You are on page 1of 10

TH1

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
แบบขออนุมัติช่ อ
ื เรื่องวิทยานิพนธ์ และแต่งตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์
-------------------------------------
ชื่อนักศึกษา (นาย/นาง/นางสาว) นางสาวกนกพร เจริญพันธ์ รหัส
631430003807-1
เป็ นนักศึกษา หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการสิ่ง
แวดล้อมและสุขภาพชุมชน รุ่นที่ 8
ระบบในเวลาราชการ ระบบนอกเวลาราชการ
ขออนุมัติช่ อ
ื เรื่องและแต่งตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

1. ชื่อเรื่อง
(ภาษาไทย) ปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงาน
บริษัท เพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด

……………………………………………………………………………………………………………
………………………………..…….…………

……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………...……………
(ภาษาอังกฤษ)……………………………………………………………………………………
……………………………………………………
2
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………...…………
…………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………..

2. คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
2.1 ชื่อ ........................ นามสกุล ....................... วุฒิทางการ
ศึกษา………………………..…………
ตำแหน่งทางวิชาการ…………..…… สาขาวิชา……………………เป็ น
ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
2.2 ชื่อ ดร.จุฑามาศ นามสกุล เจียมสาธิต วุฒิทางการศึกษา………………..
……..……………
ตำแหน่งทางวิชาการ……………….……สาขาวิชา…………………….เป็ น
กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
2.3 ชื่อ ดร.วรกร นามสกุล วิชัยโย วุฒิทางการศึกษา………………….
……………………
ตำแหน่งทางวิชาการ…………………..……สาขาวิชา……………..……..
…….เป็ น กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ลงชื่อ…………………………………………….. นักศึกษา
(นางสาวกนกพร เจริญพันธ์)
วันที่…………เดือน………..………
พ.ศ…………..…
3
3. ผู้รับเสนอ
ลงชื่อ…………………………………….. ประธานกรรมการที่
ปรึกษาวิทยานิพนธ์
(…………..………………………….)
ลงชื่อ…………..………………………….. กรรมการที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์
(ดร.จุฑามาศ เจียมสาธิต)
ลงชื่อ…………………………….……….. กรรมการที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์
(ดร.วรกร นามสกุล วิชัยโย)

4. ความเห็นของกรรมการประจำหลักสูตร
 อนุมัติช่ อ
ื เรื่อง  อนุมัติคณะกรรมการ
 ไม่อนุมัติ เนื่องจาก  ประธาน  กรรมการคนที่
…………..
 มีคุณวุฒิทางการศึกษาไม่เป็ นไปตามเกณฑ์
 มีจำนวนนักศึกษาที่รับผิดชอบเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้
 อื่น ๆ (ระบุ)………………………………………………………………….
…………………………………..

ลงชื่อ…………………………………………… ประธาน
หลักสูตร
(…………………………….………………….)
วันที่………เดือน………………พ.ศ…..……..
5. ความเห็นหัวหน้าสาขาวิชา
 ควรอนุมัติ
4
 ไม่ควรอนุมัติ
เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………
………
……………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………….
ลงชื่อ…………………………..………………………
(……………………………..………………….)
วันที่………เดือน………………พ.ศ…….

6. ความเห็นรองคณบดีงานบริการการศึกษาและวิจัย
 ควรอนุมัติ
 ไม่ควรอนุมัติ เนื่องจาก……………….
…………………………………………………………………………..……………

ลงชื่อ…………………………………….…..
(..............................................)

รองคณบดีงานบริการการศึกษาและวิจัย
วันที่………เดือน……..…………พ.ศ……..…

7. ความเห็นคณบดี
 อนุมัติ
 ไม่อนุมัติ
เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………
……………
……………………………………………………………………………………………………
…………………….……………………….
5

ลงชื่อ……………………………………………
(……………………..…………………….)
คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ
วันที่……….…เดือน…………………พ.ศ…….….
6

เค้าโครงย่อ

1. ชื่อเรื่อง
(ภาษาไทย) ปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงาน
บริษัท เพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด
(ภาษาอังกฤษ) …………………………………………………………………………….
……………………………………………………………

2. ความเป็ นมาของการวิจัย
บริษัทเพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด เป็ นผูผ
้ ลิต และจัดจำหน่าย น้ำปลาร้าต้มสุก
ปรุงรส เพื่อจำหน่ายทัง้ ในประเทศ และ ต่างประเทศ บริษัทเพชรดำฟู ้ดส์
จำกัด ได้เห็นความสำคัญในเรื่องการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และ สิ่งแวดล้อมในการทำงาน จากสถิติอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานของ
บริษัทเพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด พบว่ามีอุบัติเหตุเกิดขึน
้ ตัง้ แต่เดือน มกราคม –
ธันวาคม 2563 เป็ นจำนวน 15 ครัง้ ซึง่ อุบัติเหตุมีในทุกส่วนงาน และมีความ
รุนแรงเพิ่มมากขึน
้ ซึง่ แสดงให้เห็นว่าบริษัท ยังขาดระบบการจัดการเกี่ยวกับ
การควบคุมดูแลด้านความปลอดภัย และ อาชีวอนามัยที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาปั จจัย
ที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงานบริษัทเพชรดำฟู ้ดส์
จำกัด เพื่อช่วยลดปั ญหาและหาแนวทางแก้ไขอุบัติเหตุที่เกิดขึน
้ จากการ
ทำงานในสถานประกอบกิจการ ในภายภาคหน้าต่อไป

3. ความมุ่งหมายของการวิจัย
7
1. เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงาน
บริษัท เพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด
2. เพื่อศึกษาการหาแนวทางป้ องกันและแก้ไข การเกิดอุบัติเหตุจากการ
ทำงาน ของพนักงาน
บริษัท เพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด

4. วิธีดำเนินการวิจัย (โดยย่อ)
4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
พนักงานที่ทำงานอยู่ บริษัท เพชรดำฟู ้ดส์ จำกัด จำนวน 98 คน
(ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ณ สิน
้ เดือน ธันวาคม 2563)

4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็ นแบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ผู้
วิจัยจัดทำขึน
้ โดยการศึกษาแนวทางจากเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนคำแนะนำของาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ครอบคลุม
วัตถุประสงค์การวิจัย ซึ่งจะมีแบบสอบถามทัง้ หมด 1 ชุด โดย ดังนี ้ คือ

ชุดที่ 1 สอบถามพนักงานของบริษัท มีส่วนของคำถามทัง้ หมด 2 ส่วน คือ


ส่วนที่ 1 ปั จจัยด้านบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ อายุการทำงานและ
ระดับ การศึกษา โดยลักษณะคำถามเป็ นข้อคำถามแบบเลือกตอบ และเติม
คำหรือจำนวนในช่องว่างตาม ความเป็ นจริงของผู้ตอบแบบสอบถาม
8
ส่วนที่ 2 ปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงาน ซึ่ง
ประกอบด้วย พฤติกรรมด้านการจัดการความปลอดภัย พฤติกรรมด้านการ
สำรวจความปลอดภัย และพฤติกรรมด้านการป้ องกันความปลอดภัย โดย
ลักษณะคำถามเป็ นแบบประเมินค่า (Rating Scale) มีคำตอบให้เลือกตอบ 5
ระดับ

4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยครัง้ นี ้ ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ จากแหล่ง
ข้อมูลแบบปฐมภูมิ (Primary data) โดยการสำรวจด้วยแบบสอบถาม โดย
ทำการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ซึง่ มีขน
ั ้ ตอนการเก็บข้อมูลดังนี ้
1. ทำการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง
2. ประชุมชีแ
้ จงผู้ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล ถึงวัตถุประสงค์การศึกษา
และอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม ขัน
้ ตอนการแจกแบบสอบถามและวิธี
การได้มาของข้อมูล
3. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจนครบตามจำนวน

5. การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงาน
จะทำการวิธีวิเคราะห์ โดยจะใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS เป็ นเครื่องมือใน
การวิเคราะห์ มีรายละเอียดดังนี ้
1. ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลใช้สถิติพรรณนา (Descriptive
Statistics) เพื่อการวิเคราะห์เกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างและ
ขนาดของโรงงานอุตสาหกรรม โดยการนำมา แจกแจงความถี่ (Frequency)
และค่าร้อยละ (Percentage)
2. ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติของพนักงานเกี่ยวกับการจัดการด้านความ
ปลอดภัย การปฏิบัติงานการจัดการความปลอดภัยและการรับรู้การจัดการ
ความปลอดภัยของพนักงาน ใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ใน
9
การวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
สำหรับเกณฑ์มาตรฐานพิจารณาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยที่คำนวณ
อาศัยหลักของลิเคิร์ต สเกล (Likert Scale) (ธานินทร์ ศิลป์ จารุ , 2548)
กำหนดขนาดของชัน
้ จากค่าคะแนนเฉลี่ยช่วงชัน
้ (Weight Mean Score)
3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม เพื่อหาความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้การวิเคราะห์เชิงอนุมาน ด้วยการหาค่า
สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson s Correlation Coefficient)
โดยนำตัวแปรอิสระทุกตัวที่ต้องการวิเคราะห์จับคู่กับตัวแปรตามที่ละตัว ด้วย
การทดสอบนัยสำคัญทางสถิติ

4. ทดสอบสมมติฐาน ด้วยการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัย


ส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานแตก
ต่างกัน โดยใช้การวิเคราะห์เชิงอนุมาน ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิง
พหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบขัน
้ ตอน (Stepwise
method) โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ (Level of
Significance) เท่ากับ 0.05 เพื่อหาปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้การจัดการ
ความปลอดภัยของพนักงาน

ลงชื่อ……………………………………… นักศึกษา
(นางสาวกนกพร เจริญพันธ์)
ลงชื่อ……………………………………. ประธานกรรมการที่
ปรึกษาวิทยานิพนธ์
10
(……………………………………..)

You might also like