You are on page 1of 22

Acid Base

1
กรด เบส

ทฤษฎีกรด เบส
1. Arrhenius
กรด คือ สารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวให้ H+ เบส คือ สารที่ละลายน้ าแล้วแตกตัวให้ OH-
ข้อจากัด ……………………………………………………………………………………………………………………

2. Bronsted & Lowry


กรด คือ สารที่ให้โปรตอน (H+) เบส คือ สารที่รับโปรตอน (H+)

HCO3- + H2O H3O+ + CO32-

HCO3- + H2O H2CO3 + OH-

ข้อจากัด ……………………………………………………………………………………………………………………..
Amphiprotic หรื อ Amphoteric คือ สารที่มีสมบัติเป็ นได้ท้ งั กรดและเบส เช่น H2O, HS-, HSO4-, HCO3-, HPO42-, H2PO4- ยกเว้น
ไอออนลบจากกรดอินทรี ย ์ เช่น HCOO- CH3COO- เป็ นต้น

3. Lewis
กรด คือ สารที่รับอิเล็กตรอนคูโ่ ดด
เบส คือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่โดด
BF3 + NH3 BF3NH3

ทฤษฎีกรด – เบส
1. สารหรื อไอออนใดต่อไปนี้ ไม่สามารถเป็ นได้ท้ งั กรดและเบส
ก. H2O ข. HC2O4- ค. HS- ง. NO3-
2. ถ้าผสมสารละลาย A และสารละลาย B เข้าด้วยกัน A จะทาหน้าที่เป็ นกรด B จะทาหน้าที่เป็ นเบส A และ B คือข้อใด
ก. CH3COOH , HCl ข. Ba(OH)2 , NaHCO3 ค. KCl , CH3COONa ง. NaHCO3 , NH3
3. จากปฏิกิริยาผันกลับต่อไปนี้
HCO3-(aq) + OH-(aq) CO32-(aq) + H2O(l)
สารคู่ใดที่จดั เป็ นกรดตามทฤษฎีของ Bronsted ทั้ง 2 สาร
ก. HCO3- และ CO32- ข. HCO3- และ H2O
ค. OH- และ H2O ง. OH- และ CO32-

2
4. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO3- ไอออน ทาหน้าที่เป็ นกรด
ก. HCO3-(aq) + H2O(l) H2CO3(aq) + OH-(aq)
ข. HCO3-(aq) + OH-(aq) H2O(l) + CO32-(aq)
ค. HCO3-(aq) + HSO4-(aq) H2CO3(aq) + SO42-(aq)
ง. HCO3-(aq) + CH3COOH(aq) H2O(l) + CO2(g) + CH3COO-(aq)
5. ในสมการต่อไปนี้ H2O ทาหน้าที่อะไรในสมการ (1) และ (2) ตามลาดับ
HCl(g) + H2O(l) H3O+(aq) + Cl-(aq) ……………………. (1)
NH3(g) + H2O(l) NH4+(aq) + OH-(aq) ……………………. (2)
ก. เป็ นกรดทั้ง (1) และ (2) ข. เป็ นเบสทั้ง (1) และ (2)
ค. เป็ นกรดใน (1) และเป็ นเบสใน (2) ง. เป็ นเบสใน (1) และเป็ นกรดใน (2)
6. พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ แล้วเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด
(1) HPO42- + OH- PO43- + H2O
(2) HPO42- + H2O H2PO4- + OH-
ก. HPO42- ในสมการ (1) เป็ นเบส แต่ HPO42- ใน (2) เป็ นกรด
ข. HPO42- ในสมการ (1) เป็ นกรด แต่ HPO42- ใน (2) เป็ นเบส
ค. HPO42- ในสมการ (1) และ (2) เป็ นเบส
ง. HPO42- ในสมการ (1) และ (2) เป็ นกรด
7. จากทฤษฎีเกี่ยวกับกรด – เบส ของอาร์รีเนียสและเบริ นสเตด – ลาวรี สารกลุ่มใดที่จดั ว่าเป็ นเบสทุกตัว
ก. CO32- , HPO42- , Cl- , NH4+ ข. Na+ , Ca(OH)2 , NO3- , NH3
ค. OH- , HCO3- , SO42- , NH3 ง. KOH , H2PO4- , H3O+ , SO32-
8. เมื่อแอมโมเนียละลายน้ าจะแตกตัวได้ตามสมการ ข้อความในข้อใดถูกต้อง
NH3 + H2O NH4+ + OH-
ก. NH3 และ NH4+ เป็ นเบส ข. NH3 และ OH- เป็ นเบส
ค. H2O และ OH- เป็ นเบส ง. NH4+ และ OH- เป็ นเบส
9. ข้อใดเป็ นคู่เบสของกรดต่อไปนี้ตามลาดับ HSO3- H2PO4- HCO3-
ก. SO32- , HPO42- , CO32- ข. H2SO3 , H2PO4- , H2CO3
ค. HSO3- , HPO42- , CO32- ง. SO32- , HPO42- , H2CO3
10. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ H2PO3-(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + HPO32-(aq)
HS-(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + S2-(aq)
ไอออนในคูใ่ ดเป็ นคู่กรด คูเ่ บส ซึ่งกันและกัน
ก. H2PO3-(aq) , HPO32-(aq) ข. H2PO3-(aq) , H3O+(aq)
ค. H3O+(aq) , S2-(aq) ง. H3O+(aq) , HS-(aq)
11. น้ าในข้อใดต่อไปนี้มีสมบัติเป็ นเบส ตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-ลาวรี
ก. CO32-(aq) + H2O(l) HCO3-(aq) + OH-(aq)
ข. HClO4(aq) + OH-(aq) ClO4-(aq) + H2O(l)
ค. NH4+(aq) + H2O(l) NH3(aq) + H3O+(aq)
ง. HS-(aq) + OH-(aq) S2-(aq) + H2O(l)
12. ข้อใดที่ไอออนแต่ละชนิดในน้ ามีสมบัติเป็ นกรด
ก. NH4+ CO32- CH3COO- ข. H2PO4- HCO3- NO3-
ค. NH4+ H2PO4- HCO3- ง. HS- H2PO4- CH3COO-
3
13. จากปฏิกิริยา HNO2 + CN- HCN + NO2- ถ้าค่าคงที่สมดุล K = 1 x 106 สามารถสรุ ปได้วา่
ก. NO2- เป็ นเบสที่แก่กว่า CN- ข. HCN เป็ นเบสที่แก่กว่า HNO2
ค. NO2 เป็ นสารคู่กรดของ HNO2
-
ง. HCN เป็ นสารคู่กรดของ CN-
14. ในปฏิกิริยาที่อยูใ่ นภาวะสมดุล HF(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + F-(aq) ถ้าทิศทางของสมดุลเกิดจาก
ขวามาซ้าย จะสรุ ปได้วา่ อย่างไร
ก. HF เป็ นกรดแก่ ข. F- เป็ นเบสที่แก่กว่าน้ า
ค. ค่าคงที่สมดุลมากกว่า 1 ง. ค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1 โดยประมาณ
15. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ HX(aq) + Y-(aq) HY(aq) + X-(aq) ถ้าค่า K ของปฏิกิริยา = 10-2
ข้อสรุ ปใดถูกต้อง
ก. HX เป็ นกรดแก่กว่า H3O+ ข. HY เป็ นกรดแก่กว่า HX
ค. Y เป็ นเบสแก่กว่า X
- -
ง. K(aq) ของปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่า = 0.1
16. ถ้ากรด H2Y มีค่าคงที่สมดุลเป็ น Ka1 = 1.5 x 10-6 และ Ka2 = 1.5 x 10-12 ในสารละลายกรดนี้มีไอออนใดอยูม่ ากน้อยกว่ากัน
ให้เรี ยงลาดับจากมากไปหาน้อย
ก. HY- , Y2- , H3O+ ข. Y2- , H3O+ , HY- ค. H3O+ , HY- , Y2- ง. H3O+ , Y2- , HY-
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 17 – 18
1. HCl + HCN H2CN+ + Cl- 2. HCN + H2O H3O+ + CN-
3. HClO4 + HCl H2Cl+ + ClO4- 4. H2O + NH3 NH4+ + OH-
17. ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. สารละลายชุด 2 , 3 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากน้ าเงินเป็ นแดง
ข. สารละลายชุด 1 , 2 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน
ค. สารละลายชุด 3 , 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากน้ าเงินเป็ นแดง
ง. สารละลายชุด 1 , 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน
18. การเรี ยงลาดับความแรงของกรดจากมากไปน้อย ในข้อใดถูกต้อง
ก. H2O > HClO4 > HCl > HCN ข. HCl > HCN > HClO4 > H2O
ค. HClO4 > HCl > HCN > H2O ง. HCl > HClO4 > HCN > H2O
19. (1) HPO42- (aq) + H2O(l) H3O+(aq) + PO43-(aq) Ka = 4 x 10-13
(2) HPO42-(aq) + H2O(l) OH-(aq) + H2PO4-(aq) Kb = 1 x 10-7
ข้อความใดถูกต้อง
ก. คู่กรดของ HPO42- ในข้อ (1) คือ PO43- ข. คู่เบสของ HPO42- ในข้อ (2) คือ H2PO4-
ค. สารละลายของ HPO42- มี pH อยูร่ ะหว่าง 4 -5 ง. สารละลายของ HPO42- มี [H3O+] < [OH-]
20. พิจารณาสมการต่อไปนี้
(1) HS-(aq) + OH-(aq) A(aq) + B(l)
Cu2+(aq)
D(s)
(2) HS-(aq) + H3O+(aq) C(g) + E(l)
Cu2+(aq)
D(s) + F(g)
ข้อสรุ ปใดผิด
ก. HS- เป็ นได้ท้ งั กรดและเบส ข. สาร D คือ CuS
ค. สาร B และสาร E ทาหน้าที่ต่างกัน ง. สาร B และสาร E เป็ นสารต่างชนิดกันแต่มีสถานะเหมือนกัน
4
ความแรงของกรดและเบส
กรด เบส
นาไฟฟ้าได้ดี นาไฟฟ้าได้ดี
[H+] มาก [OH-] มาก
pH ต่า pH สูง
Ka สูง Kb สูง
การแตกตัวของกรด เบส
- กรดแก่ เบสแก่ แตกตัว 100% ไม่มีค่าคงที่สมดุล
- กรดอ่ อน แบ่งออกเป็ น
1. มอนอโปรติก (monoprotic)
2. ไดโปรติก (diprotic)
3. พอลิโปรติก (polyprotic)
- เบสอ่ อน
BOH B+ + OH-
การแตกตัวของนา้
H2O + H2O H3O+ + OH-
Kw = [H3O+][ OH-] = 1.0 x 10-14 ที่ 25 องศาเซลเซียส
pH และ pOH
pH = - log [H+]
pOH = - log [OH-]
pH + pOH = 14

ค่ าคงที่ Ka , Kb, Kw และร้ อยละการแตกตัว


21. ถ้าค่าคงที่สมดุลของเบสเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ที่ 25๐C เป็ นดังแสดงในตาราง ลาดับความแรงของเบสจากมากไปน้อยคือข้อใด
สารละลายเบส ค่ าคงทีส่ มดุล
A 1.79 x 10-5
B 9.00 x 10-7
C 7.00 x 10-7
D 1.50 x 10-14
ก. A, B, C, D ข. A, C, B, D ค. D, B, C, A ง. D, C, B, A
22. กรด H2A, H2B, H2C มีค่า Ka เท่ากับ 1.03 x 10 , 1.3 x 10 และ 2.3 x 10 ตามลาดับ ข้อมูลใดถูกต้องในการทานายพลังงาน
-17 -4 -3

พันธะของ H – A , H – B , H – C และ Ka ของกรด H2D เมื่อ D เป็ นธาตุที่หนักกว่า C ซึ่งอยูใ่ นหมูเ่ ดียวกัน
พลังงานพันธะ Ka ของ H2D
ก. H-A < H-B < H-C 1 x 10-8
ข. H-A < H-B < H-C 1 x 10-1
ค. H-A > H-B >H-C 1 x 10-8
ง. H-A >H-B > H-C 1 x 10-1

5
23. กาหนดค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดและเบส ดังนี้ สาหรับสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ข้อใดถูกต้อง
1. HNO2 Ka = 4.5 x 10-4 2. C6H5COOH Ka = 6.5 x 10-5
3. NH(CH3)2 Kb = 7.4 x 10-4 4. N2H4 Kb = 9.8 x 10-7
ก. สารละลาย 4 มี pH สูงสุด
ข. การแตกตัวของสารละลาย 1 มากกว่าสารละลาย 2 ประมาณ 10 เท่า
ค. สารละลาย 3 และสารละลาย 4 จะเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น้ าเงินเป็ นแดง
ง. สารละลาย 1 ผสมกับสารละลาย 4 ในปริ มาตรที่เท่ากัน สารละลายที่เกิดจากการผสมจะมี pH < 7
24. กาหนดค่าคงที่สมดุลของสารต่างๆ ดังนี้
1. HCOOH Ka = 1.76 x 10-4 2. C6H5COOH Ka = 6.46 x 10-5
3. CH3NH2 Kb = 3.70 x 10-4 4. NH4OH Kb = 1.77 x 10-5
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
ก. เมื่อทุกสารละลายมีความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย 1 จะมี pH ต่าสุด สารละลาย 4 มี pH สูงสุด
ข. C6H5COOH เป็ นกรดที่อ่อนกว่า HCOOH และ NH4OH เป็ นเบสที่แก่กว่า CH3NH2
ค. สารละลาย 4 เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น้ าเงินเป็ นแดง ขณะที่สารละลาย 3 ไม่เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสสี น้ าเงิน
ง. หลังจากผสมสารละลาย 1 กับ 3 ด้วยความเข้มข้นและปริ มาตรเท่ากัน สารละลายผสมสามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจาก
สี แดงเป็ นน้ าเงิน
25. ละลายกรดฟอร์มิก(HCOOH) จานวนหนึ่งในน้ า 5 ลิตร พบว่ามี H3O+ เข้มข้นเท่ากับ 5.0 x 10-3 mol/dm3 ถ้าค่าคงที่สมดุลของ
กรดนี้เท่ากับ 2.0 x 10-4 สารละลายนี้มีกรดฟอร์มิกละลายอยูก่ ี่กรัม
26. HA เป็ นกรดอ่อนมีค่าคงที่สมดุลการแตกตัวเท่ากับ 1 x 10-4 สารละลาย HA 1 mol.dm-3 จะแตกตัวได้ร้อยละเท่าใด
ก. 1 ข. 2 ค. 4 ง. 10
27. เมื่อนากรด HCN ซึ่งมีค่า Ka = 4.9 x 10 มา 5.4 g เติมน้ ากลัน่ จนได้สารละลายปริ มาณ 2 L อยากทราบว่ากรดนี้แตกตัวได้กี่ %
-10

ก. 0.005 ข. 0.007 ค. 0.05 ง. 0.07


28. กรดอ่อน HX มีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 2.5 x 10-6 สารละลายกรด HX จะต้องมีความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จึงจะ
ทาให้ความเข้มข้นของ H3O+ เท่ากับ 2 x 10-3 mol.dm-3
ก. 0.8 ข. 1.6 ค. 2.0 x 10-3 ง. 3.6 x 10-3
29. จงคานวณร้อยละการแตกตัวของกรดฟอร์มิก(HCOOH) ในสารละลาย HCOOH เข้มข้น 0.20 mol/dm3 (กาหนดค่าคงที่การ
แตกตัวของกรด = 1.8 x 10-4)
30. กรดอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 1.0 mol/dm3 แตกตัวได้ 10% กรดเดียวกันนี้ เมื่อเข้มข้น 0.10 mol/dm3 จะแตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์
ก. มากกว่า 10% ข. น้อยกว่า 10% ค. เท่ากับ 10% ง. เท่ากับ 100%
31. จากค่า Ka ของสารละลายที่ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 การเปรี ยบเทียบความเข้มข้นของ H3O+ และ pH ของข้อใดถูกต้อง
สารละลาย Ka [H3O+] pH
HNO2 4.5 x 10-4 a e
HF 6.8 x 10-4 b x
HOCl 3.5 x 10-5 c y
HCN 4.9 x 10-10 d z
ก. a = b และ e = x ข. b > c และ y < x
ค. c > d และ y < z ง. b > d และ x > y

6
32. ค่าคงที่สมดุลของกรดต่างๆ เป็ นดังนี้
กรด Ka
H2SO3 1.2 x 10-2
HNO2 5.1 x 10-4
HCN 4.8 x 10-10
H2S 1.1 x 10-7
ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. เรี ยงลาดับความเป็ นกรดเป็ นดังนี้ H2SO3 < HNO2 < H2S < HCN
ข. เรี ยงลาดับความเป็ นเบสเป็ นดังนี้ CN- < HS- < NO2- < HSO3-
ค. สารละลายทั้ง 4 ชนิด เป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลท์แก่ ไม่นาไฟฟ้า
ง. ถ้าสารละลายทั้ง 4 ชนิด มีความเข้มข้นเท่ากันสารละลาย H2SO3 นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด
33. จากสารละลายเบสต่อไปนี้ เบสชนิดใดเป็ นเบสอ่อนที่สุด
เบส ความเข้ มข้ น (mol/dm3) %การแตกตัว
ก. AOH 0.1 5
ข. BOH 0.5 1.0
ค. COH 1.0 0.5
ง. DOH 5.0 0.1
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 38 - 39 กาหนดให้สารละลายของกรด 4 ชนิด แต่ละชนิดมีความเข้มข้นเท่ากัน คือ 0.1 M
กรด ค่ า Ka ที่ 25๐C
HClO2 1.1 x 10-2
HF 6.8 x 10-4
CH3COOH 1.8 x 10-5
H2CO3 4.4 x 10-7
34. pH ของสารละลายกรดในข้อใดมีมากที่สุด
ก. HClO2 ข. H2CO3 ค. HF ง. CH3COOH
35. ถ้าผ่านแก๊ส HCl ลงในสารละลาย CH3COOH 0.1 M นี้ จนความเข้มข้นของกรด HCl เป็ น 0.3 M จะมี H3O+ เข้มข้นกี่ Molar
ก. 0.10 ข. 0.20 ค. 0.30 ง. 0.40
36. กรด A B C D เป็ นกรดมอนอโปรติก
สารละลาย ปริมาตร (cm3) ความเข้ มข้ น (mol/dm3) Ka
A 50 1.5 6 x 10-10
B 100 0.1 4 x 10-5
C 100 0.01 1 x 10-4
D 150 1.0 4 x 10-8
จากข้อมูลข้างต้น สารละลายใดมี pH ต่าที่สุด
ก. A ข. B ค. C ง. D

7
การคานวณ pH, pOH, [H+], [OH-] ของกรด – เบส
37. จงคานวณความเข้มข้นของ OH- ไอออนเป็ น mol/dm3 ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 0.1 mol/dm3
ก. 1.0 x 10-1 ข. 1.0 x 10-8 ค. 1.0 x 10-13 ง. 1.0 x 10-14
38. จงคานวณหาปริ มาณ OH- ในสารละลายกรดแก่มอนอโปรติกเข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตร 25 cm3
ก. 1.0 x 10-13 mol ข. 1.0 x 10-8 mol ค. 2.5 x 10-15 mol ง. 1.0 x 10-14 mol
39 . จงคานวณหาปริ มาณ OH- ในสารละลายกรดแก่มอนอโปรติกเข้มข้น 0.02 mol/dm3 ปริ มาตร 20 cm3
ก. 0.5 x 10-12 mol ข. 2.5 x 10-13 mol ค. 1.0 x 10-14 mol ง. 2.0 x 10-15 mol
40. สารละลายเบสอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 0.10 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 9.0 ค่าคงที่ของสมดุลของเบสอ่อนนี้มีค่าเท่าใด
ก. 10-9 ข. 10-17 ค. 10-10 ง. 10-18
41. สารละลายชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน 1.0 x 10-6 mol/dm3 สารละลายนี้มี pH เท่ากับเท่าไร
ก. 6 ข. 8 ค. 10 ง. 12
42. ถ้าต้องการเปลี่ยน pH ของสารละลาย HCl จาก pH เท่ากับ 3 ไปเป็ น pH เท่ากับ 2 จะต้องเติมแก๊ส HCl ลงไปอีก
กี่โมล ในสารละลายที่มีปริ มาตร 1 dm3 เท่าเดิม
ก. 1 ข. 0.01 ค. 0.09 ง. 0.009
43. ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก 1.0 mol/dm จานวน 2 cm ลงในน้ า 200 cm สารละลายใหม่ที่ได้จะมี pH เท่าใด
3 3 3

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
44. เมื่อนาสารละลายที่มี pH = 5 จานวน 10 cm3 มาผสมกับน้ าให้ได้ 100 cm3 จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด
ก. 10 ข. 6 ค. 4 ง. 1
45. ในน้ าปูนใสมี Ca(OH)2 ละลายอยู่ 5.10 x 10 g/100 cm ถ้า Ca(OH)2 เป็ นเบสแก่ ความเข้มข้นของ OH- ในสารละลายเป็ นเท่าใด
-2 3

ก. 0.138 ข. 8.95 x 10-2 ค. 1.38 x 10-2 ง. 6.89 x 10-3


46. ข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดถูกต้องที่สุด (กาหนด log 2 = 0.301)
ก. สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+ ไอออนน้อยกว่า 1.0 x 10-8 mol/dm3 จะมีค่า pH น้อยกว่า 8
ข. pH ของสารละลายมีค่าเป็ นบวกเสมอ
ค. pH ของสารละลายกรด HCl เข้มข้น 2 mol/dm3 มีค่าเท่ากับ 0.301
ง. pH ของสารละลาย NaOH เข้มข้น 2 mol/dm3 มีค่าเท่ากับ 14.301
47. ข้อใดเป็ นการเตรี ยมสารละลาย HCl pH เท่ากับ 3 จานวน 1 dm3
ก. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH = 1 มา 10 cm3 เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ข. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH = 1 มา 100 cm3 เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ค. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH = 2 มา 10 cm3 เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
ง. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH = 2 มา 50 cm3 เติมน้ าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
48. ในการเตรี ยมสารละลาย pH 13 ข้อใดถูกต้อง
ก. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 จานวน 10 cm3 แล้วเจือจางด้วยน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm3
ข. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จานวน 10 cm3 แล้วเจือจางด้วยน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm3
ค. ชัง่ NaOH หนัก 4 g. ละลายน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm3
ง. ชัง่ NaOH หนัก 0.4 g. ละลายน้ ากลัน่ จนมีปริ มาตร 100 cm3
49. สารละลาย HCN เข้มข้น 2.5 x 10-1 mol/l มี pH เท่าใด (K = 4 x 10-10)
ก. 2 x 10-5 ข. 2.0 ค. 4.7 ง. 5.0
50. ค่า pH จะเป็ นเท่าใด ในสารละลายที่มี HClO4 1.0 x 10 mol ในน้ าบริ สุทธิ์ 1 dm
-7 3

ก. น้อยกว่า 6.0 ข. ประมาณ 6.7 ค. เท่ากับ 7.0 ง. มากกว่า 7.0

8
การคานวณค่ า pH, pOH, [H+], [OH-] เมื่อผสมกรดและเบส
51. ถ้านาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 1.0 mol/l ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ A และ B ใบละ 40 cm3 แล้วเติม
สารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเข้มข้น 1.0 mol/l จานวน 10 cm3 ลงในบีกเกอร์ A ส่วนในบีกเกอร์ B นาไปเคี่ยวให้
สารละลายมีปริ มาตรลดลงเหลือ 30 cm3 ข้อความใดถูกต้อง
ก. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A มากกว่าบีกเกอร์ B
ข. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A น้อยกว่าบีกเกอร์ B
ค. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A มากกว่า บีกเกอร์ B
ง. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A และ B เท่ากัน
52. เมื่อนาสารละลาย KOH 0.01 M 50 cm3 มาผสมกับสารละลาย HCl 0.02 M จานวน 100 cm3 จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด
ก. 1 ข. 5 ค. 2 ง. 3
53. เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2 mol/dm จานวน 30 cm กับสารละลาย NaOH 0.05 mol/dm3 จานวน 20 cm3 เข้าด้วยกัน
3 3

สารละลายที่ได้มี pH เท่าใด
ก. 5 ข. 3 ค. 2 ง. 1
54. ถ้าผสมสารละลาย NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตร 25 cm3 กับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.15 mol/dm3 ปริ มาตร 100 cm3
ค่า pH ของสารละลายเป็ นเท่าใด
55. เมื่อผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 mol/l จานวน 30.00 cm3 กับสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 2.0 mol/l จานวน 10.00 cm3
จะได้สารละลายที่มี H3O+ เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร
56. ใส่ NaOH 320 มิลลิกรัม ลงในสารละลาย 0.2 mol/dm3 H2SO4 50 cm3 สารละลายที่ได้มีสมบัติอย่างไร
ก. เป็ นสารละลายสะเทิน ข. เป็ นสารละลายกรด
ค. เป็ นสารละลายเบส ง. นาไปเคี่ยวจนแห้งเหลือผงเกลือโซเดียมซัลเฟต
57. นาสารละลายกรดแก่ pH = 3 ปริ มาตร 10 cm3 มาผสมน้ าจนกระทัง่ มีปริ มาตรเป็ น 890 cm3 แล้วเติมเบสแก่ที่มี pH = 10
จานวน 10 cm3 ลงไปจะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7
58. จะเติมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ลงไปเท่าใดในสารละลาย HNO3 เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จานวน 25 cm3
เพื่อให้สารละลายมี pH 3 พอดี
ก. 24.00 cm3 ข. 24.25 cm3 ค. 24.50 cm3 ง. 24.75 cm3
59. สมมุติวา่ หลอดหยดอันหนึ่งมีจานวนหยด 20 หยดต่อ 1 cm3 ถ้าหยดสารละลาย HCl เข้มข้น 0.4 mol/dm3 สองหยดลงใน
น้ า 200 cm3 ในภาชนะ A แล้วใช้หลอดหยดอันเดียวกันนี้หยดสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.2 mol/dm3 สองหยดลงในภาชนะ
A คนให้เข้ากัน ความเข้มข้น H+ ไอออนในภาชนะ A มีค่าเท่าใด
ก. 2 x 10-5 mol/dm3 ข. 1 x 10-4 mol/dm3 ค. 2 x 10-4 mol/dm3 ง. 1 x 10-3 mol/dm3
60. นา Ca(OH)2 หนัก 1.48 g ผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm3 ปริ มาตร 1 dm3 เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงสารละลายมี pH
เท่าใด (กาหนดให้ log 2 = 0.3010) Ca(OH)2 + HCl CaCl2 + H2O (สมการยังไม่ดุล)
ก. 1.7 ข. 7.0 ค. 12.3 ง. 13.7
61. จงหา pH ของสารละลายที่เกิดจากการผสมสารละลาย 2.00 mol.dm NaOH จานวน 25.00 cm3 ด้วยสารละลาย
3

0.30 mol.dm3 HCl จานวน 175.00 cm3 [กาหนด log(1.25) = 0.10]


62. เมื่อนาสารละลาย HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริ มาตร 45 cm3 มาผสมกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 1 mol/dm3
ปริ มาตร x cm3 จะได้สารละลายที่มี pH 12 จงคานวณหาค่า x
63. เมื่อผสม NaOH 0.1 mol/dm3 200 cm3 กับ HCl 0.2 mol/dm3 300 cm3 pH ของสารละลายนี้เป็ นเท่าใด

9
เกลือ
เกลือ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส สามารถแบ่งได้ 4 ชนิด คือ
1. เกลือที่เกิดจากกรดแก่และเบสแก่ เช่น NaCl, KNO3 มีสมบัติเป็ นกลาง
2. เกลือที่เกิดจากกรดแก่และเบสอ่อน เช่น NH4Cl, NH4NO3 มีสมบัติเป็ นกรด
3. เกลือที่เกิดจากกรดอ่อนและเบสแก่ เช่น NaCN, CH3COONa มีสมบัติเป็ นเบส
4. เกลือที่เกิดจากกรดอ่อนและเบสอ่อน เช่น NH4CN, NH4NO2 มีสมบัติเป็ นกรดหรื อเบส จะขึ้นอยูก่ บั ค่า Ka และKb
ของกรดเบสนั้นๆ

การละลายนา้ ของเกลือ
เกลือบางชนิดสามารถแตกตัวในน้ าได้ 100% ไอออนที่เกิดขึ้นสามารถทาปฏิกิริยากับน้ าได้ เรี ยกว่าปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
เกลือเบส เช่น CH3COONa

เกลือกรด เช่น NH4Cl

ค่ าคงทีก่ ารละลายนา้ ของเกลือ (Kh)


1. จงหาค่า [H+] และ [OH-] ของสารละลาย NH4Cl 0.1 M Kb 2. จงหาค่า [OH-] ของสารละลาย 0.01 M CH3COONa เมื่อ Ka
ของ NH4OH = 1.8 x 10-5 CH3COOH = 1.8 x 10-5

เกลือ
64. เกลือทุกตัวในข้อใดเมื่อละลายน้ าแล้ว สามารถเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากน้ าเงินเป็ นแดง
ก. NH4NO3 , NaHSO4 ข. NH4Cl , HCOONa ค. NaHS , CH3COONa ง. KNO2 , NaHCO3
65. สารละลายของเกลือในน้ า ข้อใดที่ฤทธิ์เป็ นด่างทุกชนิด
ก. HCOONa , KBr , NH4NO3 ข. NH4Cl , NaOH , NaCl
ค. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 ง. KCN , CH3COONa , HCOONa
66. กลุ่มเกลือที่ละลายน้ าแล้วจะให้สารละลายที่มีสมบัติเป็ นเบส คือสารใด
ก. HCOONa , KBr , NH4NO3 ข. KCN , CH3COONa , HCOONa
ค. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 ง. NH4Cl , NaOH , NaCl
คาชี้แจง กาหนดค่า Ka ของกรดที่ 25๐C
HClO2 = 1.1 x 10-2 CH3COOH = 1.8 x 10-5
HF = 6.8 x 10-2 HCN = 4.8 x 10-11
67. สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากันของเกลือต่อไปนี้ ข้อใดมีความเป็ นเบสมากที่สุด
ก. NaClO2 ข. CH3COONa ค. NaF ง. NaCN
10
68.จากข้อมูลดังกล่าว สารละลาย A , B , C และ D ควรเป็ นสารละลายในข้อใด ตามลาดับ
สารละลาย การนาไฟฟ้ า กระดาษลิตมัส ทดสอบกับ NaHCO3 ทดสอบกับ Mg
A นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
B นา น้ าเงิน – แดง เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส
C นา แดง – น้ าเงิน เกิดตะกอนขาว ไม่เกิดแก๊ส
D ไม่นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
ก. น้ าเกลือ น้ าส้มสายชู น้ าปูนใส และน้ าเชื่อม ข. น้ าเชื่อม น้ าเกลือ น้ าปูนใส และน้ าส้มสายชู
ค. น้ าเชื่อม น้ าส้มสายชู น้ าเกลือ และน้ าปูนใส ง. น้ าเกลือ น้ าปูนใส น้ าส้มสายชู และน้ าเชื่อม
69. เมื่อนาเกลือ 4 ชนิดต่อไปนี้มาละลายน้ า
1. NH4NO3 2. CH3COONa 3. Na2CO3 4. K2SO4
สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่สามารถเปลี่ยนสี ของกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นน้ าเงิน
ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
70. การทดสอบสมบัติของสารละลายเข้มข้น 0.1 mol/dm ได้ผลดังนี้ สาร A , B , C และ D คืออะไร ตามลาดับ
3

ความสว่ างของ
สารละลาย ปฏิกริ ิยากับ Mg ปฏิกริ ิยากับ NaHCO3 การเปลีย่ นสีลติ มัส
หลอดไฟ
A มากที่สุด เกิดแก๊ส H2 เกิดแก๊ส น้ าเงิน – แดง
B มากที่สุด ไม่เกิด ตะกอนขาว แดง – น้ าเงิน
C สว่างปานกลาง ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน แดง – น้ าเงิน
D มากที่สุด ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน ไม่เปลี่ยนสี
ก. กรดไนตริ ก โซเดียมคลอไรด์ น้ าปูนใส โซเดียมแอซีเตต
ข. กรดไฮโดรคลอริ ก น้ าปูนใส โซเดียมแอซีเตต โซเดียมคลอไรด์
ค. กรดซัลฟิ วริ ก โซเดียมแอซีเตต น้ าปูนใส โซเดียมคลอไรด์
ง. กรดไฮโดรคลอริ ก น้ าปูนใส โซเดียมแอซีเตต แอลกอฮอล์
71. ข้อใดที่สารละลายทุกชนิดเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส
ก. CH3COONa , Ca(OH)2 , NH4NO3 ข. KHSO4 , Na3PO4 , NaClO4
ค. Na2CO3 , Ba(OH)2 , NaClO4 ง. K2S , NaCN , (NH4)3PO4
72. ข้อใดถูกต้อง
ก. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของเกลือ KCN และ HCl เป็ นเบส
ข. สารละลายของเกลือ NaCl และ KCN เป็ นกลาง แต่สารละลายของ NH4Cl เป็ นกรด
ค. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของ KCN เป็ นกรด และสารละลายของ NH4Cl เป็ นเบส
ง. สารละลายของเกลือ NaCl เป็ นกลาง แต่สารละลายของ KCN เป็ นเบส และสารละลายของ NH4Cl เป็ นกรด
73. นาสารละลายของเกลือโซเดียม 3 ชนิด คือ NaX NaY NaZ ซึ่งมีความเข้มข้น 0.20 mol/dm3 เท่ากัน มาหาค่า pH พบว่ามี pH
เท่ากับ 7 8 และ 9 ตามลาดับ ความเป็ นกรดของ HX HY และ HZ จะเป็ นอย่างไร
ก. HX > HY > HZ ข. HY > HZ > HX
ค. HZ > HX > HY ง. HZ > HY > HX

11
74. พิจารณาผลการทดลอง สาร A , B , C และ D น่าจะเป็ นสารใด ตามลาดับ
สารละลาย การเปลีย่ นสีของลิตมัส การนาไฟฟ้ า ปฏิกริ ิยา Mg ปฏิกริ ิยากับ NaHCO3
A น้ าเงิน เป็ น แดง นา เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส
B ไม่เปลี่ยนสี นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
C ไม่เปลี่ยนสี ไม่นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
D แดง เป็ น น้ าเงิน นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
ก. HCl เอทานอล น้ าตาลทราย KOH
ข. CH3COOH น้ าตาลทราย เอทานอล NaOH
ค. CH3COOH KNO3 เอทานอล CH3COONa
ง. HCl น้ าตาลทราย เอทานอล CH3COONa
75. สารละลาย A , B และ A + B ควรเป็ นข้อใด
การเปลีย่ นสีทสี่ ังเกตได้
สารละลาย
การเปลีย่ นสีกระดาษลิตมัส การนาไฟฟ้ า กับลวด Mg
A น้ าเงิน – แดง นา เกิดฟองแก๊สมาก
B แดง – น้ าเงิน นา เกิดฟองแก๊สน้อย
A+B ไม่เปลี่ยนสี ไม่นา เกิดฟองแก๊สน้อย
ก. HNO3 , KOH , KNO3 ข. HCl , Ba(OH)2 , BaCl2
ค. HI , NaOH , NaI ง. H2CO3 , Ca(OH)2 , CaCO3
76. นาสารละลาย A, B, C, D ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ทดสอบความสามารถในการนาไฟฟ้าจากความสว่างของหลอดไฟและ
สมบัติกรด-เบสของสารจากสี ของกระดาษลิตมัส ได้ผลการทดลองดังนี้
สารละลาย การเปลีย่ นสีกระดาษลิตมัส ความสว่ างของหลอดไฟ
A น้ าเงิน  แดง สว่าง
B ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
C แดง  น้ าเงิน สว่างเล็กน้อย
D ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง
สารละลาย A, B, C, D อาจจะเป็ นสารละลายใด ตามลาดับ
ก. CH3COOH NaCl NaOH CH3COOH
ข. HCl KMnO4 CH3COONa I2
ค. NH4Cl Na2SO4 NH4OH C12H22O11
ง. H2SO4 KNO3 NH4Cl NH2CONH2
77. ปฏิกิริยาข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยา กรด-เบส
ก. CH3CH-COO- + H2O CH3CH-COO- + H3O+
+NH3 NH2
ข. CH3CH-COO- + H2O CH3CH-COOH + OH-
+NH3 NH3
ค. 2CH3COOH + 2Na CH3CHCOONa + H2
ง. CH3COOH + NH3 CH3CHCOONH4

12
สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer)
สารละลายบัฟเฟอร์ คือ สารละลายที่สามารถรักษาระดับ pH ไม่ให้เปลี่ยนแปลง หรื อเปลี่ยนแปลงน้อยมากเมื่อมีการเติม น้ า
กรด หรื อ เบส ลงไปเล็กน้อย สารละลายบัฟเฟอร์ แบ่งออกเป็ น 1. ผสมสาร 2. ทาปฏิกิริยา

1. ผสมสาร 2. ปฏิกริ ิยา


1. กรดอ่อน กับ เกลือของมัน
CH3COOH + CH3COONa
2. เบสอ่อน กับ เกลือของมัน
NH4OH + NH4Cl
3. เกลือที่เป็ นคู่กรด-เบสกัน
NaH2PO4 / Na2HPO4

บัฟเฟอร์
78. สารละลายผสมข้อใดจัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ท้ งั คู่
สารละลายชนิดที่ 1 สารละลายชนิดที่ 2
ก. HCN กับ KCN HNO3 กับ KNO3
ข. NaH2PO4 กับ Na2HPO4 NH4Cl กับ NH3
ค. HI กับ BaI2 NaH2PO4 กับ Na2HPO4
ง. HBr กับ KBr NaHCO3 กับ Na2CO3
79. สารละลาย 5 ชนิด มีองค์ประกอบคูห่ นึ่งละลายอยู่ คือ
I. CH3COONa และ CH3COOCH3 II. CH3COONa และ CH3COOH
III. NaOH และ NaCl IV. NH3 และ (NH4)2SO4 V. NH3 และ NaCN
สารละลายใดจะมีการเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยมาก เมื่อเติมกรดหรื อเบสลงไป
ก. I และ II ข. I และ III ค. II และ IV ง. III และ V
80. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์
ก. 10 cm3 1.0 mol/dm3 NH3 + 10 cm3 1.0 mol/dm3 NH4OH
ข. 10 cm3 1.0 mol/dm3 H2S + 10 cm3 1.0 mol/dm3 Na2S
ค. 10 cm3 1.0 mol/dm3 NaOH + 20 cm3 1.0 mol/dm3 CH3COOH
ง. 10 cm3 1.0 mol/dm3 CH3COOH + 20 cm3 1.0 mol/dm3 NaCN
81. สารละลายในข้อใดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์
ก. HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaCl 5.85 g.
ข. HCN เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตรเท่ากัน
ค. HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตรเท่ากัน
ง. CH3COOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริ มาตรเท่ากัน
82. สารละลายผสมในข้อใดไม่เป็ นบัฟเฟอร์
ก. NH3 เข้มข้น 0.01 mol/dm3 20 cm3 กับ HNO3 เข้มข้น 0.01 mol/dm3 10 cm3
ข. NH3 เข้มข้น 0.02 mol/dm3 20 cm3 กับ HCl เข้มข้น 0.04 mol/dm3 10 cm3
ค. CH3COOH เข้มข้น 0.03 mol/dm3 20 cm3 กับ KOH เข้มข้น 0.02 mol/dm3 20 cm3
ง. HF เข้มข้น 0.04 mol/dm3 20 cm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.04 mol/dm3 10 cm3
13
83. กาหนดปฏิกิริยา
1. HPO42-(aq) + H3O+(aq) H2PO4-(aq) + H2O(l)
2. H2PO4-(aq) + OH-(aq) HPO42-(aq) + H2O(l)
3. HPO42-(aq) + OH-(aq) PO43-(aq) + H2O(l)
4. H2PO4-(aq) + H3O+(aq) H3PO4(aq) + H2O(l)
เมื่อเติมสารละลายกรดเจือจางหรื อเบสเจือจาง 2 หยด ลงในสารละลายผสมที่มี Na2HPO4 และ NaH2PO4 ละลายอยูป่ ฏิกิริยาที่
เกิดขึ้นที่ทาให้ pH ของสารละลายไม่เปลี่ยนแปลงคือข้อใด
ก. 1 และ 2 ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 4 ง. 3 และ 4
84. กรดเบนโซอิก (C6H5COOH) มีค่า Ka ต่า ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริ กเพียงเล็กน้อย ลงในของผสมระหว่าง
กรดเบนโซอิกกับโซเดียมเบนโซเอต ข้อใดถูกต้อง
ก. ปริ มาณของเบนโซเอตไอออนลดลง และค่า pH เปลี่ยนแปลงมาก
ข. ปริ มาณของเบนโซเอตไอออนเพิ่มขึ้น และค่า pH คงที่
ค. ปริ มาณของเบนโซเอตไอออนเพิ่มขึ้น และค่า pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
ง. ปริ มาณของเบนโซเอตไอออนลดลง และค่า pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
85. สารละลายคู่กรดเบนโซอิกกับโซเดียมเบนโซเอต 10 cm3 มี pH เท่าไร ถ้าความเข้มข้นของเบนโซอิกเป็ น 2 เท่าของ
โซเดียมเบนโซเอตเมื่อปริ มาตรเท่ากัน (Ka ของกรดเบนโซอิก = 5.0 x 10-5)
ก. 1 ข. 4 ค. 5 ง. 6
86. สารละลายบัฟเฟอร์ที่ประกอบด้วยกรดฟอร์มิกและโพแทสเซียมฟอร์เมตมี pH = 4 อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นของเกลือ :
กรดควรมีค่าประมาณเท่าใด (Ka = 1.8 x 10-4)
ก. 0.36 x 10-4 ข. 0.55 ค. 1.1 ง. 1.8
87. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายบัฟเฟอร์ให้มี pH ประมาณ 9 ควรใช้สารผสมคู่ใด
ก. NH4NO3 + NH3 ข. NaOAc + HOAc ค. NaHCO3 + Na2CO3 ง. NH4OH + NaOH
88. สารละลายบัฟเฟอร์ปริ มาตร 1 dm3 ได้จากการผสมสารละลาย 0.1 M HCOOH กับสารละลาย 0.1 M HCOONa สามารถควบคุม
pH ของสารละลายให้ค่อนข้างคงที่ได้ เมื่อเติมสารละลาย 0.1 M KOH ลงไป 1.0 cm3 เพราะ
ก. OH- ไอออนถูกสะเทินด้วย H+ ในสารละลายบัฟเฟอร์ ข. OH- ไอออนไปรวมกับ Na+ ไอออน
ค. OH- ไอออนถูกทาให้เจือจาง ง. KOH ที่เติมลงไปน้อยมาก
89. นักวิง่ มาราธอนตรวจวัด pH ในเลือดก่อนวิง่ ได้เป็ น 7.4 เมื่อวิง่ แข่งขันเสร็ จได้ค่า pH เป็ น 7.1 ถ้า pH ของเลือดถูกควบคุม
ด้วยความเข้มข้นของ H2CO3/HCO3- และ H2PO4-/HPO42- อัตราส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปในข้อใดถูก
1. [HCO3-] ลดลง 2. [HCO3-] เพิม่ ขึ้น
[H2CO3] [H2CO3]
3. [H2PO4-] ลดลง 4. [H2PO4-] เพิ่มขึ้น
[HPO4 ]
2-
[HPO4 ]
2-

ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4


90. การเตรี ยมสารละลายในข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์
ก. เติม NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จานวน 150 cm3
ข. เติม NaOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน CH3COOH เข้มข้น 0.05 mol/dm3 จานวน 20 cm3
ค. เติม HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน NH3 เข้มข้น 0.02 mol/dm3 จานวน 200 cm3
ง. เติม HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm3 จานวน 25 cm3 ลงใน NH3 เข้มข้น 0.02 mol/dm3 จานวน 100 cm3

14
อินดิเคเตอร์
อินดิเคเตอร์ เป็ นสารอินทรี ยจ์ าพวกสี ยอ้ ม อาจจะเป็ น กรดอ่อน หรื อ เบสอ่อน อินดิเคเตอร์เมื่ออยูใ่ นสารละลายจะมีสีที่
ต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั pH ของสารละลายนั้นๆ
อินดิเคเตอร์ pH range สีรูปกรด-สีรูปเบส สีของสารละลายทีจ่ ุดยุติ ใช้ ไทเทรต

Methyl orange M.O. 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง ……………………… ………………………

Methyl red M.R. 4.4 – 6.2 แดง – เหลือง ……………………… ………………………

Bromothymol blue B.B. 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน ……………………… ………………………

Phenophthalene  8.3 – 10.4 ไม่มีสี – ชมพู ……………………… ………………………

อินดิเคเตอร์
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 91 – 92
อินดิเคเตอร์ เปลีย่ นสีเมื่อสารละลายมี pH ระหว่ าง
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4
โบรโมครี ซอลกรี น 3.8 – 5.4
เมทิลเรด 4.4 – 6.3
ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0
91. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดแอซีติกและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ควรเลือกใช้อินดิเคเตอร์ใด
ก. เมทิลออเรนจ์ ข. โบรโมครี ซอลกรี น ค. เมทิลเรด ง. ฟี นอล์ฟทาลีน
92. เมื่อเติมฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมี pH เท่ากับ 7.8 ปรากฏเป็ นสี อะไร
ก. ไม่มีสี ข. สี น้ าเงิน ค. สี แดง ง. สี บานเย็น
93. กรดอินทรี ยอ์ ย่างอ่อนชนิดหนึ่งมีสมบัติเป็ นสารอินดิเคเตอร์ในการไทเทรตกรด-เบส และมีสมดุลในสารละลาย ดังสมการ
HIn + H2O H3O+ + In-
สี แดง สี เหลือง
ถ้าขณะไทเทรต สารละลายที่มีอินดิเคเตอร์จะมีสีอะไร เมื่อสภาพของสารละลายเป็ นกรดอย่างแรง
ก. แดงเข้ม ข. ส้ม ค. เหลือง ง. เหลืองเข้ม
94. จงพิจารณาสมดุลเคมีและข้อมูลที่กาหนดให้
2CrO42- + 2H+ Cr2O72- + H2O
สี เหลือง สี สม้
ถ้าต้องการทาให้สารละลายซึ่งมีสีเหลืองปนส้มเป็ นสีเหลือง ควรจะต้องทาสารละลายให้มี pH เท่าใด
ก. 10 ข. 7 ค. 4 ง. 1
95. อินดิเคเตอร์ตวั ไหนเหมาะสมที่สุดในการไทเทรตระหว่างกรดไนตรัส (Ka = 5.1 x 10 ) กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 M
-4

ก. เมทิลออเรนจ์ซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 3.1 – 4.4


ข. เมทิลเรดซึ่งเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 4.4 – 6.2
ค. โบรโมไทมอลบลูซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 6.0 – 7.6
ง. ไทมอลบลูซ่ ึงเปลี่ยนสี ในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 8.0 – 9.6
15
96. ถ้าหยดฟี นอล์ฟทาลีนลงในสารละลาย A จะได้สีแดง แต่ถา้ หยดลงในสารละลาย B จะไม่มีสี แสดงว่าอย่างไร
ก. A เป็ นเบส B เป็ นกรด ข. pH ของสารละลาย A และสารละลาย B ไม่เท่ากัน
ค. A และ B ทาปฏิกิริยาสะเทินได้ ง. A เป็ นกรด B เป็ นเบส
97. เมื่อนาสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ ได้ผลดังนี้
สีของสารละลาย X
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH การเปลีย่ นสี
ในอินดิเคเตอร์
ฟี นอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.4 ไม่มีสี – แดง ไม่มีสี
เมทิลเรด 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้ าเงิน เขียว
ฟี นอลเรด 6.7 – 8.3 เหลือง – แดง ส้ม
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง - เหลือง ?
สารละลาย X จะมีค่า pH ประมาณเท่าใด และถ้าหยดเมทิลออเรนจ์ 2 หยด ลงในสารละลาย X 10 cm3 จะได้สีอะไร
ก. 7.6 – 8.3 สี แดง ข. 6.0 – 7.6 สี สม้ ค. 6.7 – 7.6 สี เหลือง ง. 6.7 – 8.3 สี เหลือง
98. โบรโมไทมอลบลูเป็ นอินดิเคเตอร์ ซึ่งเปลี่ยนสี จากเหลืองเป็ นน้ าเงินในสารละลายที่มีช่วง pH เปลี่ยนจาก 6.0 เป็ น 7.6 เมื่อเติม
โบรโมไทมอลบลูลงไปในสารละลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมี pH เท่ากับ 6.8 จะปรากฏเป็ นสี อะไร
ก. สี เหลือง ข. สี น้ าเงิน ค. สี เขียว ง. ไม่มีสี
99. เมื่อนาน้ าทิ้งจากโรงงานแห่งหนึ่งมากรองได้สารละลายใสไม่มีสี แบ่งสารละลายมาเติมอินดิเคเตอร์ต่างๆ ลงไปได้ผลดังนี้
ช่ วง pH สีทอี่ นิ ดิเคเตอร์ สีของสารละลายหลังจากเติม
อินดิเคเตอร์
ทีเ่ ปลีย่ นสีตามปกติ เปลีย่ นตามปกติ อินดิเคเตอร์ ลงไป 3 หยด
เมทิลเรด 3.8 – 6.3 แดง – เหลือง ส้ม
ลิตมัส 5.8 – 8.1 แดง – น้ าเงิน ม่วง
ฟี นอลเรด 6.6 – 8.3 เหลือง – แดง เหลือง
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.1 เหลือง - น้ าเงิน เขียวอมเหลือง
pH ที่ถูกต้องของสารละลาย ควรอยูใ่ นช่วงใด
ก. 5.8 – 6.0 ข. 6.3 – 6.6 ค. 6.0 – 6.3 ง. 6.6 – 7.1
100. นาสารละลาย HCl ความเข้มข้น x mol/dm3 ใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 2 cm3 แต่ละหลอดหยดอินดิเคเตอร์
2 – 3 หยด ได้ผลดังแสดงในตาราง x ควรมีค่าเท่าใด
อินดิเคเตอร์ สีทปี่ รากฏใน
หลอดที่
ชนิด ช่ วง pH สีทเี่ ปลีย่ น สารละลาย HCl
1 คองโกเรด 3.0 – 5.0 น้ าเงิน – แดง แดง
2 โบโมครี ซอลเพอร์เพิล 5.2 – 6.8 เหลือง – ม่วง เหลือง
3 ฟี นอลเรด 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง เหลือง
ก. 10-3 ข. 10-4 ค. 10-5 ง. 10-6

16
101. สารละลาย X ไม่มีสีเมื่อหยดโบรโมไทมอลบลูลงในสารละลายนี้ จะได้สารละลายสี เหลือง และเมื่อหยดเมทิลออเรนจ์ลงไป
ได้สารละลายสี สม้ แดง จงประมาณค่า pH ของสารละลาย X ให้ใกล้เคียงที่สุด
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ของการเปลีย่ นสี
โบรโมไทมอลบลู เหลือง 6.0 – 7.6 น้ าเงิน
เมทิลออเรนจ์ แดง 3.1 – 4.4 เหลือง
ก. 3 – 6 ข. 3 – 4 ค. 6 – 7 ง. ต่ากว่า 3
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 102 –103
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH และสีของสารละลาย ช่ วง pH และสีของสารละลาย ช่ วง pH และสีของสารละลาย
เมทิลออเรนจ์ 1–3 สี แดง 3–4 สี สม้ มากกว่า 5 สี เหลือง
เมทิลเรด น้อยกว่า 4.4 สี แดง 4.4 – 6.2 สี สม้ มากกว่า 6.3 สี เหลือง
ฟี นอล์ฟทาลีน 1–7 ไม่มีสี 8.3 – 10 สี ชมพู มากกว่า 10 สี ชมพูแก่
โบรโมไทมอลบลู น้อยกว่า 6 สี เหลือง 6.0 – 7.6 สี เขียว มากกว่า 7.6 สี น้ าเงิน
ในการทดลองสารละลายชนิดหนึ่ง แบ่งสารละลายเป็ น 4 หลอด แล้วเติมอินดิเคเตอร์ลงไปในแต่ละหลอด ผลการทดลองเป็ นดังนี้
หลอดที่ 1 เติมเมทิลออเรนจ์ 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง
หลอดที่ 2 เติมเมทิลเรด 1 หยด สารละลายมีสีสม้
หลอดที่ 3 เติมฟี นอล์ฟทาลีน 1 หยด สารละลายไม่มีสี
หลอดที่ 4 เติมโบรโมไทมอลบลู 1 หยด สารละลายมีสีเขียว
102. การแปลความหมายของข้อมูลที่ถูกต้อง คือ
ก. สารละลายมี pH ประมาณ 5.2 – 6.0
ข. สารละลายมี pH ประมาณ 8.5 – 9.5
ค. สารละลายมี pH ประมาณ 4.0 – 4.5
ง. สารละลายมี pH ประมาณ 2.0 – 3.0
103. ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. ในการไทเทรตสารละลาย NH3 กับกรด HCl ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็ นอินดิเคเตอร์
ข. ในการไทเทรตสารละลายกรดแก่กบั เบสอ่อน ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็ นอินดิเคเตอร์
ค. ในการไทเทรตสารละลาย CH3COOH กับ NaOH ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์
ง. ในการไทเทรตสารละลาย NH3 กับ HCl ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์
104.
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH เปลีย่ นสี สีทเี่ ปลีย่ น
X 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – แดง
Y 3.0 – 4.6 เหลือง – น้ าเงิน
Z 6.0 – 7.6 เหลือง - น้ าเงิน
ผสมสารละลาย CH3COOH เข้มข้น 0.2 mol/dm3 ปริ มาตร 5 cm3 กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.2 mol/dm3 ปริ มาตร 15 cm3 นา
สารละลายที่ได้ไปทดสอบด้วยอินดิเคเตอร์ตามตาราง ข้อใด ถูกต้อง
1. หยด X 1 หยด สารละลายไม่มีสี 2. หยด Y 1 หยด สารละลายมีสีน้ าเงิน
3. หยด Z 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง 4. pH ของสารละลายเท่ากับ 13
ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 2 และ 4

17
การคานวณปฏิกริ ิยากรด เบส
1. จงหา pH ของสารละลาย เมื่อไทเทรต CH3COOH 0.1 M 2. จากข้อที่ 1 เปลี่ยนเป็ นใช้ NaOH 50 mL
50 mL ด้วย NaOH 0.1 M 20 mL Ka CH3COOH = 1.8 x 10 -5

3. จากข้อที่ 1 เปลี่ยนเป็ นใช้ NaOH 100 mL 4. จงหา pH ของสารละลาย เมื่อไทเทรต NH4OH 0.1 M 50 mL
ด้วย HCl 0.1 M 20 mL Kb ของ NH4OH = 1.8 x 10-5

5. จากข้อที่ 4 เปลี่ยนเป็ นใช้ HCl 50 mL 6. จากข้อที่ 4 เปลี่ยนเป็ นใช้ HCl 100 mL

การไทเทรต
105. เปรี ยบเทียบกรด 2 ชนิด คือ กรดเอทาโนอิก (Ka = 1.8 x 10-5) และกรดไฮโดรคลอริ ก ได้ขอ้ สรุ ปดังนี้ ข้อสรุ ปใดถูกต้อง
1. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH ประมาณ 1
2. สารละลายที่ประกอบด้วย 0.1 โมล กรดเอทาโนอิกและ 0.1 โมล โซเดียมเอทาโนเอต จัดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ที่ดี
3. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH น้อยกว่าสารละลาย 0.1 M กรดเอทาโนอิก
4. สารละลายที่เตรี ยมจากโซเดียมไฮดรอกไซด์และกรดไฮโดรคลอริ กที่มีจานวนโมลเท่ากัน จะมี pH สูงกว่าสารละลายที่
เตรี ยมจากโซเดียมไฮดรอกไซด์และกรดเอทาโนอิกที่มีจานวนโมลเท่ากัน
ก. 4 เท่านั้น ข. 1 และ 3 ค. 2 และ 4 ง. 1, 2 และ 3
18
106. เมื่อกรดแอซีติกเป็ นกรดอ่อนและกรดไฮโดรคลอริ กเป็ นกรดแก่ ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ค่า pH ของ 0.1 mol/dm3 กรดไฮโดรคลอริ กจะมีค่าน้อยกว่าค่า pH ของ 0.1 mol/dm3 กรดแอซีติก
ข. ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดแอซีติกจะน้อยกว่าค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดไฮโดรคลอริ ก
ค. ต้องใช้ปริ มาตรของ 0.1 M NaOH ในการสะเทิน 0.1 M HCl มากกว่าในการสะเทิน 0.1 mol/dm3 ของกรดแอซีติก
ง. ค่า pH ของการสะเทิน 0.1 M NaOH กับ 0.1 M HCl มีค่าน้อยกว่าในการสะเทิน 0.1 mol/dm3 ของกรดแอซีติก
107. ในการหาปริ มาณของกรดแอซีติกในน้ าส้มสายชูแท้ โดยนามาไทเทรตกับสารละลาย NaOH 0.1 M pH ที่จุดสะเทิน = 8.7
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH การเปลีย่ นสี
A 6.0 - 7.6 เหลือง - น้ าเงิน
B 8.3 - 10.4 ไม่มีสี – แดง
C 6.7 - 8.3 เหลือง - แดง
การทดลอง สารละลายในบิวเรตต์ สารละลายในขวดรู ปกรวย อินดิเคเตอร์
1 น้ าส้มสายชู NaOH A
2 น้ าส้มสายชู NaOH B
3 NaOH น้ าส้มสายชู C
4 NaOH น้ าส้มสายชู B
การจะหาปริ มาณของกรดแอซีติกได้ถูกต้อง ควรทดลองตามข้อใด
ก. 1 และ 2 ข. 3 และ 4 ค. 2 ง. 4
108. จากข้อมูลต่อไปนี้
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีม่ กี ารเปลีย่ นสี สีทเี่ ปลีย่ น
A 8.1 – 9.7 เหลือง - น้ าเงิน
B 4.4 – 6.0 แดง - เหลือง
ในการไทเทรตสารละลาย NH3 ที่ไม่ทราบความเข้มข้น 25.0 cm3 ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่จุดยุติใช้
สารละลาย HCl 25.0 cm3 การเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตและการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ที่จุดยุติ
ข้อใดถูกต้อง (กาหนด log 5 = 0.7, log 7 = 0.8, Ka ของ NH4+ = 5.0 x 10-10, Kb ของ NH3 = 2.0 x 10-5)
อินดิเคเตอร์ การเปลีย่ นสี
ก. A เหลือง น้ าเงิน
ข. A น้ าเงิน เหลือง
ค. B แดง เหลือง
ง. B เหลือง แดง
109. ในการไทเทรตกรดอ่อน HA และ HB เข้มข้น 0.1 mol/dm3 เท่ากันด้วย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3
กรด Ka pH ทีจ่ ุดเริ่มต้ น pH ทีจ่ ุดยุติ
HA 1 x 10-5 a x
HB 1 x 10-10 b y
การเปรี ยบเทียบ pH ของสารละลายในข้อใดถูกต้อง
ก. a < b x < y ข. a < b x > y
ค. a > b x > y ง. a > b x < y
19
110. กราฟข้อใดแสดงการเปลี่ยนค่า pH ของสารละลายที่ได้จากการไทเทรต สารละลายกรดแอซีติกกับโซเดียมไฮดรอกไซด์
โดยการเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในสารละลายกรดแอซีติก
ก. ข.
pH pH

ปริมาตร NaOH ทีเ่ ติม ปริมาตร NaOH ทีเ่ ติม


ค. ง.
pH pH

ปริมาตร NaOH ทีเ่ ติม ปริมาตร NaOH ทีเ่ ติม

111. ลักษณะของกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลาย NH4OH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3
และกราฟที่ได้จากการไทเทรต NaHCO3 0.01 mol/dm3 ด้วยยกรด HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ควรมีลกั ษณะอย่างไร
ก. ข.
NH4OH NH4OH
pH pH
NaHCO3 NaHCO3

ปริ มาตร HCl ปริ มาตร HCl

ค. NH4OH ง.
pH pH
NH4OH
NaHCO3
NaHCO3

ปริ มาตร HCl ปริ มาตร HCl

112. นาสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 0.1 M ปริ มาตร 10 cm3 มาไทเทรตกับสารละลาย HCl เข้มข้นเท่ากัน โดยใช้อินดิเคเตอร์ผสม
A และ B ซึ่งมีการเปลี่ยนสี ในช่วง pH ต่างๆ กราฟการเปลี่ยน pH และการเปลี่ยนสี ของอินดิเคเตอร์ควรเป็ นไปตามข้อใด
อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ทีม่ กี ารเปลีย่ นสี
A 3.8 (เหลือง) – 5.4 (น้ าเงิน)
B 8.3 (ไม่มีสี) – 10.4 (ชมพู)

ก. ข.
pH น ้าเงิน  ม่วง pH ม่วง  น ้าเงิน

เขียว  น้าเงิน
น ้าเงิน  เขียว

ปริ มาตร HCl , cm3 ปริ มาตร HCl , cm3


ค. ง. pH
pH น ้าเงิน  ไม่มีสี
ชมพู  ไม่มีสี
เขียว  น ้าเงิน
น ้าเงิน  เขียว

ปริ มาตร HCl , cm3 ปริ มาตร HCl , cm3

20
113. จากสมการ Ba(OH)2(aq) + 2HCl(aq) BaCl2(aq) + 2H2O(l)
ถ้าสารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์ 20 cm ทาปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮโดรคลอริ ก เข้มข้น 0.1 M ปริ มาตร 30 cm3
3

สารละลายแบเรี ยมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นกี่โมลาร์
ก. 0.300 ข. 0.150 ค. 0.100 ง. 0.075
114. ในการเตรี ยม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH 0.300 M กี่ cm3 ในการทาปฏิกิริยาพอดีกบั H2SO4 0.170 M ปริ มาตร 0.500 dm3
ก. 85 ข. 142 ค. 283 ง. 567
115. เมื่อสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.45 M ปริ มาตร 40.0 cm อย่างสมบูรณ์ ต้องใช้สารละลายกรด H3PO4 20.0 cm3
3

กรด H3PO4 ที่ใช้มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร


ก. 0.60 ข. 0.90 ค. 1.20 ง. 1.35
116. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริ มาตร 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องใช้กรดฟอสฟอริ กเข้มข้น
0.25 M กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
ก. 0.4 ข. 4 ค. 8 ง. 12
117. เมื่อนากรดเข้มข้น 0.1 mol/dm มาไทเทรตกับ 0.1 mol/dm NaOH โดยใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์ กรดใดต่อไปนี้ตอ้ ง
3 3

ใช้ปริ มาณ NaOH มากที่สุดในปฏิกิริยาสะเทิน


ก. H2SO4 55 cm3 ข. H3PO4 25 cm3 ค. HNO3 95 cm3 ง. C2H5COOH 100 cm3
118. สารละลาย NaOH 0.5 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จานวนหนึ่งทาปฏิกิริยาสะเทินพอดี กับสารละลาย H2SO4 0.2 โมลต่อ
ลูกบาศก์เดซิเมตร จานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลาย NaOH มี pH 10 จากสารละลาย NaOH
จานวนนี้ จะเตรี ยมสารละลายได้กี่ลูกบาศก์เดซิเมตร
ก. 10 ข. 40 ค. 100 ง. 400
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 119 – 121
จากตารางทดลองผสมสารละลาย NaHS เข้มข้น 0.1 M กับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 M ดังแสดงในตาราง
การทดลอง ปริมาตรของสารละลายทีใ่ ช้ (cm3)
ครั้งที่ 0.1 mol/dm3 NaHS 0.2 mol/dm3 HCl
1 10 20
2 20 10
3 30 10
119. การทดลองครั้งที่ 1 สารละลายผสมจะมีค่า pH เท่าใด
ก. 7.0 ข. มากกว่า 7 เล็กน้อย ค. 1.0 ง. น้อยกว่า 7 เล็กน้อย
120. สารละลายผสมในการทดลองครั้งที่ 2 มีสมบัติเป็ น
ก. กรด ข. เบส ค. กลาง ง. เกลือ
121. สารละลายผสมในการทดลองครั้งที่ 3 มีสมบัติเป็ น
ก. เกลือ ข. กลาง ค. กรด ง. เบส
122. ยาแก้ปวดมีองค์ประกอบสาคัญ คือ แอสไพริ น ซึ่งเป็ นมอนอโปรติก มีสูตร HC9H7O4 ถ้านาตัวอย่างยาแก้ปวดนี้ 0.5 กรัม มา
วิเคราะห์โดยการไทเทรตด้วย NaOH เข้มข้น 0.1 M พบว่าต้องใช้ NaOH 20.0 cm3 จงหาร้อยละของแอสไพริ นในยานี้
123. การหาปริ มาณกรดแอซิติลซาลิซิลิก (HC9H7O4) ซึ่งเป็ นตัวยาระงับปวดในแอสไพริ น โดยการไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน
NaOH เข้มข้น 0.01 M พบว่าเมื่อละลายแอสไพริ น 4 เม็ดในน้ า 100 cm3 ต้องใช้ NaOH 20 cm3 แอสไพริ นแต่ละเม็ดมี
กรดอะซิติลซาลิซิลิกกี่มิลลิกรัม

21
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 124 – 126
ปริมาตรของ CH3COOH ปริมาตรของ NaOH
จุดการไทเทรต
0.1 mol/dm3 (cm3) 0.2 mol/dm3 (cm3)
I 20 0
II 20 5
III 20 10
IV 20 15
V 20 20
VI 20 25
124. กาหนดค่าคงที่ของการแตกตัวของ CH3COOH ที่ 25๐C = 1.8 x 10-5 log 5 = 0.699 จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อย
ที่สุด เมื่อหยุดการไทเทรต ณ จุดนั้น แล้วนาสารละลายที่ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด
ก. จุดที่ II ข. จุดที่ III ค. จุดที่ IV ง. จุดที่ V และ VI
125. เมื่อทาการไทเทรตถึงจุดที่ V pOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด
ก. 12.70 ข. 1.00 ค. 1.30 ง. 0.60
126. ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรตมี [OH-] อยูก่ ี่ mol/dm3
ก. 3.7 x 10-11 ข. 1.0 x 10-7 ค. 1.6 x 10-9 ง. 6.1 x 10-6
127. ถ้าต้องการหาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์โดยนามาไทเทรตกับสาร A โดยการชัง่ สาร A มา 2.04 g ละลาย
น้ าให้ได้ปริ มาตร 100 cm3 แล้วนามา 10 cm3 ไทเทรตกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็ นอินดิเคเตอร์
เมื่อไทเทรตถึงจุดยุติ ต้องใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 20 cm3 ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็ นกี่โมลาร์ เมื่อ
โซเดียมไฮดรอกไซด์ทาปฏิกิริยากับสาร A ในอัตราส่วนจานวนโมลเป็ น 1 ต่อ 1 กาหนดให้มวลโมเลกุลของ A = 204
128. ยาลดกรดชนิดหนึ่งมี Mg(OH)2 อยูร่ ้อยละ 29 โดยมวลต่อมวล นอกนั้นเป็ นแป้ ง ถ้ายานี้หนักเม็ดละ 0.2 กรัม จะต้องใช้ยากี่
เม็ด จึงจะทาปฏิกิริยาพอดีกบั สารละลาย HCl 0.02 mol/dm3 จานวน 300 cm3
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5
129. ถ้านาหิ นปูน (CaCO3) มาเผาจะเกิดปฏิกิริยา CaCO3 CaO + CO2(g)
ผ่านแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลงในสารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 จานวน 160 cm3 สารละลายนี้ทาปฏิกิริยา
สะเทินกับกรดเกลือ เข้มข้น 0.25 mol/dm3 พบว่าต้องใช้ 40 cm3 อยากทราบว่า ท่านเผาหิ นปูนเป็ นจานวนกี่กรัม
ก. 7.0 ข. 7.3 ค. 7.5 ง. 7.8
130. หิ นชนิดหนึ่งมี CaCO3 เป็ นองค์ประกอบ เมื่อนาไปเผาจะได้ CaO ซึ่งละลายน้ า และให้ Ca(OH)2 ในการวิเคราะห์ครั้งหนึ่ง
เมื่อนาหิ นตัวอย่าง 0.25 g มาทาตามวิธีการข้างต้น แล้วนาสารละลาย Ca(OH)2 ที่ได้มาไทเทรตกับสารละลาย HCl พบว่า ต้อง
ใช้สารละลาย HCl 0.10 mol/dm3 จานวน 36.0 cm3 จงหามวลเป็ นร้อยละของ CaCO3 ในหิ นตัวอย่างนั้น
131. นา HA ซึ่งเป็ นกรดชนิดหนึ่งปริ มาตร 25.0 cm3 มาวัด pH ได้ 2.5 และทาปฏิกิริยาพอดีกบั NaOH เข้มข้น 0.100 mol/dm3
ปริ มาตร 25.00 cm3 ค่าคงที่สมดุลของกรด HA เป็ นเท่าใด
ก. 3 x 10-3 ข. 3 x 10-4 ค. 10-5 ง. 10-6
132. เมื่อไทเทรตสารละลายเกลือ NaA ซึ่งมี pH เริ่ มต้นเท่ากับ 9 ปริ มาตร 10.0 cm3 กับสารละลายกรด HCl ต้องใช้สารละลาย
HCl เข้มข้น 0.01 mol/dm3 ปริ มาตร 20 cm3 จึงจะทาให้เมทิลเรดเปลี่ยนสี ค่าคงที่สมดุล (Ka) ของกรดอ่อน HA เป็ นเท่าใด
ก. 5 x 10-9 ข. 2 x 10-6 ค. 2 x 10-9 ง. 5 x 10-6
228. เมื่อเติมของแข็ง Zn(OH)2 ลงในสารละลาย HBr เข้มข้น 0.550 mol/dm3 ปริ มาตร 40 cm3 พบว่าสารละลายที่ได้ยงั เป็ นกรด
อยู่ นาสารละลายที่ได้น้ ีไปไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.500 mol/dm3 ต้องใช้ปริ มาตร 16.5 cm3 จึงจะสะเทินพอดี
น้ าหนักของ Zn(OH)2 ที่ใส่ในครั้งแรกมีกี่กรัม

22

You might also like