You are on page 1of 23

www.coopguy.

com

คณิตศาสตร์ (ม.5 เทอม2)


ติวสรุปห้องเรียนพิเศษ (พสวท.) โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม

PHY

ติวสรุปวิชาคณิตศาสตร์(ม.5 เทอม2)

โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
โดย ครูกาย
(อ.ธนกร อินทจักร์)
www.coopguy.com

“คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม”

จำนวนเชิงซ้อน
การสร้ างจานวนเชิงซ้ อน
จานวนเชิ งซ้ อน คือจำนวนที่เขียนอยูใ่ นรู ปของคู่อนั ดับ (a , b) เมื่อ a และ b เป็ นจำนวน
จริ งใดๆ
จำนวนเชิงซ้อนสำมำรถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทย่อย ได้แก่
1. จานวนจินตภาพ คือจำนวนเชิงซ้อน (a , b)
Y
ซึ่ งมีค่ำ a  0 และ b  0 ( คือคู่อนั ดับที่ไม่อยูบ่ นแกน X 4 (0 , 4)
และแกน Y ) เช่น (4 , 5) , (6 , 14) เป็ นต้น (3 , 2)
2
2. จานวนจินตภาพแท้ คือจำนวนเชิงซ้อน (-3 , 0) (2 , 0)
(a , b) ซึ่ งมีค่ำ a = 0 ( คือคู่อนั ดับที่อยูบ่ นแกน Y พอดี ) -2 2 4 X
-2
เช่น (0 , 4) , (0 , –12) เป็ นต้น (0 , -3)
3. จานวนจริง คือจำนวนเชิงซ้อน (a , b) ซึ่งมี
ค่ำ b = 0 (คือ คู่อนั ดับที่อยูบ่ นแกน X พอดี ) เช่น (3 , 0) , (–5 , 0) เป็ นต้น
หมายเหตุ กรณี ที่เป็ นจำนวนจริ ง (a , 0) อำจเขียนเป็ น a ก็ได้ เช่น (3 , 0) อำจเขียนเป็ น 3
หรื อ (–5 , 0) เขียนเป็ น –5 เป็ นต้น
จำนวนจินตภำพแท้ i คือคู่อนั ดับ (0 , 1)
ข้ อต้ องรู้ เกี่ยวกับ i
1. ค่ำของ i ต่อไปนี้ เป็ นค่ำพื้นฐำนที่สำคัญ ควรจำให้แม่น
i2 = (0 , 1) x (0 , 1) = ( [0x0 – 1x1] , [0x1 + 1x0] ) = (–1 , 0) = – 1
i3 = ( i )( i2 ) = ( i ) (–1) = –i
i0 = +1
สาหรับค่ า i ยกกาลังสู ง สามารถหาค่ าได้ โดยทาตามขั้นตอนต่ อไปนี้
ขั้น 1 ให้นำหลักสิ บและหลักหน่วยของเลขชี้กำลังมำหำรด้วย 4 เพื่อหำเศษที่เหลือ
ขั้น 2 ให้หำค่ำ i ยกกำลังเศษที่เหลือจำกขั้น 1 มำใช้เป็ นคำตอบ
ตัวอย่าง จงหำค่ำ i8759
แนวคิด ขั้นที่ 1 ให้นำหลักสิ บและหลักหน่วยของเลขชี้กำลัง คือ 59 มำหำรด้วย 4 เพื่อหำเศษ
59 = 14 เศษ 3
4

1 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

ขั้นที่ 2 จะได้วำ่ i8759 = i3 = –i


2. จำนวนเชิงซ้อน (a , b) สำมำรถเขียนได้เป็ น a + bi ได้ และเรำจะเรี ยก a ว่ำเป็ นส่ วน
จริง ( Re ) และเรี ยก b ว่ำเป็ นส่ วนจินตภาพ ( Im ) ของจำนวนเชิงซ้อน
ตัวอย่าง (2 , 3) = 2 + 3i ส่ วนจริ ง คือ 2 , ส่ วนจินตภำพคือ 3
4 , –9) = 4 – 9i ส่ วนจริ ง คือ 4 , ส่ วนจินตภำพคือ –9
(0 , 8) = 0 + 8i = 8i ส่ วนจริ ง คือ 0 , ส่ วนจินตภำพคือ 8
(7 , 0) = 7 + 0i = 7 ส่ วนจริ ง คือ 7 , ส่ วนจินตภำพคือ 0
3. กำรบวก กำรลบ กำรคู ณ จำนวนเชิ งซ้อนที่อยู่ในรู ป a + bi สำมำรถทำได้โดยใช้วิธี
ของพีชคณิ ตธรรมดำดังตัวอย่ำงต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหำผลลัพธ์ของ (3 –2i ) + (4 + 3i ) – 6i
แนวคิด (3 –2i ) + (4 + 3i ) – 6i = ( 3 + 4 ) + (–2i + 3i – 6i) = 7 – 5i
ตัวอย่าง จงหำผลลัพธ์ของ (3 – 2i) . (4 + 3i)
แนวคิด (3 – 2i).(4 + 3i) = 12 + 9i – 8i – 6i2 = 12 + i –6 (–1) = 18 + i
4.หำก a + bi = c + d i จะได้วำ่ a = c และ b = d

1. i24 + i177 + i258 + i4803 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. i 3. 1 + i 4. 1 – i

2. i3 + i4 + i5 + i6 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. –1 3. 0 4. 2

2 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

3(แนว En) ค่ำของ i8 + i9 + i10 + i11 + i12 + i13 +… .. .. + i80 + i81 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. i 3. 1 + i 4. 1 – i

4. ผลลัพธ์ของ (7 – 11i) – (2 + 3i ) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 5 + 14i 2. 5 – 14i 3. –5 + 14i 4. –5 – 14i

5. ผลลัพธ์ของ (3 + 2i ) . ( 4 + 7i ) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 + 29i 2. 2 – 29i 3. –2 + 29i 4. –2 – 29i

6. กำหนดให้ 2a + b i = 10 ค่ำ a และ b ที่สอดคล้องกับสมกำรนี้เท่ำกับข้อใด


1. a = 5 , b = 5 2. a = 5 , b = 0
3. a = –5 , b = 5 4. a = –5 , b = 0

3 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

10.2 สมบัติพชี คณิตของจานวนเชิงซ้ อน


คุณสมบัติการบวกและการคูณจานวนเชิ งซ้ อน
ถ้ำ C เป็ นเซตของจำนวนเชิงซ้อน และ Z1 , Z2 , Z3 เป็ นสมำชิกของ C
ลาดับที่ คุณสมบัติ การบวก การคูณ
1 ปิ ด Z 1+ Z 2  C Z1 Z2  C
2 กำรสลับที่ Z1+ Z2 = Z2+ Z1 Z 1 Z 2 = Z 2 Z 1
3 กำรเปลี่ยนกลุ่ม (Z1+ Z2)+ Z3 = Z1+ (Z2+ Z3 ) (Z1Z2)Z3 = Z1(Z2Z3)
4 เอกลักษณ์ คือ 0 คือ 1
เพรำะ Z + 0 = Z เพรำะ Z . 1 = Z
และ 0 + Z = Z และ 1 . Z = Z
5 ตัวผกผัน ตัวผกผันกำรบวกของ Z คือ ( –Z ) ตัวผกผันกำรคูณของ Z คือ Z–1
เพรำะ Z + (–Z) = 0 เพรำะ Z( Z–1 ) = 1
ตัวผกผันกำรบวกของ a + bi = – (a + bi) = –a – bi
หำก z = a + bi
ตัวผกผันกำรคูณของ Z = Z–1 = a2  bi2
a b
ตัวอย่าง จงหำตัวผกผันกำรบวกของจำนวนเชิงซ้อน 5 – 4 i
แนวคิด ตัวผกผันกำรบวกของ 5 – 4i = – (5 – 4i) = –5 + 4 i
ตัวอย่าง จงหำตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน 3 + 4i
แนวคิด (3 + 4 i)–1 = 3  4 i = 3  4 i
32  4 2 25 25

7. จงหำตัวผกผันกำรบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
ก. –4 – 3i ข. 2 + i
1. ก. –4 + 3i ข. 2 – i 2. ก. 4 – 3i ข. –2 + i
3. ก. 4 + 3i ข. –2 – i 4. ก. –4 – 3i ข. 2 – i

4 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

8. ตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน –4 – 3i มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี


1. 254 + 253 i 2. – 254 + 253 i 3. 4 + 3 i 4. –4 + 3 i

9. ตัวผกผันกำรคูณของจำนวนเชิงซ้อน 3 + 5i มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 343 – 345 i 2. – 343 – 345 i 3. –3 + 5 i 4. –3 – 5 i

สั งยุคของจานวนเชิงซ้ อน
นิยาม สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือจำนวนเชิงซ้อน a – bi
เขียนแทนสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน a + bi ด้วย a  bi
จำกบทนิยำมจะได้ a  b i = a – bi
ฝึ กทา. จงหำค่ำต่อไปนี้
1. 4  3i = …………….. 2. 8  2i = ……………..
3.  9  8i = …………….. 4.  6  3i = ……………..
5. 9i = …………….. 6. 7 = ……………..
สมบัติของสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน
ให้ z , z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน จะได้วำ่
1) Re(z) = 12 (z + z ) และ Im(z) = 2i1 (z – z )
2) z = z
3) ( 1z ) = 1z เมื่อ z  0
4) z1  z 2 = z1  z 2
5) z1  z 2 = z1  z 2
6) z1z 2 = z1z 2
z  z
7)  z 1  = z1 เมื่อ z2  0
 2 2
8) ( z n )  ( z )n

5 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

10. ผลลัพธ์ของ 13  2i4i มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 115 + 25 i 2. 115 – 25 i 3. 35 + 45 i 4. 35 – 45 i

11. จำนวนเชิงซ้อน z ที่สอดคล้องกับสมกำร ( 2 – i ) z = 4 + 2 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 6 + 8 i 2. 6 – 8 i 3. 65 + 85 i 4. 65 – 85 i

12. ถ้ำจำนวนเชิงซ้อน z ที่สอดคล้องกับสมกำร z ( 1 + i ) = 4 แล้ว z คือข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 2 i 2. 2 – 2 i 3. 12 + 12 i 4. 12 – 12 i

จาให้ แม่ น (1 + i)2 = 2 i และ (1 – i)2 = –2i


100
13. ค่ำของ  1  1 i เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
 2 2 
1. 1 2. –1 3. i 4. –i

6 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

จาให้ แม่ น ( a + b 3 i )3 = (–8) a3


( a 3 + b i )3 = (–8)(b i)3
ตัวอย่าง ( 1 + 3 i )3 = (–8) (1)3 = –8
( – 12 + 23 i )3 = (–8) (– 12 )3 = (–8) (– 81 ) = 1
( 3 3 + 2 i )3 = (–8) (2 i)3 = (–8) ( 8 i3) = (–8) ( – 8 i ) = 64 i
(– 23 – 12 i )3 = (–8) (– 12 i)3 = (–8) (– 81 i3) = (–8) (– 81 i ) = i

14(แนว En) ให้ Z = –1 – 3 i แล้ว Z6 – Z 6 เท่ำกับเท่ำใด

15(แนว En) ถ้ำ 2 z3 = 1 + 3 i แล้ว z1827 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


iz
1
1. + i 1 1
2. – i1 3. 2 + 2 i 4. 2 – 2 i
2 2 2 2

10.3 รากทีส่ องของจานวนเชิงซ้ อน


กำหนดจำนวนเชิงซ้อน z = a + b i และ ให้ r  a 2  b 2
จะได้วำ่ รำกที่สองของ z คือ
   r  a  r  a i  เมื่อ b  0
 2 2 
 

   r  a  r  a i  เมื่อ b  0
  2 2 

7 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

16. จงหำรำกที่ 2 ของ 3 + 4 i


1.  (2 + i) 2.  (2 – i) 3.  (3 + 6 i ) 4.  (3 – 6 i )

17(แนว มช) ผลคูณคำตอบของสมกำร x2 + 1 – 3 i = 0 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 + 3 i 2. 1 – 3 i 3. 2 + 2 3 i 4. 2 – 2 3 i

10.4 กราฟและค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิงซ้ อน


จำนวนเชิงซ้อน 3 + 2i แทนได้ดว้ ยจุด ( 3 , 2 ) หรื อแทนด้วยเวกเตอร์ ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็ น
จุดเริ่ มต้น และจุ ด ( 3 , 2 ) เป็ นจุ ดเริ่ มต้น และจุด ( 3 , 2 ) เป็ นจุดสิ้ นสุ ด ส่ วนจำนวนเชิ งซ้อน
อื่นๆ เช่น –3 , 2i , 4 – i , –2 + 3i อำจเขียนแทนได้ดงั รู ป
Y Y

(–2,3) (–2,3)
(0,2) (3,2) (0,2) (3,2)

X X
0 (–3,0) 0
(–3,0) (4 ,–1) (4 ,–1)

ค่ำของจำนวนเชิงซ้อน a + b i ใดๆ คือควำมยำวจำกจุด (0 , 0) ตรงไปถึงจุดจำนวนเชิงซ้อน


นั้น ๆ บนระนำบ XY
ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน a + b i เขียนแทนด้วย  a + b i  ซึ่ งหำค่ำได้จำก
 a + b i  = a2  b2

8 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

ฝึ กทา. จงหำค่ำต่อไปนี้
1.  4 + 3 i  = ………………… ………………… …………………
2.  6 – i  = ………………… ………………… …………………
3.  8  = ………………… ………………… …………………
4.  –7  = ………………… ………………… …………………
5.  5 i  = ………………… ………………… …………………
6.  3 i  = ………………… ………………… …………………
7.  –8 i  = ………………… ………………… …………………

คุณสมบัติสาคัญของค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิ งซ้ อน


ให้ z และ w เป็ นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ แล้ว
z
(1) | z |  0 เสมอ (7) wz = w เมื่อ w  0
(2) | z | = | –z | = z =  z (8) |z+w||z|+|w|
(3) z2 = z . z หรื อ | z | = z  z (9) | z – w |  | z | – | w |
(4) z n = | z |n เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็ม (10) | z | = 0 ก็ต่อเมื่อ z = 0
(5) z 1 = z 1 = 1z เมื่อ z  0 (11) ส่ วนจริ งของ z  | z |
(6) | z w | = | z | | w | และส่ วนจินตภำพของ z  | z |
18(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 และ (5 – 12i) z2 (–3 + 4i) = 130 z
แล้ว  z  ( ค่ำสัมบูรณ์ของ z ) มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 12 4. 2
2

9 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

19(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ ง  (7 – 24 i) (3 + 4 i ) z4  = 500 แล้ว z . z


มีค่ำเท่ำใด

20(แนว มช) กำหนดให้ z = x + y i เป็ นจุดใดๆ บนระนำบเชิ งซ้อน จะได้ว่ำกรำฟของ


สมกำร  z – i  = 2 เป็ นกรำฟรู ปใดต่อไปนี้
1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

10.5 จานวนเชิงซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


จำนวนเชิงซ้อน a + bi อำจเขียนให้อยูใ่ นรู ปเชิงขั้วได้ดงั นี้
a + bi = r . (cos + i sin  )
เมื่อ r =  a + bi  = a 2  b 2
 เรี ยกว่ำ argument of z ซึ่ งหำค่ำได้จำก
กรณี ที่ 1 หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 1 กรณี ที่ 2 หำก z อยูบ่ นแกน X พอดี  = 0o
 = tan –1 ba หำก z อยูบ่ นแกน Y พอดี  = 90o
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 2 หำก z อยูบ่ นแกน –X พอดี  = 180o
 = 180o – tan –1 ba หำก z อยูบ่ นแกน –Y พอดี  = 270o
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 3 Y
90o
 = 180o + tan –1 ba 0o
X 180o X
หำก z อยูใ่ นควอดรันที่ 4 270o
 = 360o – tan –1 ba Y

10 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

21. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 1 + i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2 (cos 45o + i sin 30o) 2. 3 2 (cos 315o + i sin 315o)
3. 2 (cos 45o + i sin 45o) 4. 2 (cos 315o + i sin 315o)

22. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –2 + 2 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 4 (cos 120o + i sin 120o) 2. 4 (cos 210o + i sin 210o)
3. 10 (cos 120o + i sin 120o) 4. 10 (cos 210o + i sin 210o)

23. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –5 3 – 5 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 4 (cos 120o + i sin 120o) 2. 4 (cos 210o + i sin 210o)
3. 10 (cos 120o + i sin 120o) 4. 10 (cos 210o + i sin 210o)

24. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 3 – 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2 (cos 45o + i sin 30o) 2. 3 2 (cos 315o + i sin 315o)
3. 2 (cos 45o + i sin 45o) 4. 2 (cos 315o + i sin 315o)

11 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

25. รู ปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน –3i คือข้อใดต่อไปนี้


1. (cos 90o + i sin 90o) 2. 3 (cos 90o + i sin 90o)
3. (cos 270o + i sin 270o) 4. 3 (cos 270o + i sin 270o)

การคูณ และการหาร จานวนเชิ งซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


ทฤษฎีบท ให้ z1 = r1 (cos 1 + i sin 1) และ z2 = r2 (cos 2 + i sin 2)
จะได้วำ่ 1. z1 . z2 = r1 . r2 [cos (1+2) + i sin (1+ 2)]
2. z1 = r1 (cos 2 – i sin 2)
2 2
z1 r1
3. z = r [cos(1– 2) + i sin (1– 2)]
2 2
4. z1 = r1 [cos(–1) + i sin (–1)]
26. ถ้ำกำหนด z1 = 2 (cos 25o + i sin 25o) และ z2 = 3 (cos35o + i sin35o)
แล้วค่ำของ z1 . z2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + 3 3 i 2. 3 – 3 3 i 3. –3 + 3 3 i 4. –3 – 3 3 i

27. ถ้ำกำหนด z1 = 6 (cos110o + i sin110o) และ z2 = 2 (cos80 + i sin80)


z
แล้วค่ำของ z12 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + 3 3 i 2. 3 – 3 3 i 3. 3 23 + 23 i 4. 3 23 – 23 i

12 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

การยกกาลัง จานวนเชิ งซ้ อนในรู ปเชิ งขั้ว


ทฤษฎีบท ถ้ำ z = r . (cos  + i sin ) และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก
จะได้ zn = rn . (cos n + i sin n)
28. ถ้ำ z = 2 (cos 30o + i sin 30o) แล้วค่ำของ z3 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 + i 2. 3 – i 3. 8 i 4. –8 i

29(แนว En) ให้ Z1 = cos12o + i sin 12o และ Z2 = –cos 16o – i sin 16o แล้วสังยุคของ
Z
 Z1 15 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
2
1. 1 2 3i 2. 12 3i 3.  23i  i 4.  23i  i

10.6 รากที่ n ของจานวนเชิงซ้ อน


ทฤษฎีบท ถ้ำ z = r . (cos  + i sin )
r cos (n  360n o k)  i sin (n  360n o k)
n
แล้วรำกที่ n ของ z =
เมื่อ k  0 , 1 , 2 ,…, n –1

13 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

30. เซตคำตอบที่สอดคล้องกับรำกที่ 3 ของ –64 คือข้อใดต่อไปนี้


1. { 2 + 2 3 i , –5 , –2 + 2 3 i } 2. { 2 + 2 3 i , –6 , 2 – 2 3 i }
3. { 2 + 2 3 i , –7 , –2 + 2 3 i } 4. { 2 + 2 3 i , –4 , 2 – 2 3 i }

31. คำตอบในควอดรันต์ที่ 2 ของสมกำร z4 = 2 + 2 3 i คือข้อใดต่อไปนี้


1. 2 (cos 105o + i sin 105o) 2. 2 (cos 135o + i sin 135o)
3. 2 (cos 105o + i sin 105o) 4. 2 (cos 135o + i sin 135o)

10.7 สมการพหุนาม
กำรแก้ส มกำรพหุ น ำมในระบบจำนวนเชิ ง ซ้ อ นสำมำรถท ำได้ห ลำยวิธี เช่ น กำรแยกตัว
ประกอบ กำรใช้สูตร กำรจัดให้เป็ นกำลังสองสัมบูรณ์ เป็ นต้น รำยละเอียดของกำรแก้สมกำรพหุ
นำมให้ศึกษำจำกตัวอย่ำงต่อไปนี้
32. กำหนดให้ x เป็ นรำกของสมกำร x2 – 6x + 45 = 0 แล้วค่ำของ | x | เท่ำกับข้อใด
1. 3 2. 5 3. 3 5 4. 5 5

14 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

33(แนว Pat1) กำหนดให้ z1 , z2 , z3 เป็ นรำกของสมกำร z3 – 2z2 + 2z = 0 แล้ว


| z1 | + | z2 | + | z3 | มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2i 2. 1 – i 3. 1 + i 4. 2i

34(แนว En) กำหนดให้ A = { xC  x3 – 2x2 + 9x – 18 = 0 }


B = { xC  x4 – 81 = 0 }
เซต B – A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. {–3 , –2 , 3} 2. {–3 , 2 , 3} 3. {2 , 3} 4. {3 , –3}

35(แนว Pat1) จำนวนเชิงซ้อน z = 1 + i เป็ นคำตอบของสมกำรในข้อใดต่อไปนี้


1. z4 – 2z2 + 4z = 0 2. z4 – 2z2 – 4z = 0
3. z4 +2z2 – 4z = 0 4. z4 + 2z2 + 4z = 0

15 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

โดยทัว่ ไปแล้วสมกำรพหุ นำมดี กรี สู ง ( ตัวแปรยกกำลังสู ง ) มักจะมี คำตอบหลำยคำตอบ


หำกต้องกำรหำว่ำ เมื่ อนำคำตอบทั้งหมดมำบวกกันหรื อมำคูณกัน จะได้ค่ำเท่ำใด อำจหำได้จำก
สู ตรต่อไปนี้
ผลบวกของคำตอบ = สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 2
สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 1
ผลคูณของคำตอบ = (–1)กำลังสู งสุ ดของพหุนำม ( ค่าคงตัว )
สัมประสิท ธิ์พจน์ที่ 1
36. ให้  และ  เป็ นคำตอบของสมกำร z2 + (2i – 3) z + (5 – i) = 0 แล้วข้อใดถูก
1.  +  = 3 – 2i ;   = 5 – i 2.  +  = –1 + 4i ;   = –5 – i
3.  +  = –1 + 2i ;   = 1 + 5 i 4.  +  = –3 – 4i ;   = –1 + 5 i

37(แนว มช) ถ้ำ 2i เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร x3– 3x2 + 4x –12 = 0 แล้ว จงหำผลบวกของ
คำตอบที่เหลือทั้งหมดของสมกำรนี้
1. 3 + 2i 2. 3 – 2i 3. 1 + i 2. 1 – i

16 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

ทฤษฎีบท กำหนด P(x) = 0 เป็ นสมกำรพหุ นำมกำลัง n เมื่อ n  1


และมี “สัมประสิ ทธิ์ ของตัวแปรเป็ นจำนวนจริ ง”
“ ถ้ำ a + b i เป็ นรำกของสมกำร แล้ว a – b i จะเป็ นรำกของสมกำรด้วย
เมื่อ a และ b เป็ นจำนวนจริ ง โดยที่ b  0 ”
ทฤษฎีบท กำหนด P(x) = 0 เป็ นสมกำรพหุ นำมกำลัง n เมื่อ n  1
และมี “สัมประสิ ทธิ์ ของตัวแปรเป็ นจำนวนตรรกยะ”
“ ถ้ำ a + b เป็ นรำกของสมกำร แล้ว a – b ก็จะเป็ นรำกของสมกำรด้วย
เมื่อ a เป็ นจำนวนตรรกยะ และ b เป็ นจำนวนอตรรกยะ ”
38. สมกำรที่มีจำนวนเชิงซ้อน 8 + 3 i และ 8 – 3 i เป็ นคำตอบของสมกำร คือสมกำรใด
1. x2 + 16x + 67 = 0 2. x2 – 16x – 67 = 0
3. x2 + 16x – 67 = 0 4. x2 – 16x + 67 = 0

39. กำหนด x3 + ax2 – bx + c = 0 โดยที่ a , b , c เป็ นจำนวนจริ ง ถ้ำ 1 + 2 i และ –1


เป็ นคำตอบของสมกำรนี้ แล้วค่ำ a + b + c เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7

40(แนว Pat1) ฟังก์ชนั f (x) = x3 + ax2 + bx + c มี (x – [1 + i] ) และ (x + 2) เป็ นตัว


ประกอบของ f(x) แล้ว (x – 1) หำร f (x) เหลือเศษเท่ำไร

17 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ ำ มหำวิ ท ยำลัย


จำนวนเชิงซ้อน ชุ ด ที่ 1
10.1 การสร้ างจานวนเชิงซ้ อน
10.2 สมบัติพชี คณิตของจานวนเชิงซ้ อน
1(En44 มี.ค.) กำหนดให้ z = i9 + i10 + … + i126 เมื่อ i2 = –1 แล้ว 2z–1 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 + i 2. 1 – i 3. –1 + i 4. –1 – i

2(En41 ต.ค.) ถ้ำ Z เป็ นจำนวนเต็มเชิงซ้อนซึ่ง (1+ i) ( Z1 ) = –1 แล้วส่ วนจริ งของ จำนวน
เชิงซ้อน Z (Z– Z )15 เท่ำกับข้อใด
1. – 23 2. 23 3. – 12 4. 12
12
3(En 38) ส่ วนจริ งของจำนวนเชิงซ้อน 12i i  คือข้อใดต่อไปนี้
1. –64 2. –16 3. 16 4. 64

4(En44 ต.ค.) ให้ Z = –1 – 3 i แล้ว Z6 + Z 6 เท่ำกับเท่ำใด

5(En44 มี.ค.) ถ้ำ 2 z3 = 1 + 3 i และ z18 = a + bi เมื่อ a , b เป็ นจำนวนจริ ง แล้ว


i  z27
a + b มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

10.3 รากทีส่ องของจานวนเชิงซ้ อน


6(มช 37) จงหำเซตคำตอบของสมกำร x2 + 1 – 3 i = 0 โดยเขียนคำตอบในรู ป a + bi
1.   22  26 i  2.   22  26 i 
   
3.  12  12 i 4.  12  12 i

10.4 กราฟและค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนเชิงซ้ อน


7(En 35) ให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ และ z1 เป็ นสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน z1
จงพิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้
ก.  z1  =  z1 ข. z1 + z2  = z1 +  z2  ค. z1. z2  = z1 . z2
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ข้อ ก หรื อ ข้อ ข หรื อข้อ ค ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ ก และ ข้อ ข เท่ำนั้นที่ถูก
3. ข้อ ข และ ข้อ ค เท่ำนั้นที่ถูก 4. ข้อ ก และ ข้อ ค เท่ำนั้นที่ถูก

18 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

8(มช 31) (2  3 i)  (3  4 i )  (1  i) มีค่ำเท่ำกับ ..............


( 6  i)  (1  i)

9(En 39) ถ้ำ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 และ (5 – 12i) z3 (–3 + 4i) = 130 z แล้ว  z 
(ค่ำสัมบูรณ์ของ z) มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 12 4. 2
2
10(แนว En) ถ้ำ z เป็ นจ ำนวนเชิ ง ซ้ อ นซึ่ ง  (7 – 24i ) (3 + 4i ) z6  = 1 แล้ว z z มี ค่ ำ
เท่ำใด
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5

11(แนว Pat1) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z4 + 1 = 0 ค่ำของ z  1z 2 จะเท่ำกับ


ข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

12(แนว Pat1 ) ให้ z1 , z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1z2 = 2i และ z11 = cos 6 – i sin 6
 z1 + 23 z2 2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 5 3. 7 4. 8
2
13(En47 ต.ค.) ถ้ำ z = 3i แล้วค่ำของ zi เท่ำกับเท่ำใด
2 6 3
z z 2
14(แนว Pat1) กำหนดให้ z1 , z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1  z 2 = 3 และ z1 z 2 = 3 + 4i
2 2
ค่ำของ z1  z 2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

19 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

15(แนว PAT1) กำหนดให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง  z1 + z2 2 = 5 และ


 z1 – z2 2 = 1 ค่ำของ  z1 2 +  z2 2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 6 3. 9 4. 12

16(En46 ต.ค.) ให้ z = a + bi ซึ่ง b > 0 ถ้ำ z สอดคล้องกับ z2 2 4z  32 = 1 และ


z  64
z z = 61 แล้ว a + b มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 10 3. 11 4. 12

17(มช 34) ให้ z = x + iy เป็ นจุดใด ๆ บนระนำบเชิงซ้อน จะได้วำ่ กรำฟของสมกำร


z + 1 – i = 2 เป็ นกรำฟรู ปใดต่อไปนี้
1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

18(แนว Pat1) กรำฟของสมกำร (z + i ) ( z – i ) = 4 เป็ นรู ปใดต่อไปนี้


1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ

10.5 จานวนเชิงซ้ อนในรู ปเชิงขั้ว


19(มช 42) ให้ z = 8 (cos80o  i sin80 o ) ส่ วนจริ งของ z5 คือค่ำในข้อใดต่อไปนี้
2 (cos56o  i sin56o )
1.  16 3 2. –16 3. 16 4. 16 3
Z
20(En43 มี .ค.) Z1 = cos12o + i sin 12o และ Z2 = –cos 16o – i sin 16o แล้ ว  Z1  15
2
เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3i 2. 1  2 3i 3.  3i  i
2 4.  3i  i
2

21(En43 ต.ค.) กำหนดให้ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่ 2 z1 z 2 = 1 + z 2 และ


 + i sin  )6 ข้อใดต่อไปนี้คืออินเวอร์สกำรคูณของ z
z1 = (cos 18 18 2
1. 12  23 i 2. 12  23 i 3. 3 i 4. – 3 i

22(En42 ต.ค.) ถ้ำ z = –2 + 2 3 i เมื่อ i2 = –1 แล้ว z17 อยูใ่ นควอดรันต์ในข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

20 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

23(En 39) กำหนดให้ z = 12  23 i ส่ วนจริ งของ 1 5 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1+ z
1. –1 2. – 21 3. 21 4. 1
 + isin  4 และ
24(En41 เม.ย.) ถ้ำ z1 และ z2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z1 = cos 16 16
2
z 2  2  i  z แล้ว z2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1
1. 1 2. –1 3. i 4. – i

10.6 รากที่ n ของจานวนเชิงซ้ อน


25(En 40) รำกที่ 6 ของ –64 ที่ไม่เป็ นจำนวนจริ ง เป็ นจริ งตำมข้อใดต่อไปนี้
1. มี 4 รำก คือ 3  i และ  2i
2. มี 4 รำก คือ 1  3i และ –1  3i
3. มี 6 รำก คือ 1  3i , –1 3i และ  2i
4. มี 6 รำก คือ 3  i , – 3  i และ  2i

26(En46 มี.ค.) กำหนดให้ z1 , z2 , z3 เป็ นรำกของสมกำร (1 – i ) z3 = 2 โดยที่


z1 , z2 , z3 อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 , 2 , 3 ตำมลำดับ z1 z3 + z 22 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –2i 2. 2i 3. –2 4. 2

27(En47 มี .ค.) ถ้ำ Z1 และ Z2 เป็ นรำกของสมกำร ( Z – 2 3 )3 = –8i ซึ่ งมี ข นำดเป็ น
จำนวนเต็มแล้ว Z1 + Z2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. – 3 – i 2 3–i 3. 3 3 – i 4. 3 3 + i

28(En45 มี.ค.) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อน ถ้ำ –1 + 3 i เป็ นรำกที่ 5 ของ z แล้ว รำก
ที่ 2 ของ z คือจำนวนในข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 (– 3 – i) , 2 2 ( 3 + i )
2. 2 2 (–1 – 3 i ) , 2 2 (1 + 3 i )
3. 2 2 (– 3 + i ) , 2 2 ( 3 – i )
4. 2 2 (–1 + 3 i ) , 2 2 (1 – 3 i )

21 @Kruguy
We are Victor
www.coopguy.com

10.7 สมการพหุนาม
29(แนว Pat1) กำหนดให้ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง z  0 มีอำร์ กิวเมนต์อยูใ่ นช่วง (0 , π2 )
และสอดคล้องกับ z3 – 2z2 + 2z = 0 แล้ว z4 2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
(z)
1. –2i 2. 1 – i 3. 1 + i 4. 2i

30(En41 เม.ย.) กำหนดให้ A = { xC  x3 – 2x2 + 9x – 18 = 0 }


B = { xC  x4 – 81 = 0 }
เซต B – A เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. {–3 , –2 , 3} 2. {–3 , 2 , 3} 3. {2 , 3} 4. {3 , –3}

31(มช 36) ถ้ำ Z3 – 3Z2 + 5Z – 3 = 0 มี Z1 , Z2 , Z3 เป็ นรำกของสมกำรแล้ว จงหำ


Z1 + Z2 + Z3

32(มช 40) ถ้ำ 2i เป็ นค ำตอบหนึ่ งของสมกำร x3– 3x2 + 4x –12 = 0 แล้ว จงหำผลบวกของ
คำตอบที่เหลือทั้งหมดของสมกำรนี้

33(แนว PAT1) เซตคำตอบของสมกำร z2 + z + 1 = 0 เมื่ อ z เป็ นจำนวนเชิ งซ้อน คื อเซตใน


ข้อใดต่อไปนี้
2
1. { 22 + 22 i , 22 – 2 i } 2. { – 22 + 22 i , – 22 – 22 i }
3. { 12 + 23 i , 12 – 23 i } 4. { – 12 + 23 i , – 12 – 23 i }

34(แนว PAT1) เซตคำตอบของสมกำร z2 + z + 1 = 0 เมื่อ z เป็ นจำนวนเชิงซ้อน คือเซตในข้อ


ใดต่อไปนี้
1. {–cos120o – i sin120o , cos60o + i sin60o }
2. {cos120o + i sin120o , cos60o + i sin60o }
3. {–cos120o – i sin120o , –cos60o – i sin60o }
4. {cos120o + i sin120o , –cos60o – i sin60o }

22 @Kruguy
We are Victor

You might also like