You are on page 1of 10

1

พืน
้ ฐานเคมีเบือ
้ งต้น
ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบต
ั ก
ิ ารเคมี

เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (ครูตมู ตาม)


วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.ม. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3

พืน
้ ฐานเคมีเบือ
้ งต้น
เนื้อหา
1. การเขียนสูตร และการอ่านชื่อสารประกอบ 3. การเขียนสมการเคมี และการดุลสมการ
2. สารละลายกรด และสารละลายเบส 4. การละลาย

1. การเขียนสูตร และการอ่านชื่อสารประกอบ
สารประกอบแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่
- สารประกอบโลหะ (โลหะ + โลหะ)
สูตรอย่างง่าย
- สารประกอบไอออนิก (โลหะ + อโลหะ)
- สารประกอบโควาเลนต์ (อโลหะ + อโลหะ) สูตรโมเลกุล

1.) การอ่านชื่อสารประกอบโควาเลนต์

เลขห้อย + ธาตุ + เลขห้อย + ธาตุ ..... ลงท้ายด้วย –ide

เลขห้อยอ่านเป็นภาษากรีก ดังนี้ 1 = mono, 2 = di, 3 = tri, 4 = tetra, 5 = penta, 6 = hexa, 7 = hepta, 8 = octa, 9
= nona, 10 = deca แต่ถ้าเลขห้อยตัวแรก = 1 เท่านั้นจะไม่อ่าน นอกนั้นอ่านตามปกติ

เช่น CO2 = carbondioxide, CO = carbonmonoxide

PCl5 ……………………………………………………………… PCl3 ……………………………………………………………

N2O5 …………………………………………………………………… NO ………………………………………………………………

SF6 …………………………………………………………………… SO3 ………………………………………………………………

CCl4 …………………………………………………………………… SiH4 ………………………………………………………………

คาร์บอนไดซัลไฟด์ ……………………………………………………… ซัลเฟอร์ไดไอโอไดด์ ………………………………………………..

ไนโตรเจนไตรโบรไมด์……………………………………………………… ออกซิเจนไดฟลูออไรด์……………………………………………..

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4

2.) การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

ธาตุ + ธาตุ + ... ลงท้ายด้วย –ide (อนุมูลเดี่ยว) หรือ –ate (อนุมลู กลุ่ม)

2.1 สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ 1A (+1), 2A (+2), 3A (+3) รวมกับอนุมลู เดี่ยว F—, Cl—, Br—, I— (7A)
O2—, S2— (6A)
N3— (5A)

การเขียนสูตรที่ถูกต้องเกิดจากการคูณไขว้ของเลขออกซิเดชัน

Li+1O-2 Li2O Na S …………………………… Al O …………………………………...

Ca F ………………………………. Al Cl ………………………… Mg S …………………………………...

K I ………………………………. Li N ………………………… Ca S …………………………………...

โพแทสเซียมคลอไรด์ ………………………………………. แคลเซียมออกไซด์ ………………………………………………………..

ลิเทียมซัลไฟล์ ……………………………………………….. อะลูมิเนียมโบรไมด์………………………………………………………..

แมกนีเซียมไอโอไดด์ ………………………………………. โซเดียมไนไตรด์ …………………………………………………………….

2.2 สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ 1A (+1), 2A (+2), 3A (+3) รวมกับอนุมลู กลุม่

NO3−, NO2− ClO3−, ClO4− CO32−. SO42− PO43−

CN−, SCN HCO3− HSO4− HPO42−

OH− H2CO3 H2SO4 H2PO4−

H3PO4

การเขียนสูตรที่ถูกต้องเกิดจากการคูณไขว้เลขออกซิเดชัน เช่น

Li+ SO42- Li2SO4 Na PO4 …………………………………. Al CO3 ……………………………………

Mg CO3 ……………………………… Ca HPO4 …………………………………… Mg HSO4 ……………………………………

K PO4 ……………………………… Li CN …………………………………… Ca OH ……………………………………

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5

Al HPO4 ……………………………… Al NO3 …………………………………… Na SO4 ……………………………………

โซเดียมคาร์บอเนต ………………………………………. โพแทสเซียมไนเตรต ………………………………………………………..

อะลูมิเนียมซัลเฟต ………………………………………. แคลเซียมฟอสเฟต ……………………………………………………………

แบเรียมคลอเรต ………………………………………….. แมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ………………………………………

ลิเทียมไฮโดรเจนฟอสเฟต ………………………………………. สตรอนเทียมไฮดรอกไซด์ ……………………………………………………

2.3 สารประกอบที่เกิดจากธาตุ Transition รวมกับอนุมลู เดีย่ ว และอนุมูลกลุ่ม


เนื่องจากธาตุเหล่านั้นประจุ (เลขออกซิเดชัน) หลายค่า ดังนั้นจึงต้องเขียนค่าประจุกากับไว้หลังธาตุโลหะทรานสิชัน
เป็นเลขโรมันในวงเล็บ เช่น คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต Cu+2 SO4-2 จะได้ CuSO4

นิกเกิล (III) ออกไซด์ ....................................................... แมงกานีส (IV) ออกไซด์ ........................................................

ไอร์ออน (III) คลอไรด์ ....................................................... ไอร์ออน (II) ไนเตรต ........................................................

2. สารละลายกรด และสารละลายเบส
สารละลายกรด (สารประกอบโควาเลนต์) แตกตัวให้ H+

กรด Hydro กรด Oxy

กรดไฮโดรฟลูออริก ........................................................... กรดไนตริก ....................................................................

กรดไฮโดรคลอริก ........................................................... กรดคลอริก ...................................................................

กรดไฮโดรโบรมิก ........................................................... กรดซัลฟิวริก .................................................................

กรดไฮโดรไอโอดิก ........................................................... กรดคาร์บอนิก .............................................................

กรดไฮโดรไซยานิก ........................................................... กรดฟอสฟอริก ...........................................................

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6

สารละลายเบส (สารประกอบไอออนิก) แตกตัวให้ OH—

ลิเทียมไฮดรอกไซด์ ........................................................... แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ...........................................................

โซเดียมไฮดรอกไซด์ ........................................................... แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ ...........................................................

โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ....................................................อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ ...........................................................

3. การเขียนสูตรเคมีและการดุลสมการ
ธาตุที่อยู่ในรูปโมเลกุล ได้แก่ F2, Cl2, Br2, I2, N2, O2, H2 P4 และ S8

1.) สมการแบบรวมตัวอย่างง่าย

1.1 ไฮโดรเจน + คลอรีน

1.2 คาร์บอน + ออกซิเจน

1.3 ไฮโดรเจน + ออกซิเจน

1.4 ไนโตรเจน + ไฮโดรเจน

1.5 ไอร์ออน(III) + คลอรีน

1.6 ซิลเวอร์(I) + ผงกามะถัน

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
7

2. สมการไอออนิก (สลับคู่ไอออนบวก—ลบ)

2.1 ซิลเวอร์(I)ไนเตรต + กรดไฮโดรคลอริก

2.2 แบเรียมคลอไรด์ + กรดไนตริก

2.3 เลด (II) ไนเตรต + โพแทสเซียมไอโอไดด์

2.4 กรดไฮโดรคลอกริก + โซเดียมไฮดรอกไซด์

2.5 ซิลเวอร์(I)ไนเตรต + แคลเซียมคลอไรด์

2.6 โซเดียมคาร์บอเนต + กรดไฮโดรคลอริก

2.7 แคลเซียมคาร์บอเนต + กรดเกลือ

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
8

2.8 แบเรียมคลอไรด์ + กรดซัลฟิวริก

3. สมการแทนที่

3.1 สังกะสี (II) + กรดซัลฟิวริก

3.2 อะลูมิเนียม + กรดซัลฟิวริก

3.3 แมกนีเซียม + กรดไฮโดรคลอริก

3.4 อะลูมิเนียม + ซิงค์ (II) ไนเตรต

3.5 อะลูมิเนียม + โครเมียม (III) ออกไซด์

3.6 สังกะสี(II)+ คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
9

3.7 โซเดียม + กรดซัลฟิวริก

4. สมการสลายตัว

4.1 เผาแคลเซียมคาร์บอเนต

4.2 เผาแมกนีเซียมคาร์บอเนต

4.3 เผาแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต

4.4 เผาโพแทสเซียมคลอเรต

5. การเผาไหม้

5.1 กรณีเผาไหม้สมบูรณ์ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น CO2 และ H2O เท่านั้น เช่น

C4H8 + O2 CO2 + H2O

C6H10 + O2 CO2 + H2O

5.2 กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น CO และ H2O เท่านั้น เช่น

C3H6 + O2 CO + H2O

C3H8 + O2 CO + H2O

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10

4. การละลาย

การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้ ได้แก่
1.1 สารประกอบของโลหะหมู่ I ทุกตัว เช่น KNO3, Na2CO3, LiClO3 เป็นต้น
1.2 สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกตัว เช่น (NH4)2SO4, NH4Cl, NH4NO3 เป็นต้น
1.3 สารประกอบของไนเตรตไอออนทุกตัว เช่น Pb(NO3)2, Ba(NO3)2, Al(NO3)3 เป็นต้น
1.4 สารประกอบของคลอเรตไอออนทุกตัว เช่น NaClO3, Mg(ClO3)2 เป็นต้น
1.5 สารประกอบของเปอร์คลอเรตไอออน ยกเว้น KClO4 เช่น LiClO4, Fe(ClO4)2 เป็นต้น
1.6 สารประกอบของแอซีเตตไอออน ยกเว้น CH3COOAg เช่น CH3COOAg, (CH3COO)2Ca เป็นต้น

*2. สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้า
2.1 เป็นสารประกอบที่เกิดจากโลหะหมู่ 2 กับ CO32-, PO43-, SO42- ยกเว้น MgSO4 เช่น CaCO3, Mg3(PO4)2, BaSO4 เป็นต้น
2.2 เป็นสารประกอบที่เกิดจากอโลหะหมู่ VII กับ Ag+, Hg2+, Pb2+ เช่น AgCl, PbI2 เป็นต้น
2.3 เป็นสารประกอบที่เกิดจากโลหะทุกชนิดกับ S2-, OH-, O2- ยกเว้นโลหะหมู่ 1A ทุกตัว และหมู่ 2A บางตัว ได้แก่ Ca2+,
Sr2+, Ba2+ เช่น Al2S3, ZnS, Cu(OH)2

การละลายน้าของสารประกอบโคเวเลนต์
สารประกอบที่มีขั้วชนิดเดียวกันจะละลายด้วยกันได้ สารประกอบที่มีขั้วต่างชนิดกันจะไม่ละลายซึ่งกันและกัน
การจัดจาพวกสาร

การละลายน้าของสารประกอบโลหะ

โลหะทุกชนิดไม่ละลายน้า ยกเว้นหมู่ 1 และ 2 ทาปฏิกิริยากับนา้ ให้ผลิตภัณฑ์เป็นเบส และแก๊ส H2(g) เช่น


2Na(s) + 2H2O(l) 2NaOH(aq) + H2(g)
Ca(s) + 2H2O(l) Ca(OH)2(aq) + H2(g)

พื้ นฐานเคมีเบื้ องต้น ความปลอดภัย และทักษะในห้องปฏิบตั ิการเคมี เรียบเรียงโดย ดร. อัจฉรา เผือกผล (Tel.& Line 086-1927247)
วท.บ. เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง, วท.ม. เคมี, ปร.ด. เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

You might also like