You are on page 1of 19

Chem Online http://www.pec9.

com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ


เคมี บทที่ 1 อะตอม และตารางธาตุ

สสารประกอบดวย..........................
แตละโมเลกุลมี...................อยูภายใน
สารที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกันลวนๆ เรียก .............
ธาตุที่นักวิทยาศาสตรรูจักแลวในปจจุบันมีประมาณ 110 ชนิด
นักวิทยาศาสตรไดนําธาตุทั้งหมดมาเขียนเปนชื่อยอ แลวเขียน
เปนแสดงตาราง เรียกวา ......................



ตอนที่ 1 โครงสรางอะตอม
ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน
ดาลตันนักฟสกิ สและนักเคมีชาวอังกฤษตัง้ ทฤษฎีอะตอมขึน้ ในป
พ.ศ. 2351 ซึง่ มีใจความวา
1) สสารทัง้ หลายประกอบดวยอะตอมซึง่ เปนหนวยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีไ่ มสามารถ.........................
2) ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน สวนธาตุตา ง
ชนิดกันอะตอมจะ...................
3) อะตอมชนิดหนึง่ จะเปลีย่ นแปลงไปเปน..............................ไมได
4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึง่ จะประกอบดวยอะตอมของธาตุองคประกอบ
ในสัดสวนที.่ ...................
1
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
5) ในปฏิกริ ยิ าเคมีใด ๆ อะตอมไมมกี ารสูญหาย และไมสามารถทําให..................... แตอะตอมจะ
เกิดการจัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึน้ เปนสารประกอบ
1. ทฤษฎีอะตอมของดาลตันมีกี่ขอ ปจจุบนั พบวาเปนจริงเพียง 1 ขอ คือ ขอที.่ ......... ซึ่งกลาว
วา............................ ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
2. ทฤษฏีอะตอมของดาลตัน
ขอ 1. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 2. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 3. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 5. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
การคนพบอิเล็กตรอน

สมบัติของรังสีคาโทด
1) ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสงได
2) เบีย่ งเบนเขาหาขัว้ ไฟฟา..............
แสดงใหรูวามีประจุ
3) เบีย่ งเบนในสนามแมเหล็กและ ไฟฟาเปน.............. ทอมสันเรียกกอน
ทิศการเบีย่ งเบนเปนไปตามกฎ............ อนุภาคที่มีประจุ
4) ไมสามารถทะลุ...................... เปนลบนี้วา
ทีข่ วางกัน้ แสดงใหรวู า ภายในรังสีคาโทด …………..
5) หมุน........................... ได ประกอบไปดวย.................

ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เปนขั้วคาโทดไดรับพลังงาน
ไฟฟาที่มีศักยสูง จะทําใหอเิ ล็กตรอนภายในอะตอมโลหะนัน้ หลุดออกมา แลวเคลื่อนที่ไปยังขั้ว
อาโนด (ขั้วบวก) ทอมสันจึงสรุปวา ในอะตอมจะตองมีอเิ ล็กตรอนเปนองคประกอบอยูภ ายใน
3. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานขั้วไฟฟา จะเบนเขาหาขัว้ .............
เมือ่ รังสีคาโทดวิง่ ผานสนามแมเหล็กจะ...............
เมือ่ รังสีคาโทด พุงชนโลหะบาง ๆ รังสีทะลุไปไดหรือไม.......
เมือ่ รังสีคาโทดพุง ชนกังหัน จะทําใหกังหัน........
2
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
4. สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประจุเปนลบ .......................................
สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประกอบไปดวยกอนอนุภาค ...............
การคนพบโปรตรอน
Ergen goldstein นักฟสกิ สชาวเยอรมัน ไดทาํ การดัดแปลงหลอดรังสีคาโทด โดยจัดให
ขัว้ คาโทดอยูเ กือบตรงกลางและเจาะรูขว้ั คาโทดไว
เมือ่ ตอความตางศักยสงู เขาไป นอกจากจะมีรังสีคา
แลว ยังจะมีรงั สีอกี ชนิดหนึง่ วิง่ ยอนกลับมาหาขัว้
คาโทด (ขัว้ ลบ) รังสีนจ้ี ะประกอบไปดวยอนุภาคที่
ประจุบวก เรียกรังสีแคแนล(Canal ray) หรือ .............
รังสีนเ้ี กิดจากอะตอมของกาซภายในหลอดถูกชนดวยอนุภาคอิเล็กตรอนทีพ่ งุ มาจากขัว้ คาโทด
ทําใหอะตอมของกาซอิเล็กตรอนในอะตอมไป แลวกลายเปนอนุภาคทีม่ ปี ระจุ..............อนุภาคนีก้ ็
จะวิง่ เขาหาขัว้ คาโทดอันเปนขัว้ ลบนัน่ เอง
การทดลองนีท้ าํ ใหเชือ่ วาในอะตอมตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูด ว ยเรียกอนุภาคบวกนีว้ า .................
*หากเปลีย่ นชนิดกาซทีบ่ รรจุอยูใ นหลอด แลวทดลองหาคาประจุตอ มวล (q/m) จะพบวาอนุภาครังสี
บวกของกาซแตละชนิดจะมีคา q/m ไมเทากัน ทัง้ นีเ้ พราะกาซแตละชนิดจะมีมวลไมเทากันนัน้ เอง

5. รังสีแคแนลเกิดจาก ............. ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... .......

6. การคนพบรังสีแคแนลทําใหเรารูจ กั อนุภาคมูลฐานในอะตอมตัวหนึง่ คือ ......... .........

7. รังสีแคแนลมีคาประจุตอมวลไมคงที่ เพราะ ......... ......... ......... ......... ......... ......... .............

แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
จากการทดลองของทอมสัน , โกลดสไตน และนักวิทยาศาสตรอีกหลายทาน ทําใหเชื่อวาใน
อะตอมใดๆ จะตองประกอบดวยอนุภาคทีม่ ปี ระจุบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงไดเสนอแบบจําลองของอะตอมเอาไววา
“ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบไปดวยโปรตรอน
ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป
อยางสม่ําเสมอและในอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน
โปรตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอน ”
3
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
8. จงวาดรูป แบบจําลองอะตอมของดาลตัน แบบจําลองอะตอมของทอมสัน

9. ตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน ขอใดกลาวถูกตอง
1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม โดยเนือ้ ของทรงกลมเปนประจุบวกกระจายอยาง
สม่ําเสมอและมีอิเล็กตรอนฝงอยูในเนื้อทรงกลม
2. ปริมาณประจุบวกและปริมาณประจุลบมีจํานวนเทากัน
3. ในสภาพปกติอะตอมเปนกลางทางไฟฟา
4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.)
วิธที าํ

การคนพบนิวตรอน
ป พ.ศ. 2473 W.Bothe และ H.Becker
นักเคมีชาวเยอรมันไดทาํ การทดลองใชอนุ
ภาคอัลฟายิ่งแผนโลหะแบริลเลียม ปรากฏ
วาเกิดรังสีซึ่งไมมีประจุชนิดหนึ่งที่มีอํานาจทะลวงไดดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพารา
ฟนจะไดโปรตรอนออกมา ตอมาในป พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ไดเสนอวารังสีนต้ี อ ง
ประกอบดวยอนุภาคและใหชื่อวา นิวตรอน และไดทําการพิสูจนไดวานิวตรอนไมมีประจุ และ
คํานวณมวลนิวตรอนไดคา ใกลเคียงกับมวลของโปรตรอน
10. จงเติมคําลงในชองวางใหสมบูรณ

รังสี................. รังสีมมี วลใกลกบั ................ อนุภาค................


มีประจุ................
แผน................ แผน................
4
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ

แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด
หากเปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
รังสีเกือบทัง้ หมดตองเบีย่ งเบนการเคลือ่ นที่ เพราะ
เกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของรังสีอัลฟา กับ
โปรตรอน และหากรังสีอลั ฟาพุง ชนโปรตรอนจะ
ทําใหโปรตรอนกระเด็นไปเพราะรังสีอลั ฟามีมวล
มากกวา รังสีอัลฟาจะไมสะทอนกลับออกมาเลย

ผลการทดลองจริงเปนดังรูป
รัทเทอรฟอรดอธิบายวา
1. จริง ๆ แลวอะตอมจะมีโปรตรอนทัง้ หมดจะรวมตัวกันอยูใ นพืน้ ทีเ่ ล็ก ๆ ตรงกลาง
อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอิเล็กตรอนจะอยูร อบนอกนิวเคลียสระหวางนิวเคลียส
กับอิเล็กตรอนจะเปนทีว่ า ง ซึ่งจะกวางมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส รังสีแอลฟา
สวนมากจะผานชองวางนีไ้ ปจึงเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรง
2. รังสีแอลฟา สวนนอยจะวิ่งเฉี่ยวนิวเคลียส ทําใหเกิดแรงผลักแลวเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่
3. รังสีแอลฟาสวนนอยที่สุดจะชนนิวเคลียสตรงๆ แลวรังสีแอลฟาจะสะทอนกลับ เพราะ
มีมวลนอยกวานิวเคลียส ซึง่ มีโปรตรอนรวมอยูภ ายในอยางมากมาย
แบบจําลองอะตอมแบบนี้ เรียก แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด

11. ถาเชื่อวาอะตอมเปนไปตามแบบจําลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาเขาไปในอะตอมของ


ทองคํา รังสีสวนมากจะเคลื่อนที่ .......................................... ทั้งนี้เพราะเกิดแรงผลักระหวาง
ประจุบวกของอนุภาคอัลฟา กับ ......... ......... .... ในนิวเคลียส

12. จากการทดลองยิงรังสีอัลฟากระทบอะตอมทองคํา พบวารังสีสวนมากจะเคลื่อนที่เปนเสนตรง


เพราะ ............................................................................................................................................
รังสีสวนนอยจะ ............................เพราะ ................ .......... .......... .......... .......... .......... ............
และรังสีสวนนอยที่สุดจะ ..................................เพราะ .......... .......... .......... .......... .......... .........

5
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
13(มช 33, 34) เมื่อยิงอนุภาคอัลฟาไปยังแผนโลหะทองบาง ๆ (เลียนแบบการทดลองของรัทเทอร)
ปรากฏการณในขอใดมีโอกาสเกิดไดนอยที่สุด
ก. อนุภาคอัลฟาจะวิ่งผานทะลุผานทองคําเปนเสนตรง
ข. อนุภาคอัลฟาจะวิ่งสะทอนกลับ
ค. อนุภาคจะวิง่ เบนไปจากแนวเสนตรงเล็กนอย
ง. อนุภาคอัลฟาจะวิง่ เบนไปจากแนวเสนตรงคอนขางมาก (ขอ ข)
วิธที าํ
14(En 31) กําหนดแบบจําลองอะตอมให 3 แบบ ดังแสดงในรูป

ภาพใดเปนแบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรทานใด
แบบจําลองของ แบบจําลองของ แบบจําลองของ
ดาลตัน รัทเทอรฟอรด ทอมสัน
1. I II III
2. II III I
3. II I III
4. III I II (ขอ 3)
วิธที าํ


ตอนที่ 2 สัญลักษณแทนอะตอม ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร


การเขียนสัญลักษณแทนอะตอมเบือ้ งตน
อนุภาค ประจุ ( C ) ตัวแทน มวล (กรัม) มวล (amu)
โปรตรอน (p) +1.6x10–19 ………… 1.672x10–24 1.007285
อิเล็คตรอน (e) –1.6x10–19 ………… 9.108x10–28 0.000549
นิวตรอน (n) 0 ………… 1.674x10–24 1.008665
หมายเหตุ 1 amu = 1.66 x 10–24 กรัม

6
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
16. จงหามวลของอิเล็กตรอนจํานวน 12.04 x 1023 อิเล็กตรอน ( 1.097 x 10–3 กรัม )
วิธที าํ

15. จงหาจํานวนของอิเล็กตรอนทีม่ มี วลรวม 1 กรัม ( 1.098 x 1027 อิเล็กตรอน)


วิธที าํ

สัญลักษณแทน
เลขมวล (A) = ...............................
= ...............................
4 He
2
เลขอะตอม (Z) = ...............................

17. จากสัญญลักษณอะตอม 13
6 C อะตอมนี้ 1 อะตอมจะมีโปรตรอนกีต่ วั และ มีเลขมวลเทาใด
วิธที าํ (6 , 13)

18. จากรูปอะตอมของธาตุชนิดนีม้ เี ลขอะตอม และเลขมวลเทาใด


1. 2 , 7 2. 3 , 5
3. 2 , 5 4. 3 , 3 (ขอ 3)
วิธที าํ

19. ดีบกุ มีเลขอะตอม = 50 และ เลขมวล = 120 จะมีจาํ นวนนิวคลีออนเทาไร


ก. 50 ข. 70 ค. 120 ง. 170 (ขอ ค)
วิธที าํ
20. จงเขียนสัญลักษณนวิ เคลียรของไอโซโทปตางๆ ของธาตุ X ซึ่งมี 9 อิเล็กตรอน และมี
นิวตรอน 11 ตามลําดับ ( 209 x)
วิธที าํ

7
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
21. คําชี้แจง ใชตารางตอไปนีต้ อบคําถาม
อะตอม จํานวนโปรตรอน จํานวนนิวตรอน จํานวนอิเล็คตรอน
A 9 7 9
B 9 8 9
C 9 9 9
D 9 9 9
การเขียนสัญลักษณอะตอมขอใดถูกตอง
1. 18
7A 2. 89 B 3. 18
9C 4. 927 D (ขอ 3)
22. จงหาจํานวนโปรตรอน นิวตรอน และ อิเล็คตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้
40 Ar
1. 18 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
39 K
2. 19 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
235 U
3. 92 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
4. 83
36 Kr ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
232 Th
5. 90 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
ควรทราบ 1. เลขอะตอม = จํานวนโปรตรอน = ลําดับของธาตุในตารางธาตุ
@ ......................................................................
@ ......................................................................
@ ......................................................................
2. อะตอมปกติ จํานวน p = จํานวน e
หากอะตอมปกติรบั e เพิม่ เขา 1 ตัว
ประจุรวม = …….. เขียนสัญญลักษณเปน ..............
หากรับ e เพิม่ เขา 2 ตัว ประจุรวม = …….. เขียนสัญญลักษณเปน ..............
หากเสีย e ออกไป 1 ตัว ประจุรวม = …….. เขียนสัญญลักษณเปน ..............
หากเสีย e ออกไป 2 ตัว ประจุรวม = …….. เขียนสัญญลักษณเปน ..............
สัญลักษณแทน บอกประจุ (K)
เลขมวล (A) 4 He?
2
เลขอะตอม (Z)
8
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
23. สิง่ ทีบ่ อกใหรวู า อะตอมหรือไอออนนัน้ ๆ เปนอะตอมของธาตุอะไร คือ
1. จํานวนอิเลคตรอน 2. จํานวนโปรตรอน
3. จํานวนนิวตรอน 4. ถูกทุกขอ ( 2.)
วิธที าํ
24. สมบัตขิ องธาตุจะเปลีย่ นไปถาเราเปลีย่ น
1. จํานวนอิเลคตรอน 2. จํานวนโปรตรอน
3. จํานวนนิวตรอน 4. ถูกทุกขอ ( 2.)
วิธที าํ
25. ธาตุใดตอไปนีเ้ ปนธาตุชนิดเดียวกัน 12 13 14 14
6A ,6B ,6C ,7D (A, B , C)
วิธที าํ
26. จงหาจํานวนโปรตรอน นิวตรอน และ อิเล็คตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้
31 P 3Κ
1. 15 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
2. 17
8 O
2Λ ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
35 Cl1Κ
3. 17 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
4. 94 Be 2Ι ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
27(มช 35) ถา M3+ มีอเิ ล็กตรอนเทากับ 36 อิเล็กตรอน มีเลขมวลของธาตุ M เทากับ 88 จง
หาจํานวนโปรตอน : จํานวนนิวตรอนของธาตุ M นี้
ก. 39 : 52 ข. 36 : 52 ค. 39 : 49 ง. 36 : 88 (ขอ ค)
วิธที าํ

28. ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึง่ มีประจุในนิวเคลียสเปน 3 เทาของประจุในนิวเคลียสของ


ไฮโดรเจนและมีเลขมวลเปน 7 เทาของเลขมวลไฮโดรเจน ไอโซโทปนีจ้ ะมีอนุภาคมูลฐาน
อยางละเทาใด (p = 3 ,e = 3 , n =4)
วิธที าํ

9
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
29(มช 43) ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึง่ มีจาํ นวนนิวตรอนในนิวเคลียสเทากับ 8 และมีประจุ
ในนิวเคลียสเปน 6 เทาของประจุในนิวเคลียสของไฮโดรเจน สัญลักษณนวิ เคลียรของ
ไอโซโทป ดังกลาวคือขอใด
1. 12
6C 2. 14C 3. 14
8 O 4. 14O (ขอ 2)
วิธที าํ

30(มช 45) ถาไอโซโทปที่เปนกลางของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเปน 3 เทาของประจุใน


นิวเคลียสของฮีเลียม และมีเลขมวลเปน 12 เทาของเลขมวลไฮโดรเจนไอโซโทปนี้จะมีจํานวน
อิเล็กตรอนเทากับเทาไร (6)
วิธที าํ

31. A และ B เปนอะตอมของธาตุเดียวกันมีเลขมวลเทากับ 26 และ 27 ตามลําดับ ถา B มี


14 นิวตรอนจํานวนอิเล็คตรอนของ A จะเปนเทาใด
1. 12 2. 13 3. 14 4. 15 (ขอ 2)
วิธที าํ

10
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
ไอโซโทป , ไอโซโทน , ไอโซบาร
ไอโซโทป คือ ธาตุเดียวกัน แตมเี ลขมวลไมเทากัน
เชน 6C12 กับ 6C13
8O16 กับ 8O17 กับ 8O18
สาเหตุที่เลขมวลไมเทากัน เพราะมีจาํ นวนนิวตรอนไมเทากัน
ไอโซบาร คือ ธาตุทม่ี เี ลขมวลเทากัน แตมเี ลขอะตอมไมเทากัน
เชน 6C14 กับ 7N14
ไอโซโทน คือ ธาตุทม่ี จี าํ นวนนิวตรอนเทากัน
เชน 19K39 กับ 20Ca40
32. ไอโซโทป คือ ................ ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... .......
ไอโซบาร คือ ................ ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... .......
ไอโซโทน คือ ................ ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... .......

33. อะตอมคูใ ดเปนไอโซโทปกัน


1. am A nb A 2. am B nb B 3. am C an C 4. nb D nb D (ขอ 3)
วิธที าํ

34. อะตอมของธาตุคใู ดทีเ่ ปนไอโซโทนกัน


1. 12 13
6C 6C 2. 12 14
6C 7 N 3. 14 16
6C 8 O 4. 14 15
7 N 7 N (ขอ 3)
วิธที าํ

35(มช 45) ขอใดตอไปนี้ ไมถูกตอง


1. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะตองมีมวลเทากันเสมอ
2. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุตง้ั แตสองชนิดขึน้ ไป
3. อิเล็กตรอนในอะตอมใด ๆ ก็ตามมีมวลนอยมาก จนถือวาไมมีผลตอมวลของอะตอม
4. 13C มีจาํ นวนโปรตรอนทีน่ วิ เคลียสเทากับ 6 (ขอ 1)
วิธที าํ

11
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
36(มช 47) ขอใดถูกตอง
1. ธาตุ 189 C หนักกวาธาตุ 2010 D
2. ธาตุ 11 X กับ 21 X มีสมบัตทิ างเคมีเหมือนกันทุกประการ
3. ธาตุ 136Y กับ 147 Z เปนธาตุทเ่ี ปนไอโซโทนซึง่ กันและกัน
4. ธาตุ 146 A กับ 147 B มีจาํ นวนนิวตรอนเทากัน (ขอ 3)
วิธที าํ


ตอนที่ 3 แบบของโบร
พื้นฐานเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลืน่ แมเหล็กไฟฟา คือ คลืน่ ทีเ่ กิดจากการเหนีย่ วนําของสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
เหนีย่ วนําซึง่ กันและกันอยางตอเนือ่ งไมรจู บ
แหลงกําเนิดคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีใ่ หญทส่ี ดุ ในจักรวาลนี้ คือ ดวงอาทิตย
คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีอ่ อกมาจากดวงอาทิตย จะแบงแยกได 8 ชนิด ดังตารางตอไปนี้
การเรียง การเรียงลําดับ การเรียงลําดับ
สเปกตรัม
ลําดับความถี่ ความยาวคลื่น พลังงาน
รังสีแกมมา มาก นอย มาก
รังสีเอกซ
รังสีอลั ตราไวโอเลต
แสงขาว
รังสีอนิ ฟาเรด
คลื่นไมโครเวฟ
คลืน่ วิทยุ
ไฟฟากระแสสลับ นอย มาก นอย
อยาลืม คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทุกสเปกตรัม จะมีความเร็วเทากันหมด คือ 3x108 m/s
37. จงเรียงลําดับสเปกตรัมของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา จากพลังงานมากไปหาพลังงานนอย
ตอบ
12
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
แบบจําลองอะตอมของโบร
โบร ไดเสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึน้ มาโดยนําแนวคิดเรือ่ งควอนตัมของ
พลังงานของพลังคมาใชกบั แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด พรอมทัง้ เสนอสมมติฐาน
ขึน้ ใหม 2 ขอ คือ
1. อิเล็คตรอนทีเ่ คลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมรอบ
นิวเคลียส จะมีวงโคจรบางวงทีอ่ เิ ล็คตรอน ไม
แผ รังสีคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมา
2. อิเล็คตรอน จะรับ หรือปลอยพลังงาน
ออกมา เมือ่ มีการเปลีย่ นวงโคจรตามขอ 1
พลังงานทีอ่ เิ ล็คตรอนรับหรือปลอยออกมาจะ
อยูใ นรูปคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
38. ขอใดไมถูกตอง
1. แบบจําลองทีด่ ตี อ งสามารถอธิบายผลการทดลองไดอยางกวางขวาง
2. แบบจําลองทีถ่ กู ตองควรจะไดจากการทดลองแลวนําขอมูลทีไ่ ดมาแปลความหมาย
เพือ่ สรุปเปนมโนภาพ
3. แบบจําลอง คือ มโนภาพทีน่ กั วิทยาศาสตรสรางขึน้ เพือ่ บอกลักษณะของสิง่ ทีม่ อง
ไมเห็นโดยอาศัยขอมูลทีไ่ ดจากการทดลอง
4. แบบจําลองอะตอมของนีลส โบร ตางจากของรัทเทอรฟอรด ตรงทีร่ ทั เทอรฟอรด
กลาวถึงอิเล็คตรอนนิวเคลียสจะอยูเ ปนชัน้ ๆ ซึง่ มีคา พลังงานเฉพาะ (ขอ 4)
ตอบ

สถานะพื้น (ground state) , สถานะกระตุน (excited state)


หากเราคํานวณหาพลังงานของอิเล็คตรอน
อะตอมไฮโดรเจนในแตละวงโคจรจะไดดงั รูป
จะเห็นวาในวงโคจรที่ 1 (ในสุด) อิเล็ค-
ตรอนจะมีพลังงานต่าํ สุดและชัน้ นอกถัดๆ ออก
ไป อิเล็คตรอนจะมีพลังงานสูงขึน้ ตามลําดับ

13
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
ปกติอเิ ล็คตรอนชอบทีจ่ ะอยูว งโคจรใน
สุดอันเปนชัน้ ทีม่ พี ลังงานต่าํ สุด จะทําใหเกิด
ความเสถียรภาพมากทีส่ ดุ เรียกสภาวะนีว้ า
สภาวะพืน้ (ground State)
หากอิเล็คตรอนไดรับพลังงานจะเคลือ่ น
ไปอยูใ นวงโคจรทีส่ งู กวาเดิมสภาวะเชนนีเ้ รียก
สภาวะกระตุน (excited state)
สภาวะถูกกระตุนเปนสภาวะไมเสถียร
อิเล็คตรอนจะคายพลังงาน ซึง่ มีมากเกินไปทิง้ แลวเคลือ่ นลงมาอยูใ นชัน้ ทีต่ าํ่ กวาพลังงานที่
คายออกมานัน้ จะอยูใ นรูปคลืน่ แมเหล็กไฟฟา

39. ปกติแลวอิเลคตรอนจะอยูใ นวงโคจรทีม่ พี ลังงานต่าํ สุด เรียกภาวะนีว้ า .............................


40. หากอิเลคตรอนดูดพลังงาน จะเคลือ่ นจากชัน้ ..............ไปสูชั้น........... ภาวะทีอ่ เิ ลคตรอน
มีพลังงานมากกวาปกติเชนนีเ้ รียก .....................................
41. หากอิเลคตรอนจะเคลือ่ นทีจ่ ากชัน้ บน ลงมาสูช น้ั ทีต่ าํ่ กวา อิเลคตรอนจะตอง....................
42. พลังงานทีอ่ เิ ลคตรอนคายออกมาจะอยูใ นรูปของ....................................

สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
การเคลื่อน e คลื่นแมเหล็กไฟฟา อนุกรม
บน ⊂ 1 รังสีอลั ตราไวโอเลต ไลมาน
6⊂2 แสงสีมว ง (410 nm)
5⊂2 แสงสีนาํ้ เงิน(434 nm)
4 ⊂ 2 แสงสีนาํ้ ทะเล (484 nm) บาลเมอร
3⊂2 แสงสีแดง (656 nm)
บน ⊂ 3 รังสีอนิ ฟาเรด พาสเชน
บน ⊂ 4 รังสีอนิ ฟาเรด แบรกเกต
บน ⊂ 5 รังสีอนิ ฟาเรด ฟรันด
14
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ

43. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนีใ้ หถกู ตอง


การเคลื่อน e คลื่นแมเหล็กไฟฟา อนุกรม
บน ⊂ 1
6⊂2
5⊂2
4⊂2
3⊂2
บน ⊂ 3
บน ⊂ 4
บน ⊂ 5
44. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดใด ทีป่ ลดปลอยพลังงานโฟตอนเปนอัลตราไวโอเลต
ก. อนุกรมไลมาน ข. อนุกรมบาลมเมอร
ค. อนุกรมพาสเซน ง. อนุกรมแบรกเกต (ขอ ก.)
45. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดแบรกเกตใหพลังงานในระดับรังสีใด
ก. อัลตราไวโอเลต ข. อินฟาเรด
ค. รังสีเอกซ ง. แสงที่ตาสัมผัสได (ขอ ข.)
15
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
46. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดทีต่ ามองเห็นได
ก. ชุดไลมาน ข. ชุดบาลมเมอร
ค. ชุดพาสเซน ง. ชุดฟุนต (ขอ ข.)
47(มช 44) แสงสีเหลืองในเปลวไฟที่สามารถสังเกตเห็นได เมื่อเผาสารประกอบของโซเดียมเกิด
จากอะไร
1. อิเล็กตรอนมีการเลือ่ นชัน้ กลับลงมาสูส ถานะพืน้ และคายพลังงานสวนหนึง่ ออกมา
2. อิเล็กตรอนมีการเลือ่ นชัน้ ขึน้ ไปอยูใ นสถานะกระตุน และดูดพลังงานสวนหนึ่งเขาไป
3. อิเล็กตรอนไดรับพลังงานจากเปลวไฟจึงเคลื่อนที่ไปมาระหวางระดับชั้นพลังงานตางๆ
4. อิเล็กตรอนหลุดออกไปจากอะตอมของโซเดียมหลังจากทีไ่ ดรับพลังงานทีม่ คี า มาก
กวาคา Ionization energy (ขอ 1)
48. สเปคตรัมทีไ่ ดจากอะตอมของธาตุตา ง ๆ จะ
ก. เหมือนกันสําหรับธาตุทกุ ธาตุ
ข. จะแสดงคุณสมบัตเิ ฉพาะของแตละธาตุ
ค. จะไดเปนแถบสวางเสมอ
ง. ไดเปนเสนมืดเสมอ (ขอ ข)
49. ผลการทดลองดวยเปลวไฟของสารประกอบทีม่ โี ซเดียมไอออน แบเรียมไอออน และ
แคลเซียมไอออน จะใหสเี รียงตามลําดับดังนี้
1. เหลือง เขียว แดง 2. แดง เขียว เหลือง
3. เหลือง แดง เขียว 4. แดง เหลือง เขียว (ขอ 1)

50. สารในขอใดใหสเปกตรัมสีเดียวกัน
1. Na2CO3 K2CO3 CaCO3 2. MgCl2 CaCl2 SrCl2
3. KCl K2CO3 K2SO4 4. ไมมขี อ ถูก (ขอ 3)
เหตุผล
51. เหตุใดเสนสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนจึงมีหลายเสนทัง้ ๆ ทีม่ ธี าตุทม่ี เี พียง 1 อิเล็กตรอน
เหตุผล

16
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ

ความถี่ ความยาวคลื่น และ พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา


เราสามารถหาคาความถี่ และ ความยาวคลืน่ ของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ไดจากสมการ
C = f←
เราสามารถหาคาพลังงานของคลืน่ แมเหล็กไฟฟาไดจากสมการ
E = h f และ E = hC

เมือ่ E = พลังงานของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา (จูล) h = คานิจของพลังค = 6.62x10–34 J.s
F = ความถี่ (s–1) ← = ความยาวคลืน่ (m)
C = ความเร็วคลืน่ แมเหล็กไฟฟา = 3x108 m/s
52. เสนสเปกตรัมสีแดงของโพแทสเซียมมีความถี่ 3.91x1014 Hz จะมีความยาวคลืน่ เปนเทาใด
วิธที าํ (7.67 x 10–7 เมตร)

53. เสนสเปกตรัมเสนหนึง่ ของธาตุซเี ซียมมีความยาวคลืน่ 456 nm ความถีข่ องสเปกตรัมเสน


นีม้ คี า เทาใด (6.58 x 1014 Hz , สีน้ําเงิน)
วิธที าํ

54. คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ คี วามยาวคลืน่ 300 nm จะปรากฏในชวงคลืน่ ของแสงทีม่ คี วามถี่


และพลังงานเทาใด (1 x 1015 Hz , 6.626 x 10–19 J)
วิธที าํ

55. คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ คี วามถี่ 8.5 x 1014 Hz จะมีพลังงานและความยาวคลืน่ เทาใด


วิธที าํ (5.63 x 10–19 J , 3.53 x 10–7 m)

17
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
56(มช 34) ผลตางของระดับของพลังงานชัน้ n = 5 และ n = 2 มีคา เทากับ 3.81x10–19 J
การคายออกของอิเล็คตรอนจากระดับพลังงานดังกลาว ทําใหเกิดเสนสเปกตรัมทีอ่ ยูใ นชวง
ความยาวคลืน่ กีน่ าโนเมตร (512.26)
วิธที าํ

57(มช 36) ความยาวคลืน่ ในหนวยนาโนเมตรของโฟตอนทีม่ พี ลังงาน 4.5x10–19 จูล มีคา เทากับ


ให คาคงทีข่ องพลังค = 6.6 x 10–34 จูลวินาที , ความเร็วแสง = 3.0 x 108 เมตรตอวินาที
วิธที าํ (440 nm)

58(มช 46) คลืน่ แมเหล็กไฟฟาชนิดหนึง่ มีพลังงาน 33.125x10–20 J คลืน่ นีจ้ ะแสดงแสงสีอะไร


กําหนดให สี ชวงความยาวคลื่น ( n m )
เขียว 490 – 580
เหลือง 580 – 590
สม 590 – 650
แดง 650 – 700
h = 6.625 x 10–34 J.s c = 3.0x108 ms–1 1 nm = 10–9 m
ขอทีถ่ กู ตองคือขอใด
1. แดง 2. สม 3. เหลือง 4. เขียว ( ขอ 2. )
วิธที าํ

59(มช 38) พลังงานทีน่ อ ยทีส่ ดุ ทีอ่ ะตอมของปรอท 1 โมล รับเขาไปเพือ่ จะเปลงแสงทีม่ คี วาม
ยาวคลื่น 4.358x10–7 m จะเทากับ ( h = 6.625x10–34 Js , c = 3.0x108 ms–1 )
1. 4.56x10–22 kJ 2. 4.56x10–19 kJ 3. 550 kJ 4. 274.5 kJ (ขอ 1)
วิธที าํ

18
Chem Online http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอม และ ตารางธาตุ
60(En 31) ความยาวคลืน่ ของเสนสเปกตรัม 4 เสน
A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm
เสนสเปกตรัมใดทีแ่ สดงวาอิเล็คตรอนมีการเปลีย่ นแปลงพลังงานนอยทีส่ ดุ
1. A เทานัน้ 2. B และ C 3. C เทานัน้ 4. D เทานัน้ (ขอ 4)
วิธที าํ

61(มช 34) ไดอะแกรมตอไปนีแ้ สดงการเคลือ่ นทีข่ อง


อิเล็คตรอนระหวางระดับพลังงานตาง ๆ ของ
ไฮโดรเจนอะตอมการเคลือ่ นทีใ่ นขอใดจะให
สเปกตรัมทีม่ คี วามยาวคลืน่ สูงสุด
ก. A ข. B ค. C ง. D (ขอ ข)
วิธที าํ



19

You might also like