You are on page 1of 2

บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

้ (เพิม
อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า คือ ปริมาณผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดขึน ้ )
่ ขึน
ในหนึ่งหน่ วยเวลา หรือปริมาณสารตัง้ ต้นที่ ลดลงในหนึ่งหน่ วยเวลา
ปริมาณสารตัง้ ต้นทีล่ ดลง
อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า = -
เวลา

ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทีเ่ พิม ้
่ ขึน
อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า =
เวลา

ในช่วงแรกของการเกิดปฏิกริ ยิ า อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าจะสูงมาก


เพราะยังมีสารตัง้ ต้นอยูม
่ าก แต่พอเวลาผ่านไปสารตัง้ ต้นลดลง
ทาให้อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าลดลง
จากสมการ A  B

“ถ้าความเข้มข้นของสารตัง
้ ต้นลดลงจนหมด ปฏิกริ ยิ าเคมีจะสิน
้ สุด
ทาให้การเกิดสารผลิตภัณฑ์จะหยุดเกิดและคงทีต ่ ลอดไป ณ เวลาเดียวกัน”
ดังนัน้ ความสัมพันธ์ของปฏิกริ ยิ าเคมี มี 2 รูปแบบ คือ เพิม ้ หรือ
่ ขึน
ลดลง
ถ้าเทียบกับเวลา หากปฏิกริ ยิ าใด ใช้เวลาน้อย แสดงว่า
ปฏิกริ ยิ าเกิดเร็ว
หากปฏิกริ ยิ าใด ใช้เวลามาก แสดงว่า ปฏิกริ ยิ าเกิดช้า
สาหรับปฏิกริ ยิ าเคมีใด ๆ เช่น สาร A ทาปฏิกริ ยิ ากับสาร B เกิดเป็ นสาร C
เขียนสมการได้ดงั นี้
A + B  C
ดังนัน
้ การหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของปริมาณสารในปฏิกริ ยิ าเคมี
เพือ
่ ทราบว่าปฏิกริ ยิ านี้เร็ว หรือ ช้า ได้ดงั นี้

ความเข้มข้นของสาร 𝐴 ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป


อัตราการลดลงของสาร A = -
ระยะเวลาทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง
∆ แทน การเปลีย่ นแปลง
[𝐴]2 −[𝐴]1 ∆[𝐴]
=- =- t แทน ระยะเวลาทีเ่ ปลีย
่ นแปลง
𝑡2 − 𝑡1 ∆𝑡(วินาที)
[] แทน ความเข้มข้นของสาร
(mol/dm3,L)
ความเข้มข้นของสาร 𝐶 ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป
อัตราการเพิม ้ ของสาร C = -
่ ขึน
ระยะเวลาทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง
[𝐶]2 −[𝐶]1 ∆[𝐶]
=- =-
𝑡2 − 𝑡1 ∆𝑡

ความสัมพันธ์ของจานวนโมลกับอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
A + 2B 3C + 4D

หาก A มีอตั ราการลดลง 1 mol/s

ดังนัน
้ B ………………………. C ………………………. D ……………………….

ถ้าเขียนรูปทั่วไปของสมการ aA + bB  cC + dD

∆[𝐴] ∆[𝐵] ∆[𝐶]


เขียนอัตราการเปลีย่ นแปลงของสาร ได้ดงั นี้ - -
∆𝑡 ∆𝑡 ∆𝑡
∆[𝐷]
∆𝑡

1 ∆[𝐴] 1 ∆[𝐵] 1 ∆[𝐶]


เขียนอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า ได้ดงั นี้ -𝑎 = -𝑏 = =
∆𝑡 ∆𝑡 𝑐 ∆𝑡
1 ∆[𝐷]
𝑑 ∆𝑡

หาได้โดย
์ ด
เอาอัตราการเปลีย่ นแปลงของสารหารด้วยเลขสัมประสิทธิท ี่ ลุ อยูห
่ น้าสาร

You might also like