
ปริ มาณ OH– ของเบส = b cb vb
a คือจานวน H+ ในกรด b คือจานวน OH- ในเบส
ca คือความเข้มข้นกรด ( โมล/ลิตร ) cb คือความเข้มข้นเบส ( โมล/ลิตร )
va คือปริ มาตรกรด ( cm3 ) vb คือปริ มาตรเบส ( cm3 )

64. สารผสมที่ไม่ทาปฏิกริ ยากันต่อไปนี้ ข้อใดที่เป็ นบัฟเฟอร์ มีกี่ขอ้


a. KNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 5 cm3 กับ HNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 10 cm3
b. CH3COOH 0.2 mol/dm3 จานวน 4 cm3 กับ CH3COONa 0.2 mol/dm3 จานวน 10 cm3
c. NaOH 0.6 mol/dm3 จานวน 3 cm3 กับ Na HSO4 0.3 mol/dm3 จานวน 7 cm3
d. NH3 0.5 mol/dm3 จานวน 10 cm3 กับ NH4Cl 0.8 mol/dm3 จานวน 5 cm3
e. NaCl 3.0 mol/dm3 จานวน 40 cm3 กับ HCl 1.0 mol/dm3 จานวน 20 cm3
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

42
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
65(แนว มช) นำสำรละลำยสองชนิดมำผสมกันใช้ปริ มำตรเท่ำกันคือ 50 cm3 ข้อใดที่ไม่ มี
สมบัติเป็ นบัฟเฟอร์
1. HNO3 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.6 mol/dm3
2. NH4OH 0.5 mol/dm3 + HCl 0.3 mol/dm3
3. HCl 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.25 mol/dm3
4. NaOH 0.5 mol/dm3 + CH3COOH 0.75 mol/dm3

43
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
66. จากปฏิกิริยาของสารตั้งต้นต่อไปนี้ ข้อใดที่เป็ นบัฟเฟอร์ มีกี่ขอ้
a. HCl 5 โมล กับ NH3 8 โมล
b. HF 5 โมล กับ NaOH 8 โมล
c. HCl 5 โมล กับ NaOH 8 โมล
d. N2 5 โมล กับ O2 8 โมล
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

67. จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี CH3COONa เข้มข้น 0.18 mol/dm3 และ CH3COOH


เข้มข้น 0.1 mol/dm3 กาหนดให้ CH3COOH มี Ka = 1.8 x 10–5
1. 4 2. 5 3. 10 4. 11

44
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
68(แนว มช) จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี HNO2 เข้มข้น 1.0 mol/dm3 และ NaNO2
เข้มข้น 0.50 mol/dm3 กาหนดให้ HNO2 มี Ka = 5.0 x 10–5
1. 4 2. 5 3. 10 4. 11

69. จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี NH4Cl เข้มข้น 1.8 x 10–3 mol/dm3 และ NH3
เข้มข้น 0.1 mol/dm3 กาหนดให้ NH3 มี Kb = 1.8 x 10–5
1. 4 2. 5 3. 10 4. 11

45
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
70. สมมุติว่ามีสารละลายบัฟเฟอร์ 80 cm3 ซึ่ งประกอบด้วย NH3 0.1 mol/dm3 และ NH4Cl
0.181 mol/dm3 pH ของสารละลายนี้มีค่าเท่าไร ( Kb ของ NH3 = 1.81 x 10–5 mol/dm3 )
1. 9.10 2. 9.00 3. 9.40 4. 10.15

71(แนว En) สารละลายบัฟเฟอร์ ที่ประกอบด้วยกรดฟอร์ มิกและโพแทสเซี ยมฟอร์ เมต มี pH = 5


อัตราส่ วนระหว่างความเข้มข้นของเกลือ : กรด ควรมีค่าประมาณเท่าใด
( ให้ Ka ของกรดฟอร์มิก = 2.0 x 10–4 )
1. 2.0 x 10–4 2. 1.0 3. 2.0 4. 20.0

46
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
72. จงคานวณเปอร์ เซ็ น ต์ก ารแตกตัวของ NH3 ในสารละลายผสม 0.5 dm3 ที่ มี NH3 0.10
โมล และ NH4Cl 0.05 โมล ( กาหนดให้ Kb ของ NH3 = 2 x 10–5 )

8.12 การคานวณเกีย่ วกับปฏิริยาของกรดและเบส


8.12.1 กรณีทกี่ รดกับเบสทาปฏิกริ ิยากันหมดพอดี
กรณี ที่กรดกับเบสทาปฏิกิริยากันหมดพอดี เช่ นกรณี ที่โจทย์บอกกรดและเบสทาปฏิกิริยา
สะเทินกันพอดี หรื อทาการไทเทรตแล้วถึงจุดยุติพอดี เป็ นต้น กรณี เหล่านี้สูตรที่ใช้คานวณมีดงั นี้
a ca va = b cb vb
a คือจานวน H+ ในกรด b คือจานวน OH- ในเบส
ca คือความเข้มข้นกรด ( โมล/ลิตร ) cb คือความเข้มข้นเบส ( โมล/ลิตร )
va คือปริ มาตรกรด ( cm3 ) vb คือปริ มาตรเบส ( cm3 )
การคานวณหา [H3O+] และ [OH–] ต้องคิดการเกิดไฮโดรไลซิ สของเกลือที่เกิด
หากไอออนลบจากกรดเกิดไฮโดรไลซิส
Kw k
[OH ] = k h Cs = K Cs และ kh = KWa

a
เมื่อ kh คือค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
Ka คือค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อนอันเป็ นที่มาของไอออนลบนั้น
47
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
หากไอออนบวกจากเบสเกิดไฮโดรไลซิส
Kw k
[H3O ] = k C = K Cs และ kh = KW
+
h s b b
เมื่อ kh คือค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส
kb คือค่าคงที่การแตกตัวของเบสอ่อนอันเป็ นที่มาของไอออนบวกนั้น
สู ตรสาหรับคานวณหาปริ มาณเกลือที่เกิด
c v
กรณีทเี่ หลือกรด ( เบสหมด ) [เกลือ] = abvรวม
b

กรณีทเี่ หลือเบส ( กรดหมด ) [เกลือ] = bcavva


รวม

73. แบเรี ยมไฮดรอกไซด์ทาปฎิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริ กดังสมการ


Ba(OH)2(aq) + 2 HCl(aq)  BaCl2(aq) + 2 H2O(l)
ถ้าสารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทาปฎิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮไดร
คลอริ กเข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริ มาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์
มีความเข้มข้นกี่โมลาร์
1. 0.01 2. 0.05 3. 0.10 4. 0.50

48
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
74(แนว En) ถ้าต้องการสะเทิ นสารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริ ม าณ 30 ลู ก บาศก์-
เซนติเมตร จะต้องใช้กรดฟอสฟอริ ก (H3PO4) เข้มข้น 0.25 M กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 0.4 2. 4 3. 8 4. 12

75(แนว En) เมื่อนาสารละลายอิ่มตัว Ca(OH)2 ปริ มาตร 50.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาไทเทรต


ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.200 โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร เมื่อถึ งจุดยุติพบว่าใช้ HCl
ไป 10.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในสารละลายอิ่มตัวนี้มี Ca(OH)2 กี่กรัม
1. 1.48 2. 2.96 3. 0.074 4. 0.148

49
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
76. สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 2 mol/dm3 100 cm3 ถ้าจะต้องใช้สารละลาย NaOH เข้มข้น
60% โดยมวล/ปริ มาตร กี่ cm3 จึงจะทาปฏิกริ ยากับกรดนี้หมดพอดี
1. 20.00 2. 26.67 3. 30.00 4. 33.33

77. น้ าส้ ม สายชู ตวั อย่างมี กรดอะซิ ติก (CH3COOH) อยู่ร้อยละ 4.8 โดยมวล/ปริ มาตร ในการ
ไทเทรตน้ าส้มสายชูกบั สารละลาย NaOH พบว่าน้ าส้มสายชู 10 cm3 ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สาร
ละลาย NaOH 20 cm3 จงหาความเข้มข้นของ NaOH ในหน่วยร้อยละโดยมวล/ปริ มาตร
1. 0.16 2. 0.80 3. 1.60 4. 8.00

50
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
78. เมื่อนาสารละลายกรด H2SO4 0.1 mol/dm3 จานวน 40 cm3 ทาปฏิ กิริยากับสารละลายเบส
NaOH 0.5 mol/dm3 จานวน 20 cm3 หลังจากเกิ ดปฏิ กิริยาสมบูรณ์ แล้วสารละลายที่ เหลื อ
ต้องใช้กรด HCl 50 cm3 จึงจะทาปฏิกิริยาสะเทินพอดี อยากทราบว่าสารละลายกรด HCl มี
ความเข้มข้นเท่าใด
1. 0.5 2. 0.05 3. 0.04 4. 0.4

79. เมื่อนาสารละลายกรด H2SO4 40 cm3 ทาปฏิ กิริยากับสารละลายเบส NaOH 0.5 mol/dm3


จานวน 20 cm3 หลัง จากเกิ ด ปฏิ กิ ริย าสมบู รณ์ แล้ว สารละลายที่ เหลื อ ต้อ งใช้ HCl 0.04
mol/dm3 จานวน 5 cm3 จึงจะทาปฏิ กิริยาสะเทินพอดี อยากทราบว่าสารละลาย H2SO4 ที่
นามา มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร
1. 0.12 2. 0.60 3. 1.00 4. 1.50

51
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
80. แบเรี ยมไฮดรอกไซด์ทาปฎิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริ กดังสมการ
Ba(OH)2(aq) + 2 HCl(aq)  BaCl2(aq) + 2 H2O(l)
ถ้าสารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทาปฎิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮไดร-
คลอริ กเข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริ มาตร 100 ลู กบาศก์เซนติ เมตร จงหาความเข้มข้นของเกลื อ
BaCl2 ที่เกิดขึ้นในหน่วยโมล/ลิตร
1. 0.033 2. 0.050 3. 0.133 4. 0.333

81. เมื่ อ น าสารละลายอิ่ ม ตัว Ca(OH)2 ปริ ม าตร 50.0 ลู ก บาศก์ เซนติ เมตร มาไทเทรตด้ว ย
สารละลาย HCl เข้มข้น 0.200 โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร เมื่อถึงจุดยุติพบว่าใช้ HCl ไป 10.0
ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความเข้มข้นเกลือ CaCl2 ที่เกิดในหน่วยโมล/ลิตร

52
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
82. นาสารละลาย 0.30 M NH3 50.0 cm3 มาผสมกับ 0.30 M HCl 50.0 cm3 สาร
ละลายผสมจะมี pH เท่าใด ( สมมุติวา่ NH3 มี Kb = 1.5 x 10–5 )
1. 3 2. 5 3. 8 4. 10

83. นาสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 M 25.0 cm3 ผสมกับกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.10 M
25.0 cm3 สารละลายผสมจะมี pH เท่าใด ( สมมุติวา่ HA มี Ka = 5 x 10–4 )
1. 3 2. 5 3. 8 4. 10

53
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.12.2 กรณีทเี่ หลือกรดแก่หรือเบสแก่
สู ตรที่ใช้คานวณมีดงั นี้
หากเหลือกรดแก่
a c v  b cb vb a ca va  b cb vb
[H3O+] = a a vรวม และ [กรดที่เหลือ] = a vรวม
หากเหลือเบสแก่
b c v  a ca va b cb vb  a ca va
[OH-] = b b vรวม และ [เบสที่เหลือ] = b vรวม

84(แนว En) ถ้ า ผสมสารละลาย NaOH เข้ ม ข้ น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตร 25 cm3 กั บ
สารละลาย HCl เข้ม ข้น 0.15 mol/dm3 ปริ ม าณ 100 cm3 ค่ า pH ของสารละลายเป็ น
เท่าใด

54
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
85(แนว มช) การไทเทรตระหว่า งสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 50 cm3 กับ NaOH 0.1
mol/dm3 เมื่อเติม NaOH ลงไป 50.01 cm3 pH ของสารละลายมีค่าประมาณเท่าใด
1. 9 2. 8 3. 7 4. 5

86(แนว มช) ไทเทรตสารละลาย HNO3 0.0200 mol/dm3 ปริ ม าตร 15.00 cm3 ด้ว ย KOH
0.010 mol/dm3 จงหา pH ของสารละลายเมื่อเติมสารละลาย KOH ลงไป 35.00 cm3
1. 9.7 2. 10.0 3. 10.3 4. 11.0

55
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
87(แนว En) นา Ca(OH)2 หนัก 1.48 กรัม ผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm3 ปริ มาตร
1 dm3 เกิดปฎิกิริยาดังสมการ Ca(OH)2 + HCl  CaCl2 + H2O (สมการยังไม่ดุล)
เมื่อปฎิกิริยาสิ้ นสุ ดลงสารละลายมี pH เท่าไร ( กาหนดให้ log 2 = 0.3010 )
1. 1.7 2. 7.0 3. 12.3 4. 13.7

88. ผสมสารละลาย NaOH 2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 กับสารละลาย NaOH 3 mol/dm3
จานวน 100 cm3 และสารละลาย HCl 2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 สารละลายที่ได้มี
pH เท่าใด

56
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
89(แนว En) เมื่ อนาสารละลาย HCl เข้ม ข้น 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 45 cm3 มาผสมกับ สาร
ละลาย NaOH เข้ม ข้น 1 mol/dm3 ปริ ม าตร x cm3 จะได้ส ารละลายที่ มี pH = 12 จง
คานวณหาค่า x

90(แนว มช) ต้องใช้ NaOH กี่โมล เติมลงในสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 จานวน 500 cm3
เพื่อทาให้สารละลายมี pH เท่ากับ 13 ( สมมุติวา่ ปริ มาตรไม่เปลี่ยนแปลง )

57
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
8.12.3 กรณีทเี่ หลือกรดอ่อนหรือเบสอ่ อน
กรณี ที่ กรด เข้าทาปฏิกริ ยากับเบส แล้วสุ ดท้ายเหลือ กรดอ่อน หรื อ เบสอ่อนอยู่ สารละลาย
สุ ดท้าย จะมีสมบัติเป็ นบัฟเฟอร์ การหา [H3O+] , [OH–] จะต้องใช้สมการของบัฟเฟอร์
หาก เหลือกรดอ่ อน จะได้ สารละลายบัพเฟอร์
a ca va  b cb vb
[กรดที่เหลือ] = a vรวม
cb v
b
[เกลือที่เกิด] = a vรวม
[H3O+] = [[เ กกรลืดอ]] . Ka
หาก เหลือเบสอ่อน จะได้ สารละลายบัพเฟอร์
b cb vb  a ca va
[เบสที่เหลือ] = b vรวม
[เกลือที่เกิด] = bcavva
รวม
[OH–] = [ เ ก ลืส]อ ] . Kb
[ เ บ

91. สารละลายบัฟ เฟอร์ ชนิ ดหนึ่ งเกิ ดจากปฏิ กิริยาระหว่าง CH3COOH 0.5 mol/dm3 จานวน
20 cm3 กั บ สารละลาย NaOH 0.5 mol/dm3 จ านวน 5 cm3 จงค านวณ pH ของ
สารละลายบัฟเฟอร์ น้ ี
กาหนด Ka ของ CH3COOH = 1.0 x 10–5 , log 3 = 0.48
1. 4.52 2. 5.35
3. 3.27 4. คานวนไม่ได้เพราะไม่ใช่บฟั เฟอร์

58
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
92. ผสม HCl 0.2 โมล เข้ากับ NH3 0.6 โมล แล้วท าให้ส ารละลายมี ป ริ มาตร 2 dm3 จง
คานวณ pH ของสารละลายนี้ ( สมมุติวา่ Kb ของ NH3 = 10–5)

8.13 การไทเทรตกรด – เบส


หากมีกรด HCl ซึ่ งยังไม่ทราบค่าความ เข้มข้น สารละลาย NaOH ที่ร้ ูความเข้ มข้ นแน่นอน
อยู่ เราสามารถทาการทดลองหาความเข้มข้นของ
กรด HCl นั้นได้ โดยทาตามกระบวนวิธีต่อไปนี้ บิวเรตต์

ขั้นที่ 1 จัดอุปกรณ์การทดลองดังรู ป
ขั้นที่ 2 ค่อย ๆ หยด NaOH ลงในกรด HCl
NaOH จะทาปฎิกิริยาสะเทินกับ HCl ทาให้ฤทธิ์
กรด HCl ลดลง จนกระทัง่ HCl และ NaOH ทา
สารละลาย HCl ที่ร้ ูปริมาตร แต่ไม่ร้ ูความเข้ มข้ น
ปฎิกิริยากันพอดีจุดซึ่ งทาปฎิกิริยากันพอดี เรี ยก
ผสมกับอินดิเคเตอร์ Bromothymol Blue
จุดสมดุล
และที่จุดสมมูล สี ของอินดิเคเตอร์ Bromothymol Blue จะเปลี่ยนเป็ นสี เขียว จุดที่มีการ
เปลี่ยนสี เรี ยกว่า จุดยุติ

59
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
ขั้นที่ 3 นาปริ มาตรเบส NaOH ที่ใช้หยดไป ความเข้มข้นเบสและปริ มาตรกรดในขวดไป
คานวณหาความเข้มข้นของ HCl ในขวดชมพู่ โดยถือว่ากรด – เบสทาปฏิกริ ยากันหมดพอดี
แล้วใช้สมการต่อไปนี้ทาการคานวณ
a ca va = b cb vb
a คือจานวน H+ ในกรด b คือจานวน OH- ในเบส
ca คือความเข้มข้นกรด ( โมล/ลิตร ) cb คือความเข้มข้นเบส ( โมล/ลิตร )
va คือปริ มาตรกรด ( cm3 ) vb คือปริ มาตรเบส ( cm3 )
กระบวนการทดลองหาความเข้มข้นแบบนี้ เรี ยกการไทเทรต
93. สารละลาย Ba(OH)2 จ านวน 40 cm3 ไทเทรตพอดี ก ับ สารละลาย HCl เข้ม ข้น 0.01
mol/dm3 จานวน 10 cm3 สารละลาย Ba(OH)2 มีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 1.00 x 10–3 2. 1.25 x 10–3 3. 1.00 x 10–4 4. 1.25 x 10–4

60
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
94. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริ มาตร 30 cm3 จะต้องใช้กรด
ฟอสฟอริ ก (H3PO4 ) เข้มข้น 0.25 M กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 0.4 2. 4 3. 8 4. 12

95. เมื่อนาสารละลายที่มี HCl 0.01 โมล มาทาปฏิ กิริยาสะเทินด้วยสารละลาย Ca(OH)2 เข้ม


ข้น 0.1 mol/dm3 จะต้องใช้ Ca(OH)2 กี่ cm3

61
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
96(แนว มช) Mg(OH)2 ผสมแป้ ง เป็ นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ถ้านามา 0.10 กรัม ท าเป็ น
สารละลายแล้ว ไทเทรตด้ว ย HCl 0.20 mol/dm3 ปรากฎว่า ใช้ HCl ไป 10 cm3
จงหาว่าในยาลดกรดนี้มี Mg(OH)2 เป็ นส่ วนผสมอยูก่ ี่กรัม

กราฟของการไทเทรต
ในการไทเทรตนั้น ถ้านาเอาปริ มาณสารละลายที่หยดลงไปและ pH ของสารละลายที่ถูก
หยดในขวดชมพูม่ าเขียนกราฟ จะได้กราฟรู ปตัว S ดังรู ปเสมอ
กรณีที่ 1 การไทเทรตเบสแก่ กบั กรดแก่
เช่นการไทเทรต NaOH โดยหยด HCl ลงไป
pH
เขียนกราฟติเตรชัน่ ได้ดงั รู ป
ปฎิกิริยาที่เกิดคือ
จุดสมมูล pH = 7
HCl + NaOH  NaCl + H2O 7

เกลือ NaCl ที่เกิดจะไม่เกิดไฮโดรลิซิสกับน้ า


ที่จุดสมมูลสารละลายจึงมี pH = 7 การเลือกใช้ ปริมาตร HCl
อินดิเคเตอร์ ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ซ่ ึงเปลี่ยนสี ที่
pH ประมาณ 7 เช่น Bromothymol Blue ช่วงเปลี่ยนสี 6.0 – 8.0
62
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
หมายเหตุ หากไทเทรต HCl โดยหยด NaOH pH

ลงไปเขียนกราฟติเตรชัน่ ได้ดงั รู ป ปริมาตร NaOH

กรณีที่ 2 การไทเทรต เบสแก่ กับกรดอ่อน


เช่นการไทเทรต NaOH โดยหยด CH3COOH pH

ลงไป เขียนกราฟติเตรชัน่ ได้ดงั รู ป


จุดสมมูล pH > 7
ปฎิกิริยาที่เกิดคือ 7

CH3COOH + NaOH  CH3COONa + H2O


เกลือ CH3COONa จะเกิดไฮโดรลิซิสกับน้ าได้เบส ปริมาตร HCl
ที่จุดสมมูลสารละลายจึงมี pH > 7 การเลือกใช้อินดิเคเตอร์
ควรใช้อินดิเคเตอร์ซ่ ึ งเปลี่ยนสี ที่ pH สู งกว่า 7 เช่น Phenolphthalein ช่วงเปลี่ยนสี 8.3 – 10.0
กรณีที่ 3 การไทเทรตเบสอ่อนกับกรดแก่
pH
เช่นการไทเทรต NH3 โดยหยด HCl ลงไป
เขียนกราฟติเตรชัน่ ได้ดงั รู ป
ปฎิกิริยาที่เกิดคือ 7
จุดสมมูล pH < 7
NH3 + HCl  NH4Cl
เกลือ NH4Cl จะเกิดไฮโดรลิซิสกับน้ าได้กรด ปริมาตร HCl
ที่จุดสมมูลสารละลายจึงมี pH < 7 การเลือกใช้อินดิเค-
เตอร์ ควรใช้อินดิเคเตอร์ซ่ ึงเปลี่ยนสี ที่ pH ต่ากว่า 7 เช่น methyl red ช่วงเปลี่ยนสี 4.2 – 6.2
ฝึ กทา. ในการไทเทรตกรดและเบสคู่ต่างๆ ต่อไปนี้ อินดิเคเตอร์ ใดเหมาะสมที่สุด
กาหนดอินดิเคเตอร์ ให้ดงั นี้ อินดิเคเตอร์ A มีช่วงเปลี่ยนสี pH = 3 – 4
อินดิเคเตอร์ B มีช่วงเปลี่ยนสี pH = 6 – 8
อินดิเคเตอร์ C มีช่วงเปลี่ยนสี pH = 9 – 10
1. NaOH + CH3COOH…………………… 2. HCl + NaOH…………………………
3. HCN + KOH………………………….. 4. NH4OH + HNO3……………………
5. H2SO4 + LiOH………………………..

63
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
คาชี้แจง ใช้ ข้อมูลต่ อไปนี้ ประกอบการตอบคาถาม 3 ข้ อถัดไป
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีเ่ ปลีย่ นสี สี ในช่ วง pH ต่า สี ในช่ วง pH สู ง
Methyl orange 3.1 - 4.4 แดง เหลือง
Methyl red 4.2 – 6.2 แดง เหลือง
Litmus 5.0 – 8.0 แดง น้ าเงิน
Phenolphthalein 8.3 – 10.0 ไม่มีสี แดง
97. ในการไทเทรต ระหว่างกรดซัลฟิ วริ กกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ ใด
1. Methyl orange 2. Methyl red 3. Litmus 4. Phenolphthalein

98. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดคาร์ บอนิกกับสารละลายโพแทสเซี ยมไฮดรอกไซด์


ควรเลือกใช้อินดิเคเตอรใด
1. Methyl orange 2. Methyl red 3. Litmus 4. Phenolphthalein

99. อินดิเคเตอร์ในข้อใดที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตระหว่างกรดไนตรัส ( Ka = 5.1 x 10–4 )


กับสารละลาย NaOH 0.1 mol/dm3
1. Methyl orange 2. Methyl red 3. Litmus 4. Phenolphthalein

64
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
สมบัติบางอย่างของสารละลาย กรด เบส และ เกลือ
สมบัติบางอย่างของกรดแก่ ได้แก่
นาไฟฟ้ าได้ดีมาก
เปลี่ยนสี กระดาษลิสมัต จาก น้ าเงิน เป็ นแดง
ทาปฏิกริ ยากับโลหะ ได้แก๊ส H2 เป็ นแก๊สไสไม่มีสี
เช่น Mg + 2 HCl  MgCl2 + H2
สมบัติบางอย่างของเบสแก่ ได้แก่
นาไฟฟ้ าได้ดีมาก
เปลี่ยนสี กระดาษลิสมัต จาก แดง เป็ นน้ าเงิน
ไม่ทาปฏิกริ ยากับโลหะ ไม่เกิดแก๊ส H2
สมบัติบางอย่างของกรดอ่ อน ได้แก่
นาไฟฟ้ าได้เล็กน้อย
เปลี่ยนสี กระดาษลิสมัต จาก น้ าเงิน เป็ นแดง
ทาปฏิกริ ยากับโลหะ ได้แก๊ส H2 เป็ นแก๊สใสไม่มีสี

สมบัติบางอย่างของเบสอ่อน ได้แก่
นาไฟฟ้ าได้เล็กน้อย
เปลี่ยนสี กระดาษลิสมัต จาก แดง เป็ นน้ าเงิน
ไม่ทาปฏิกริ ยากับโลหะ ไม่เกิดแก๊ส H2
สมบัติบางอย่างของเกลือ ได้แก่
ความสามารถในการนาไฟฟ้ าจะขึ้นกับความสามารถในการละลาย
เกลือที่ละลายน้ าได้ดี จะนาไฟฟ้ าได้ดี
เกลือที่ละลายน้ าได้นอ้ ย จะนาไฟฟ้ าได้นอ้ ย
ไม่ทาปฏิกริ ยากับโลหะ ไม่เกิดแก๊ส H2
สมบัติบางอย่างของสารประกอบโควาเลนต์ ได้แก่
หากไม่แตกตัวได้กรด จะไม่นาไฟฟ้ า
ไม่เปลี่ยนสี กระดาษลิสมัต

65
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
100(แนว En) สาร A, B, C, D มีสมบัติดงั นี้
การเปลี่ยนสี ความสว่างของ ปฏิกิริยากับ
สาร การนาไฟฟ้ า
กระดาษลิตมัส หลอดไฟ ลวด Mg
A น้ าเงิน  แดง นา สว่างมาก เกิดแก๊สไม่มีสี
B ไม่เปลี่ยนสี นา สว่างปานกลาง ไม่เกิดแก๊ส
C แดง  น้ าเงิน นา สว่างน้อย ไม่เกิดแก๊ส
D น้ าเงิน  แดง นา สว่างน้อย เกิดแก๊สไม่มีสี
สาร A , B , C , D น่าจะเป็ นสารใด
ข้อ A B C D
1. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดแก่
2. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดอ่อน
3. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดอ่อน
4. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดแก่

66
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
101(แนว มช) เมื่อนาสารละลาย A B C และ D ความเข้มข้นเท่ากันไปทดสอบการเปลี่ ยนสี
กระดาษลิตมัส และความสามารถในการนาไฟฟ้ า ได้ขอ้ มูลดังนี้
สารละลาย สี กระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ
A ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
B แดง  น้ าเงิน สว่างเล็กน้อย
C น้ าเงิน  แดง สว่างมาก
D ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่างเลย
สารละลาย A B C และ D ในข้อใดเป็ นไปได้
A B C D
1. NaCl NH4OH H2SO4 C12H22O11
2. NaCl NaOH C2H5OH H2O
3. KNO3 CH3COOH KOH NH4CN
4. Na2CO3 NH4Cl H2S CH3OH

67
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส
102(แนว En) นาสารละลาย A, B, C และ D ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ทดสอบความสามารถใน
การนาไฟฟ้ าจากความสว่างของหลอดไฟ และสมบัติกรด–เบสของสารจากสี ของกระดาษลิตมัส
ได้ผลการทดลองดังนี้
สารละลาย การเปลีย่ นสี กระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ
A น้ าเงิน  แดง สว่างปานกลาง
B ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
C แดง  น้ าเงิน สว่างเล็กน้อย
D ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง
สารละลาย A , B , C และ D อาจเป็ นสารละลายใดตามลาดับ
1. CH3COOH , NaCl , NaOH , CH3COCH3
2. HCl , KMnO4 , CH3COONa , I2
3. NH4Cl , Na2SO4 , NH4OH , C12H22O11
4. H2SO4 , KNO3 , NH4Cl , NH2CONH2

68
ติวสบายเคมี เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส

เ ฉ ล ย บ ท ที่ 8 ก ร ด – เ บ ส
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบ 5.
9. ตอบ 0.5 10. ตอบ 0.1 11. ตอบ 0.4 12. ตอบ 0.04
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 0.025
21. ตอบ 0.007 22. ตอบ 28.75 23. ตอบ 1.2 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบ 0.6 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบ 4.7 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 3. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบ 0.02
73. ตอบข้ อ 3. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 2.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 1.
81. ตอบ 0.0167 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบ 1
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 4. 87. ตอบข้ อ 3. 88. ตอบ 14
89. ตอบ 5 90. ตอบ 0.1 91. ตอบข้ อ 1. 92. ตอบ 9.3
93. ตอบข้ อ 2. 94. ตอบข้ อ 2. 95. ตอบ 50 96. ตอบ 0.59
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 4. 100. ตอบข้ อ 3.
101. ตอบข้ อ 1. 102. ตอบข้ อ 3.


69

You might also like