You are on page 1of 18

IJSO

ข้อสอบวิชาเคมี
เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน
วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 16
The Sixteenth International Junior Science Olympiad: (16th IJSO)

ชื่อ-นามสกุล ..................................................... ข้อสอบวิชา เคมี


เลขประจำตัวผู้สอบ .......................................... รหัสชุดวิชา 0000003
สถานที่สอบ ...................................................... สอบวันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562
ห้องสอบ ........................................................... เวลา 13.00 – 14.30 น.

คำชี้แจง
1. ข้อสอบมี 18 หน้า (รวมหน้านี้ด้วย) จำนวน 28 ข้อ ตารางธาตุอยู่หน้าสุดท้าย
2. ใช้ปากกาเขียนชื่อ นามสกุล เลขประจำตัวสอบ สถานที่สอบ ลงในข้อสอบ
3. ข้อสอบทั้งหมดเป็นแบบอัตนัย จงเขียนคำตอบในช่องที่กำหนดให้
4. ห้ามนำข้อสอบออกจากห้องสอบ
5. ห้ามใช้เครื่องคำนวณ
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 2/18
__________________________________________________________________________________________
1. สารกลุ่มพอลีไนโตรเจนเป็นสารที่มีไนโตรเจนเพียงอย่างเดียวเป็นองค์ประกอบ โดยทั่วไปมีความ
เสถียรต่ำเนื่องจากสามารถสลายตัวเกิดเป็นแก๊สไนโตรเจนที่มีความเสถียรมากกว่าได้ อย่างไรก็ตาม มี
สารในกลุ่มนี้บางตัวมีความเสถียรพอที่จะสังเคราะห์ขึ้นได้ เช่น ไอออน N–3 และ N+5 ในขณะที่สาร N4
นั้นสามารถสังเคราะห์ได้ในปริมาณน้อยมาก พอเพียงสำหรับใช้ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเพื่อ
ยืนยันการเกิดเท่านั้น
ให้วาดโครงสร้างลิวอิสที่ดีที่สุดและไม่เป็นวงของ N–3 , N+5 และ N4 พร้อมแสดงประจุฟอร์มาลและ
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของทุกอะตอมและรูปร่างของโมเลกุลที่ถูกต้อง (6 คะแนน)
ตอบ

2. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (dissolved oxygen, DO) เป็นค่าหนึ่งที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพ


น้ำ ซึ่งถ้าหากน้ำในแหล่งน้ำมีค่า DO น้อยจะทำให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำได้ การ
วิเคราะห์ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำด้วยวิธีทางเคมีทำได้โดยการไทเทรตเรียกว่าวิธีวิงเคลอร์
(Winkler method)
2.1. ในขั้นแรกจะเป็นการเติมสารละลาย Mn2+ ในเบสลงในน้ำตัวอย่างเพื่อให้ออกซิเจนที่
ละลายน้ำทำปฏิกิริยาได้ผลิตภัณฑ์เป็น MnO2 จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน ครึ่ง
ปฏิกิริยารีดักชัน และปฏิกิริยารีดอกซ์พร้อมทั้งดุลปฏิกิริยาทั้งหมด (3.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
2.2. สารประกอบ MnO2 ที่เกิดขึ้นจะถูกทำปฏิกิริยากับ I– ภายใต้สภาวะกรด ได้ผลิตภัณฑ์เป็น
I2 และ Mn2+ จงเขียนสมการรีดอกซ์ที่ดุลแล้วของปฏิกิริยานี้ (1.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 3/18
__________________________________________________________________________________________
2.3. ในขั้นสุดท้าย I2 ที่เกิดในข้อ 2.2 จะถูกนำมาไทเทรตกับสารละลายไทโอซัลเฟต (S2 O2–
3 ) ดัง
สมการ
I2 (aq) + 2S2 O23– (aq) → S4 O26– (aq) + 2I– (aq)
ถ้านำน้ำตัวอย่าง 20.00 mL มาไทเทรตกับสารละลายไทโอซัลเฟต 1.00 M จะใช้สารละลายไทโอ
ซัลเฟตปริมาตร 20.00 mL ในการไทเทรตในขั้นนี้ น้ำตัวอย่างจะมีค่า DO เท่าใดในหน่วย mg/L
(3 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

3. กระบวนการฮาร์เบอร์เป็นการสังเคราะห์แอมโมเนียในอุตสาหกรรมซึ่งมีความสำคัญในการผลิต
ปุ๋ย ซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยสมการด้านล่าง
N2 (g) + 3H2 (g) ⇌ 2NH3 (g) ∆H = -92 kJ
3.1. จงเขียนค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ในรูปความดันของแก๊สทั้งสามชนิด (PN2 , PH2 , PNH3 )
พร้อมหน่วย ให้ใช้หน่วยความดันเป็นบรรยากาศ (atm) (1 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….

3.2. จงวาดเส้นกราฟแสดงความดันย่อยของแก๊สทั้งสามชนิดในการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ลงใน
พื้นที่กราฟด้านล่าง ระบุให้ชัดเจนว่าเส้นใดแสดงถึงความดันย่อยของแก๊สชนิดใด สามารถกำหนดให้
ค่าคงที่สมดุลเป็นเท่าใดก็ได้แต่ต้องแสดงให้เห็นถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่ถูกต้อง
i. เริ่มต้นด้วยความดันของ N2 และ H2 เท่ากันและไม่มี NH3 ในระบบ จากนั้นปล่อยให้ระบบ
เข้าสู่สมดุล
ii. ที่เวลา t1 เติม H2 เข้าไปในระบบและปล่อยให้ระบบเข้าสู่สมดุล
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 4/18
__________________________________________________________________________________________
iii. ที่เวลา t2 ถ่ายเท NH3 ออกจากระบบ (สมมติให้กระบวนการถ่ายเทนี้เกิดขึ้นในทันที) และ
ปล่อยให้ระบบเข้าสู่สมดุล
iv. ที่เวลา t3 เพิ่มความดันของระบบด้วยการเติมแก๊สอาร์กอน (Ar) เข้าสู่ระบบและปล่อยให้
ระบบเข้าสู่สมดุล
v. ที่เวลา t4 ลดอุณหภูมิของระบบลงและปล่อยให้ระบบเข้าสู่สมดุล
(5 คะแนน)
ความดันย่อยของแก๊ส

เวลา

4. สารประกอบไทโอซัลเฟตในกรดจะสลายตัวเกิดซัลเฟอร์ตามสมการ
S2 O23– (aq) + 2H+ (aq) → H2 O (l) + SO2 (g) + S (s)
ในการทดลองชุดที่ 1 ผสมสารละลายที่ประกอบด้วยสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2O3)
60.00 mL, สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 20.00 mL และน้ำกลั่น 20.00 mL ลงในขวดรูป
กรวยซึ่งวางบนกระดาษที่ทำเครื่องหมายไว้และจับเวลาเมื่อกระทั่งสารละลายขุ่นจนมองไม่เห็น
เครื่องหมายบนกระดาษ ทำการทดลองซ้ำที่อุณหภูมิต่างๆกัน ได้ผลการทดลองดังแสดงในกราฟ
ด้านล่าง
การทดลองชุดที่ 2 ทำเหมือนการทดลองชุดที่ 1 โดยใช้สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต 40.00 mL,
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 20.00 mL และน้ำกลั่น 40.00 mL
การทดลองชุดที่ 3 ทำเหมือนการทดลองชุดที่ 1 โดยใช้สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต 60.00 mL,
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 30.00 mL และน้ำกลั่น 10.00 mL
4.1. เพราะเหตุใดจึงต้องเติมน้ำกลั่นในการทดลอง (0.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 5/18
__________________________________________________________________________________________
4.2. จงบอกลำดับการเติมสารทั้งสามลงในขวดรูปกรวย (0.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
4.3. ให้วาดเส้นกราฟแสดงผลการทดลองที่คาดว่าจะสังเกตได้จากการทดลองชุดที่ 2 และ 3 ลง
ในกราฟเดียวกับผลการทดลองที่ 1 ด้านล่าง เขียนระบุให้ชัดเจนว่าเส้นใดเป็นผลของการทดลองใด
(1 คะแนน)
300
250
เวลาที่ใช้จนกระทั่งมองไม่เห็น
เครื่องหมาย (วินาที)

200
150
100
50
0
0 20 40 60
อุณหภูมิ (°C)
5. สารละลายกรดฟอร์มิกเข้มข้น 4.6% (w/w) มี pH = 2.0 มีความหนาแน่นเท่ากับ 1.0 g/mL
5.1. คำนวณความเข้มข้นของสารละลายกรดฟอร์มิกในหน่วยโมลาร์ (1 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ………………………………………………………………

5.2. คำนวณค่าคงที่สมดุลของกรดฟอร์มิก (1 คะแนน)


วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ………………………………………………………………
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 6/18
__________________________________________________________________________________________
6. จากปฏิกิริยาของฟอสฟอรัสต่อไปนี้
ก. P4 + O2 → X (ออกไซด์ของฟอสฟอรัส) และ X + H2O → H3PO3 (สมการยังไม่ดุล)
ข. P4 + O2 → Z (ออกไซด์ของฟอสฟอรัส) และ Z + H2O → H3PO4 (สมการยังไม่ดุล)
ค. H3PO3 → PH3 + H3PO4

6.1. จงเขียนสูตรเคมีของสาร X (1 คะแนน)


ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….

6.2. จงเขียนสูตรเคมีของสาร Z (1 คะแนน)


ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….

6.3. ให้เปรียบเทียบความแรงระหว่างกรด H3PO3 กับกรด H3PO4 (1 คะแนน)


ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….

6.4. วาดรูปและระบุโครงสร้างของสารต่อไปนี้ phosphorus (P4), phosphine (PH3),


phosphonic acid (H3PO3) และ phosphoric acid (H3PO4) (4 คะแนน)
สาร P4 PH3 H3PO3 H3PO4

รูปโครงสร้าง

ชื่อรูปร่าง

7. นักเรียนคนหนึ่งนำแก๊ส N2 ตัวอย่าง ปริมาตร 40.0 L ซึ่งมีแก๊ส SO2 เจือปนอยู่ มาทำการทดลอง


ผ่านแก๊ส N2 ตัวอย่างดังกล่าวลงไปในสารละลาย H2O2 เข้มข้น 3.0% แก๊ส SO2 ทั้งหมดจะถูกทำ
ปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นกรด H2SO4 ดังสมการ

SO2 (g) + H2O2 (aq) → H2SO4 (aq)


จากนั้นได้เติมสารละลายเบส NaOH เข้มข้น 0.0100 M ปริมาตร 25.00 mL ลงในสารละลายกรด
H2SO4 ข้างต้น พบว่าเบส NaOH ที่เหลือจากการทำปฏิกิริยากับกรด H2SO4 นี้ ได้ทำปฏิกิริยาพอดีกับ
สารละลาย HCl เข้มข้น 0.0100 M ปริมาตร 15.00 mL
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 7/18
__________________________________________________________________________________________
7.1. จงเขียนสมการเคมีแสดงการทำปฏิกิริยาระหว่าง H2SO4 (aq) และ NaOH (aq) พร้อมทั้ง
ดุลสมการและระบุสถานะ (1 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….

7.2. จงคำนวณหาจำนวนโมลของ NaOH ที่ใช้ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลายกรด H2SO4 ในข้อ


7.1 (1.5 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

7.3. จงคำนวณหามวลของแก๊ส SO2 ที่ปนอยูน่ ี้ว่ามีมวลกี่กรัม (2 คะแนน)


วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 8/18
__________________________________________________________________________________________
7.4. จงคำนวณหาความเข้ ม ข้ น ของแก๊ ส SO2 ที ่ ป นอยู ่ ใ นแก๊ ส ตั ว อย่ า ง N2 ในหน่ ว ย ppm
(กำหนดให้ความหนาแน่นของแก๊ส SO2 = 1.6 g L-1) (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

8. ปฏิกิริยาเคมีที่ภาวะสมดุลปฏิกิริยาหนึ่ง มีสมการเคมีดังนี้
A (g) + B (g) ⇌ C (g) + D (g)
ณ ภาวะสมดุล ที่อุณหภูมิ 25.0 oC ในภาชนะปิดปริมาตร 1.0 ลิตร มีแก๊ส A 2.0 โมล แก๊ส B 2.0
โมล แก๊ส C 1.0 โมล และแก๊ส D 2.0 โมล ถ้ารบกวนสมดุลโดยการเติมแก๊ส A ลงไปโดยไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ พบว่าเมื่อระบบถึงสมดุลใหม่จะเหลือแก๊ส B อยู่ 1.5 โมล
8.1. จงคำนวณหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ ที่อุณหภูมิ 25.0 oC (1 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
8.2. จงคำนวณหาว่าแก๊ส A ที่เติมลงไปมีจำนวนกี่โมล (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 9/18
__________________________________________________________________________________________
9. จงเรียงลำดับความยาวพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนกับออกซิเจนในสารประกอบต่อไปนี้จาก
น้อยไปมาก CH3OH, H2CO, HCO2– HCO–3 , และ CO2–
3 (2 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
10. จงวาดโครงสร้างลิวอิสของไฮโปไนไตรต์ (Hyponitrite) ซึ่งมีสูตร คือ N2 O2–
2 พร้ อ มทั ้ ง แสดง
ประจุฟอร์มาลและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของทุกอะตอม (2 คะแนน)
ตอบ

11. จากการศึกษาแนวโน้มสมบัติของธาตุในตารางธาตุ จงตอบคำถามต่อไปนี้


11.1. จงเรียงลำดับขนาดอะตอมต่อไปนี้จากน้อยไปมาก Si, Cl, Sr, Sn, Cs (1.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….
11.2. จงเรียงลำดับขนาดไอออนต่อไปนีจ้ ากน้อยไปมาก Na+, Mg2+, O2–, S2–, F– (1.5 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………..…………………………………..……..........….

12. นักบินอวกาศสามารถผลิตน้ำได้จากลมหายใจของตนเองจากการให้ CO2 (g) ทำปฏิกิริยากับ


LiOH (s)
12.1. จงแสดงปฏิกิริยาเคมีระหว่าง CO2 (g) กับ LiOH (s) พร้อมทั้งดุลสมการ (1 คะแนน)
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………
12.2. ถ้าในหนึ่งวันนักบินอวกาศหายใจเอา CO2 (g) ออกมา 880.0 g จงคำนวณหาปริมาตรของ
น้ำที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาในข้อ 12.1 ในสภาวะที่มี LiOH (s) ปริมาณมากเกินพอ และผลได้ร้อยละของ
ปฏิกิริยาเท่ากับ 90.0 (กำหนดให้ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1.00 g mL-1) (3 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 10/18
__________________________________________________________________________________________
12.3. ถ้ามีนักบินอวกาศบนยานจำนวน 5 คน จงหาว่าต้องใช้ LiOH จำนวนกี่กิโลกรัม เพื่อให้พอดี
ในการเปลี่ยน CO2 ทั้งหมดในการปฏิบตั ิภารกิจบนยานนาน 1 สัปดาห์ (3 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

13. ถ้านักเรียนเป่าลูกโป่งที่มีปริมาตร 1.0 ลิตร ณ อุณหภูมิ 27.0 °C โดยใช้ลมทั้งหมดในปอดของ


นักเรียนที่มีอยู่ปริมาตร 2.0 ลิตร เมื่อกำหนดให้อากาศที่ถูกเป่าออกมามีพฤติกรรมเป็นแก๊สในอุดมคติ
อุณหภูมิในร่างกายเท่ากับ 37.0 °C และความดันภายในปอดเมื่อมีอากาศเต็มเท่ากับ 1.2 atm จงหา
ความดันของแก๊สภายในลูกโป่งที่ถูกเป่านี้ (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

14. จงหาสูตรโมเลกุลของสารกรดอินทรีย์ที่มีองค์ประกอบเป็นธาตุคาร์บอน 60.0% ไฮโดรเจน 8.0%


และออกซิเจน 32.0% (w/w) โดยกรดอินทรีย์นี้มวล 100.0 mg ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย
NaOH เข้มข้น 0.050 M ปริมาตร 10.00 mL ด้วยอัตราส่วนปริมาณสัมพันธ์เท่ากับ 1:2 ตามลำดับ
(5 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..………………………………...............
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 11/18
__________________________________________________________________________________________
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

15. เมื่อนำกรดอินทรีย์ในข้อ 14 น้ำหนัก 500.0 mg ไปละลายน้ำปริมาตร 500.0 mL แล้วพบว่า


กรดมีร้อยละการแตกตัวเท่ากับ 20.0 จงหาค่า pH ของสารละลายกรดอินทรีย์นี้ (5 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

16. ถ้านำน้ำแข็งมวล 50.00 g ที่อุณหภูมิเริ่มต้น 0.0 °C ไปวางบนเตาไฟฟ้าที่มีการให้ความร้อนด้วย


อัตรา 100.0 cal s–1 จนระเหยกลายเป็นไอทั้งหมดพอดี จงวาดกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิและเวลาพร้อมทั้งระบุเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะในแต่ละช่วง โดยวาดให้สัดส่วนแกน
สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล จากการคำนวณ (กำหนดให้ ค ่ า ความร้ อ นแฝงของการหลอมเหลวและการ
กลายเป็นไอของน้ำเท่ากับ 80.0 และ 540.0 cal g–1 ตามลำดับ ส่วนค่าความจุความร้อนจำเพาะของ
น้ำที่เป็นของเหลวและไอน้ำเท่ากับ 1.0 และ 0.48 cal g–1 °C–1 ตามลำดับ) (5 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 12/18
__________________________________________________________________________________________

17. เมื่อนำของแข็งตัวอย่างชนิดหนึ่งซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุแคลเซียม 40.0% (w/w) คาร์บอน


12.0% (w/w) และ ออกซิเจน 48.0% (w/w) ใส่ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก พบว่ามีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น
17.1. จงหาสูตรอย่างง่ายของสารตัวอย่าง (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
17.2. จงเขียนสมการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาข้างต้น (1 คะแนน)
ตอบ ……………………………………………………………………………………………..………………………………………
17.3. จงหาความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ใช้ ถ้าพบว่าเมื่อเติมสารละลายกรด
200.0 mL ลงในของแข็งตัวอย่างที่มากเกินพอแล้วทำให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เตรียมได้มี
ปริมาตรเท่ากับ 33.60 mL ที่ สภาวะ STP (สมมติว่าแก๊สมีพฤติกรรมแบบแก๊สอุดมคติ) (2 คะแนน)
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 13/18
__________________________________________________________________________________________
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
17.4. ถ้าพบว่าเมื่อนำแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการทดลองไปปล่อยลงในสารละลายชนิด
หนึ่งแล้วมีตะกอนสีขาวของแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดขึ้น จงเขียนสมการเคมีที่ดุลแล้วพร้อมระบุ
สถานะเพื่อแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว (1 คะแนน)
ตอบ ……………………………………………………………………………………………..………………………………………

18. ถ้าไอโซโทปของธาตุตัวอย่างชนิดหนึ่งสามารถสลายตัวแล้วปล่อยรังสีบีตาออกมาพร้อมกับได้
Zn-64 เป็นผลิตภัณฑ์
18.1. จงเขียนสมการนิวเคลียร์ของการสลายตัวของธาตุตัวอย่าง (1 คะแนน)
ตอบ ……………………………………………………………………………………………..………………………………………
18.2. จงแสดงชุดของเลขควอนตัม (n, l, ml ) ทั้งหมดที่เป็นไปได้ของอิเล็กตรอนของธาตุตัวอย่าง
ที่อยู่ในออร์บิทัล 3d (2 คะแนน)
ตอบ ……………………………………………………………………………………………..………………………………………
19. จงเขียนคู่กรด/คู่เบส (conjugate acid/base) ของสารหรืออนุภาคต่อไปนี้ (2 คะแนน)
H2O2 คู่เบสคือ ………………….
NH3 คู่เบสคือ ………………….
O2- คู่กรดคือ ………………….
HPO2–4 คู่กรดคือ ………………….
20. พิจารณาปฏิกิริยา
MnO4– (aq) + H2O (l) + Co2+ (aq) → MnO2 (s) + Co3+ (aq) + OH– (aq)
20.1. จงเขียนสมการที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาข้างต้น (1 คะแนน)
ตอบ …………………………………………………………………………………………..………………………………………….
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 14/18
__________________________________________________________________________________________
20.2. จงหาค่า E°cell ของปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว (1.5 คะแนน)
ถ้ากำหนดให้

Co3+ (aq) + e– ⇌ Co2+ (aq) E° = 1.82 V


MnO4– (aq) + 2H2O (l) + 3e– ⇌ MnO2 (s) + 4OH– (aq) E° = 0.59 V
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
20.3. จากปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว จงระบุสารที่เป็นตัวรีดิวซ์ (0.5 คะแนน)
ตอบ …………………………………………………………………………………………..………………………………………….
20.4. จากปฏิกิริยาที่ดุลแล้ว จงระบุสารที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (0.5 คะแนน)
ตอบ …………………………………………………………………………………………..………………………………………….

21. นำสารละลายผสมของไอออนบวก 4 ชนิด : Ca2+ , K+, Ag+ และ Cu2+ มาทำการทดลองดัง


แผนภาพด้านล่าง จงระบุว่า A-D คือตะกอนหรือไอออนชนิดใด (2 คะแนน)

สารละลายผสม
+ HCl /กรอง ตะกอน A ตะกอน A คือ …………………..…
สารละลายผสมที่เหลือ
+ H2S /กรอง ตะกอน B ตะกอน B คือ …………………..…
สารละลายผสมที่เหลือ
+ Na 2CO3 /กรอง ตะกอน C ตะกอน C คือ …………………..…
สารละลายของไอออน D
ไอออน D คือ …………………..…
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 15/18
__________________________________________________________________________________________
22. กรดไดโพรติ ก ชนิ ด หนึ ่ ง (H2A) จำนวน 5.00 g ละลายในน้ ำ จนมี ป ริ ม าตร 250.0 mL จง
คำนวณหามวลโมลาร์ ข องกรดชนิ ด นี ้ เมื ่ อ สารละลายกรดนี ้ 25.00 mL เกิ ด การสะเทิ น พอดี กั บ
สารละลาย 1.00 M KOH ปริมาตร 11.10 mL (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
23. ในการผลิต CaO เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม จากปฏิกิริยา
CaCO3 (s) → CaO (s) + CO2 (g)
จงคำนวณหาปริมาณของ CO2 ที่ถูกปล่อยจากปฏิกิริยา (ในหน่วย kg) ใน 1 ปี ถ้าโรงงานผลิต CaO
ได้ปีละ 5.6 x 1010 kg (2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………
24. ถ้ า ต้องการเตรียมสารละลายบัฟ เฟอร์ จากเบสอ่ อ นต่ อ ไปนี ้ ต้ อ งใช้ ส ารใดผสมในปริ ม าณที่
เหมาะสม (1 คะแนน)
24.1. NH3 ………………………………………….
24.2. Na2HPO4 ………………………………………….
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 16/18
__________________________________________________________________________________________
25. การปล่อยสารของผึ้งเพื่อป้องกันตัวเอง จะเกิดจากปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรควิโนน (C6H4(OH)2)
กับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) และเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน เกิดเป็นควิโนน (C6H4O2) เป็น
“chemical spray” ปล่อยออกมาใส่ศัตรู ดังสมการ
C6H4(OH)2 (aq) + H2O2 (aq) → C6H4O2 (aq) + 2H2O (l) ∆Ho1 = ? kJ
จงคำนวณความร้อนของปฏิกิริยาด้านบน (∆Ho1 ) จากสมการต่อไปนี้
C6H4(OH)2 (aq) → C6H4O2 (aq) + H2 (g) ∆Ho2 = 177 kJ
2H2O2 (aq) → 2H2O (l) + O2 (g) ∆Ho3 = -190 kJ
H2O (l) → H2 (g) + ½O2 (g) ∆Ho4 = 286 kJ
(2 คะแนน)
วิธีคำนวณ ………………………………………………………………………………..…………………………………..…….….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………….
ตอบ ……………………………………………………………

26. จงตอบคำถามจากปฏิกิริยาต่อไปนี้
26.1. 2KClO3 → 2KCl + 3O2
เลขออกซิเดชันของ Cl เปลี่ยนจาก ………….. (ในสารตั้งต้น) เป็น ………… (ในสารผลิตภัณฑ์)
ตัวออกซิไดซ์ คือ …………..………….. (1 คะแนน)
26.2. 10HI + 2KMnO4 + 3H2SO4 → 5I2 + 2MnSO4 + K2SO4 + 8H2O
เลขออกซิเดชันของ Mn เปลี่ยนจาก ………….. (ในสารตั้งต้น) เป็น ………… (ในสารผลิตภัณฑ์)
ตัวออกซิไดซ์ คือ …………..………….. (1 คะแนน)
27. นำแก๊ส 5 ชนิด ดังนี้ N2, He, NH3, Ar และ CO2 ใส่ในภาชนะใบหนึ่งที่ปิดฝา แล้วเจาะรูภาชนะ
ให้แก๊สผ่าน จงเรียงลำดับชนิดของแก๊สที่สามารถผ่านออกจากภาชนะจากเร็วที่สุดไปช้าที่สุด
(1 คะแนน)
ตอบ ............................................................
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16thIJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 17/18
__________________________________________________________________________________________
28. ธาตุกัมมันตรังสี 218
84X เมื่อสลายตัวในขั้นแรกให้ 1 อนุภาคแอลฟาแล้วเกิดเป็นธาตุใหม่ A ซึ่งไม่
เสถียร และสลายตัวต่อให้ 1 อนุภาคเบตาและธาตุใหม่ B ในขั้นที่สอง
28.1. ธาตุ A มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ……………………………… (1 คะแนน)
28.2. ธาตุ B มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ….…………………………… (1 คะแนน)
การสอบรอบที่ 2 เพื่อคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขัน 16th IJSO
วิชาเคมี วันเสาร์ที่ 17 มีนาคม 2561 เวลา 13.00 - 14.30 น. หน้า 18/18
__________________________________________________________________________________________
ตารางธาตุ สัญลักษณ์
1 เลขอะตอม 1 2
H H He
1 เลขมวล 1 4
3 4 5 6 7 8 9 10
Li Be B C N O F Ne
7 9 11 12 14 16 19 20
11 12 13 14 15 16 17 18
Na Mg Al Si P S Cl Ar
23 24 27 28 31 32 35 40
19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36
K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr
39 40 45 48 51 52 55 56 59 59 64 65 70 73 75 79 80 84
37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54
Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
85 88 89 91 93 96 (99) 101 103 106 108 112 115 119 122 128 127 131
55 56 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86
Cs Ba 57-71 Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn
133 137 178 181 184 186 190 192 195 197 201 204 207 209 (209) (210) 222
87 88 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118
Fr Ra 89-103 Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Og
223 226 (265) (268) (271) (270) (277) (276) (281) (280) (285) (284) (289) (288) (293) (294) (294)
57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71
La Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb Lu
139 140 141 144 (145) 150 152 157 159 163 165 167 169 173 175
89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103
Ac Th Pa U Np Pu Am Cm Bk Cf Es Fm Md No Lr
(227) 232 231 238 (237) (244) (243) (247) (247) (251) (252) (257) (258) (259) (262)

You might also like