You are on page 1of 39

พันธะเคมี

เนื้อหา
1. พันธะโลหะ
2. พันธะไอออนิก
3. พันธะโคเวเลนด์
การเกิดพันธะ
พันธะเกิดได้โดย
1. ให้อิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่น
2. รับอิเล็กตรอนจากธาตุอื่น
3. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
พันธะเคมีเกิดจาก แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอนในนิวเคลียส เมื่ออะตอมเคลือ่ นทีเ่ ข้าใกล้กนั จะเกิดแรงดึงดูด
ระหว่างนิวเคลียสของอะตอมหนึง่ กับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึง่
1. อะตอมอยูห ่ า่ งกันจะมีพลังงานค่าหนึง่ ซึง่ มีพลังงานสูง

2. เมื่ออะตอมทัง้ สองเข้าใกล้กนั จะเกิดแรงดึงดูดระหว่างกัน ทาให้พลังงานลดลง

3. เมื่อเข้าใกล้กนั ระยะหนึง่ พลังงานจะต่าที่สดุ ขณะนัน้ ระบบจะเสถียร


กราฟแสดงพลังงานในการเกิดพันธะ

แรงยึดเหนี่ยว แบ่งเป็ น 2 ประเภท


1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล ได้แก่ พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนด์
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างเมเลกุล ได้แก่ พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่างขัว้ แรงลอนดอน
รูปแสดงแรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล และแรงระหว่างโมเลกุล

แรงยึดเหนี่ยวส่วนใดเป็ นแรงที่สามารถนามาบอกจุดเดือด จุดหลอมเหลวของนา้ ได้.....................................


จงตอบคาถามต่อไปนี ้
1. พันธะเกิดจาก............................................................................................................................................
2. จากสารที่กาหนดให้ ต่อไปนี ้ NaCI, Na₂S , HCI, CaO, AICI₃ , HgCI₂ , CCI₄ , CH₃OH, NaOH, BaSO₄, MgSO₄,
Fe, BaO, Cu, PF₃, Li₂O, Na, C₂H₆
สารใดเป็ นพันธะโลหะ ..............................................................................................................................
สารใดเป็ นพันธะไอออนิก ........................................................................................................................
สารใดเป็ นพันธะโคเวเลนต์ ......................................................................................................................
3. A, B, C, D มีเลขอะตอมเป็ น 16 , 17, 19, 20 ตามลาดับ หากรวมกันเป็ นสารประกอบ
สารใดเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ และมีสตู รอย่างไร ................................................................................
สารใดเป็ นสารประกอบไอออนิก และมีสตู รอย่างไร ................................................................................
1. พันธะโลหะ
พันธะโลหะ ได้แก่ โลหะทุกชนิด รวมทัง้ โลหะผสมด้วย เช่น Li, Mg, AI นาก และทองเหลือง เป็ นต้น
1. การเกิดพันธะโลหะ เกิดจากโลหะจ่ายอิเล็กตรอน ทาให้มีอเิ ล็กตรอนเคลือ่ นที่บนแท่งโลหะ ประจุลบของอิเล็กตรอน
เข้าใกล้ประจุบวกตัวใด จะส่งแรงดึงดูดกับประจุบวกตัวนัน้ ทาให้เกิดเป็ นพันธะขึน้ เรียกว่า “พันธะโลหะ”

แบบจาลองแสดงอิเล็กตรอนในก้อนโลหะ
2. สมบัติของพันธะโลหะ
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมาก เพราะเป็ นแรงดึงดูดระหว่างประจุทางไฟฟ้า ซึง่ ยึดกันเหนียวแน่นมาก
2. นา้ ไฟฟ้าได้ดีมากและนาได้ทกุ ทิศทาง เพราะมีอเิ ล็กตรอนอิสระเคลือ่ นที่ได้ เมื่ออุณหภูมิสงู ขึน้ การนาไฟฟ้า จะ
ลดลง และไม่นาไฟฟ้าถ้าอยูใ่ นภาวะแก๊ส
3. โลหะตีให้เป็ นแผ่นบาง ๆ ได้ เนื่องจากผลึกในอนุภาคเล็ก ๆ เหล่านีเ้ ลือ่ นไถลโดยไม่หลุดออกจากกัน เพราะกลุม ่
เวเลนซ์อิเล็กตรอนทาหน้าที่ยดึ อนุภาคไว้
ภาพ แสดงการเลื่อนไถลของอะตอมโลหะ เมื่อถูกแรงกระทา
4. โลหะสะท้อนแสงได้ เพราะกลุม่ อิเล็กตรอนที่เคลือ่ นที่ได้อย่างอิสระ เมื่อกระทบแสงจะรับและคายคลืน่ แสงออก ทาให้
ผิวของโลหะสะท้อนแสงได้
5. เขียนสูตรโมเลกุลไม่ได้ เขียนได้เฉพาะสูตรอย่างง่าย
6. เรียกหน่วยที่เล็กที่สดุ ของโลหะว่า “อะตอม”
2. พันธะไอออนิก
1. การเกิดพันธะไอออนิก
เกิดระหว่างโลหะกับอโลหะ ยกเว้น Be กับ B โดย
โลหะจ่ายอิเล็กตรอนออกไปกลายเป็ นประจุบวก
อโลหะรับอิเล็กตรอนเข้ามากลายเป็ นประจุลบ
ประจุบวกและประจุลบที่เกิดขึน้ จะส่งแรงดึงดูดกัน เรียกว่า พันธะไอออนิก

IE (Ionization Energy) คือ พลังงานอย่างน้อยทีด


่ งึ อิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอมในภาวะแก๊ส
EA (Electron Affinity) คือ พลังงานทีค
่ ายออกมา เพื่อรับอิเล็กตรอนให้เข้าไปอยู่ภายในอะตอมในภาวะแก๊ส
*** หรือกล่าวได้อก
ี นัยหนึ่งว่า พันธะไอออนิกเกิดจากธาตุทม่ี คี า่ IE และ EN สูง กับธาตุทม่ี คี ่า IE และ EN ต่า ธาตุใดมีค่า
IE หรือ EN ต่างกันมากจะเป็ นพันธะไอออนิกมาก พันธะไอออนิกทุกตัวจะเกาะกันเป็ นโครงร่างผลึก ดังเช่น
พิจารณาสมบัติความเป็ นไอออนิกจากค่า EN
ถ้า EN ต่างกันมากจะเป็ นไอออนิกมาก
ถ้า EN ต่างกันน้อยจะเป็ นโคเวนเลนต์
ถ้า EN เท่ากันจะเป็ นโคเวเลนต์ 100%
เช่น เรียงความเป็ นไอออนิกของสารประกอบได้ดงั นี ้ NaCI > CCI₄> CI₂

แบบฝึ กหัด เรื่อง ความเป็ นไอออนิก


ขอเปรียบเทียบความเป็ นไอออนิกของสารประกอบต่อไปนี ้ จากมากไปน้อย
1. LiCI, NaCI, KCI ………………………………………………………………………………………………………………..
2. NaCI , MgCI₂ , AICI₃ …………………………………………………………………………………………………………..
3. KF , KCI, KBr ………………………………………………………………………………………………………………..
4. KCI , CCI₄ , CI₂ ………………………………………………………………………………………………………………..

5. สารประกอบคูใ่ ดต่อไปนี ้ มีความเป็ นไอออนิกมากที่สดุ AZ , BY ,CX


…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สมบัตข
ิ องสารประกอบไอออนิก
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมาก เพราะเป็ นแรงดึงดูดระหว่างประจุทางไฟฟ้า แต่ต่ากว่าพันธะโลหะ เพราะประจุ
บวก – ลบ ห่างกันมากกว่า
2. ในภาวะปกติ สารประกอบไอออนิกจะไม่นาไฟฟ้า จะนาได้ดีเมื่อหลอมเหลวหรือละลายนา้
3. พันธะไอออนิกเขียนสูตรโมเลกุลไม่ได้ เขียนได้เฉพาะสูตรอย่างง่ายหรือสูตรอย่างต่า
4. หน่วยที่เล็กที่สดุ ของพันธะไอออนิก เรียกว่า “ไอออน”
3. การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก
3.1 สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ I, II, III รวมกับอนุมลู เดี่ยว
- F¯, CI¯, Br¯, I¯
- O²¯ , S²¯
- N³¯
การเขียนสูตรที่ถกู ต้องเกิดจากการคูณไขว้เลขออกซิเดชัน เช่น
Li⁺¹O⁻² → Li₂O NaS → ……………… AIO → ………………
CaF → ……………… AICI → ……………… MgS → ………………
KI → ……………… LiN → ……………… CaS → ………………
3.2 สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ I, II, III รวมกับอนุมลู กลุม

กลุม่ ที่เป็ น -1 (CIO⁻ , CIO−2 , CIO−3 , CIO−4 , NO−3 , CN⁻, OH⁻ , HSO−4 , HCO−3 ,H₂ PO−4 , MnO−4 )
กลุม่ ที่เป็ น -2(SO2− 2− 2− 2− 2−
4 , CO3 , HPO4 , MnO4 , CrO4 , Cr₂O7 , S₂O3 )
2− 2−

กลุม่ ที่เป็ น -3(PO3−


4 )

การเขียนสูตรที่ถกู ต้องเกิดจากคูณไขว้เลขออกซิเดชัน เช่นเดียวกับข้อ 3.1 เช่น


Li⁺𝑆𝑂4−2 →Li₂SO₄ , NaPO₄ → ………………… , AICO₃→ ………………… ,
MgCO₃→ ………………… , CaHPO₄ → ………………… , MgHSO₄ → ………………… ,
KPO₄→ ………………… , LiCN → ………………… , CaOH → ………………… ,
AIHPO₄→ ………………… , AINO₃→ ………………… , NaSO₄→ ………………… ,
KCr₂O₇→ ………………… , NaCrO₄→ ………………… , CaCrO₄→ ………………… ,

3.3 สารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากโลหะหมู่ I, II, III รวมกับอนุมลู เดีย่ วและอนุมลู กลุม่ เนื่องจาก
ธาตุ Transition มีเลข Oxidation หลายค่า ค่าที่จะนามาคูณไขว้ในสูตร จะเป็ นเลขโรมันบอกไว้ในชื่อนัน้ ๆ อยู่ เช่น
คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต → CuSO₄ ไอร์ออน (III) คลอไรด์ → …………………
นิกเกิล (III) ออกไซด์ → ………………… ไอร์ออน (II) ไนเตรต → …………………
แมงกานีส (IV) ออกไซด์ → ………………… เลด (II) ไอโอไดด์ → …………………
แบบฝึ กหัด
1. จงเขียนสูตรสารประกอบต่อไปนี ้
แอมโมเนียมซัลไฟด์ ................................... ไอร์ออน (III) ซัลเฟต ...................................
แคลเซียมฟอสเฟต ................................... โครเมียม (III) ไนเตรต ...................................
คอมเปอร์ (II) ซัลไฟต์ ................................... เลด (IV) ออกไซด์ ...................................
โพแทสเซียมแมงกาเนต ................................... โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ...................................
โซเดียมโครเมต ................................... ลิเทียมไดโครเมต ...................................
2. จากธาตุทกี่ าหนดให้ จงเขียนสูตรของสารประกอบที่เกิดขึน้
1. M 2 8 18 6
N 2 8 18 32 184 สูตรสารประกอบ คือ ..........................................
2. A 2 3
B 2 8 6 สูตรสารประกอบ คือ ..........................................
3. B และ C มีเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน 3 และ 6 ตามลาดับ สูตรสารประกอบ คือ .......................................................
4. ถ้าสูตรของสารประกอบแคลเซียมโบรเมต เป็ น Ca(BrO₃)₂ สูตรสารประกอบโบรเมตของ ₃₇X
จะเป็ นอย่างไร................................................................................................................

4.สารประกอบไอออนิกแท้ และไออออนิกผสมโคเวเลนต์
สารประกอบไอออนิกแท้ สารประกอบไอออนิกผสมโคเวเลนต์
AI₂O₃ → 2AI³⁺ + 3O²⁻ NaOH → Na⁺ + OH⁻
CaCI₂ → Ca²⁺ + 2CI⁻ CaCO₃ → Ca²⁺ + CO2−3
AIF₃ → AI³⁺ + 3F⁻ Ca₃(PO₄)₂ → 3Ca²⁺ + 2PO3−
4
Na₂O → 2Na⁺ + O²⁻ NH₄CI → NH4+ + CI

5. การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก
เกณฑ์การละลายของสาร
1. ไม่ละลายนา้ คือ ละลายได้นอ้ ยกว่า 1 กรัมต่อนา้ 1,000 cm³ ที่ 25°C
2. ละลายได้เล็กน้อย คือ ละลายได้ 1 กรัม – 10 กรัมต่อนา้ 1,000 cm³ ที่ 25°C
3. ละลายได้ดี คือ ละลายได้มากกว่า 10 กรัม ต่อนา้ 1,000 cm³ ที่ 25°C
...... ....
สารประกอบไอออนิ กที่ละลายนา้ ได้
1. สารประกอบของโลหะหมู่ I ทุกตัว เช่น NaCI , Li₂CO₃ , K₂SO₄
2. สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกตัว เช่น NH₄CI, (NH₄)₃PO₄
3. สารประกอบของไนเตรตไอออนทุกตัว เช่น Cu(NO₃)₂, AI(NO₃)₃
4. สารประกอบของคลอเรตไอออนทุกตัว เช่น LiCIO₃ , Mg(CIO₃)₂
5. สารประกอบเปอร์คลอเรตไอออนทุกตัว ยกเว้น KCIO₄
6. สารประกอบแอซีเตตไอออนทุกตัว ยกเว้น CH₃COOAg
สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายนา้
3−
1. สารประกอบของโลหะหมู่ II กับ CO2− 2−
3 , PO4 , SO3 ยกเว้น MgSO₄
2. สารประกอบของอโลหะหมู่ VII กับ Ag⁺ , Hg 2+
2 และ Pb²⁺ เช่น AgCI, PbI₂
3. สารประกอบออกไซต์ ซัลไฟด์ และไอดรอกไซต์ของโลหะทุกชนิด ยกเว้นโลหะหมู่ I และหมู่ II บางตัว เช่น Ca²⁺ ,
Sr²⁺ , Ba²⁺
ตะกอนที่เกิดจากการผสมของสารต่อไปนี ้ คือสารใด
1. BaCi₂ + Na₂CO₃ ตะกอน คือ ................................................................................................
2. KCI + Pb(NO₃)₂ ตะกอน คือ ................................................................................................
3. Li₂S + CuSO₄ ตะกอน คือ ................................................................................................
4. AI(NO₃)₃ + KOH ตะกอน คือ ................................................................................................
5. AgNO₃ + K₂Cr₂O₇ ตะกอน คือ ................................................................................................
6. Na₂O + Zn(NO₃)₂ ตะกอน คือ ................................................................................................
6.การเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี คือ การได้สารใหม่ที่ทาให้กลับเป็ นสารเดิมไม่ได้
***ข้อสังเกต คือ มีตะกอนเกิดขึน้ มีแก๊ส มีสี เกิดขึน้ ใหม่
ให้ขีดเครือ่ งหมาย หน้าข้อทีเ่ กิดปฏิกิรยิ าเคมี และเครือ่ งหมาย  หน้าข้อที่ไม่เกิดปฏิกิรยิ าเคมี
.............1. เผาเศษไม้
.............2. เผาคอปเปอร์ซลั เฟต
.............3. ผสมสารละลายระหว่างโพแทสเซียมคลอไรด์กบั โซเดียมไนเตรต
.............4. ผสมสารละลายระหว่างแคลเซียมคลอไรด์กบั โซเดียมคาร์บอเนต
.............5. ผสมสารละลายระหว่างไอร์ออน (III) ไนเตรตกับโซเดียมคลอไรด์
.............6. ผสมสารละลายระหว่างซิลเวอร์ไนเตรตกับโพแทนเซียมคลอไรด์
.............7. สังกะสีจ่มุ ในกรดซัลฟิ วริก
7. พลังงานในการเกิดพันธะไอออนิก
มีพลังงาน 5 ชนิดด้วยกัน เช่น
ขัน้ ที่ การเปลีย่ นแปลง พลังงาน ชื่อพลังงาน การ
(kJ/mol) เปลี่ยนแปลง
พลังงาน
1 Na(s) → Na(g) 108 พลังงานการระเหิด ดูด
2 Na(g) → Na⁺(g) + e⁻ พลังงานไอออไนเซชัน ดูด
3 CI₂(g) → 2CI(g) พลังงานการสลายพันธะ ดูด
4 CI(g) → e⁻ → CI⁻(g) พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี ้ หรอ คาย
พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
5 Na⁺(g) + CI⁻(g) → NaCI(s) พลังงานแลตทิซ หรือพลังงานโครงร่างผลึก คาย

8. พลังงานในการละลาย
มีพลังงานที่เกี่ยวข้อง 2 ขัน้ ตอน ดังนี ้
1. พลังงานโครงร่างผลึก หรือพลังงานแลตทิซ (lattice)
2. พลังงานไฮเดรชัน (Hydration)
ภาพแสดงการละลายของสารประกอบไอออนิก

สมการแสดงการละลาย
NaCI(s) → Na⁺(g)+CI⁻(g) พลังงานโครงร่างผลึก หรือ พลังงานแลตทิซ (ดูด) ∆H₁…………1
Na⁺(g) + CI⁻(g) → Na⁺(aq) + CI⁻(aq) พลังงานไฮเดรชัน (คาย) ∆H₂…………2
รวมสมการ 1 กับ 2 เข้าด้วยกัน
NaCI(s) → Na⁺(aq) + CI⁻(aq) ∆H₃
∆H₁ เป็ นปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน ∆H₂ เป็ นปฏิกริ ยิ าคายความร้อน ส่วน ∆H₃ จะเป็ นปฏิกิรยิ าดูดความร้อนหรือคาย
ความร้อนหรืออุณหภูมิปกติก็ได้
การสังเกตว่า ∆H₃ เป็ นปฏิกิรยิ าดูดหรือคายความร้อนให้ดจู ากเครือ่ งหมายดังนี ้
ถ้า ∆H₃ เป็ นค่าบวก แสดงว่า เป็ นปฏิกิรยิ าดูดความร้อน
∆H₃ เป็ นค่าลบ แสดงว่า เป็ นปฏิกิรยิ าคายความร้อน
∆H₃ เป็ น 0 แสดงว่า ไม่เป็ นปฏิกิรยิ าดูดความร้อน และปฏิกิรยิ าคายความร้อน
จากแผนภาพต่อไปนี้
A(s) I A(g) II A⁺(g)
V AB(s) VI A⁺(g)+B⁻(g) VII A⁺(aq) + B⁻(aq)
1
2
B₂(g) III B(g) IV B⁻(g)
พลังงานในการเกิดพันธะ พลังงานในการละลาย
จงบอกชื่อพลังงานแต่ละขัน้ ตอน และบอกว่าเป็ นการดูดหรือคายพลังงาน
I …………………………………………… II …………………………………………… III ……………………………………………

IV …………………………………………… V …………………………………………… VI ……………………………………………

VII ……………………………………………

แนวข้อสอบ
1. พลังงานแลตทิซ คือ .....................................................................................................................................
2. พลังงานไฮเดรชัน คือ .....................................................................................................................................
3. จงเขียนสมการแสดงพลังงานแลตทิช และพลังงานไฮเดรชันของสารละลาย CuSO₄ พร้อมทัง้ ระบุดว้ ยว่าดูดหรือคาย
ความร้อน

4. จงเขียนสมการแสดงพลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชันและสมการรวมของสารละลาย Na₂CO₃ พร้อมทัง้ ระบุดว้ ยว่า


ดูดหรือคายความร้อน
5. ให้บอกความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานโครงร่างผลึกและพลังงานไฮเดรชัน

A เย็ น แสดงว่า .............................................................................

B ร ้อน แสดงว่า .............................................................................

C ปกติ แสดงว่า .............................................................................

D ไม่ละลายน้ า แสดงว่า .............................................................................

6. สารละลาย A, B, C และ D มีพลังงานเกี่ยวข้องดังนี ้

สาร พลังงานโครงร่างผลึก พลังงานไฮเดรชัน


A 500 20
B 30 50
C 50 25
D 16 30

สารใดละลายนา้ แล้วสารละลายจะร้อนขึน้ ...............................................................................................................


สารใดที่ละลายนา้ แล้วสารละลายจะเย็นลง...............................................................................................................
สารใดที่ละลายนา้ ได้ยาก...............................................................................................................

7. ความสามารถในการละลายของสาร A และ B เป็ นดังนี ้


สาร ความสามารถในการละลายในน้า 100กรัม
0°C 100°C
A 15 50
B 31 2
สรุปได้วา่
สาร A เป็ นสารประเภท ....................................................................................................................................
สาร B เป็ นสารประเภท ....................................................................................................................................
8. ความสามารถในการละลายของสาร เป็ นดังนี ้

สรุปได้วา่
สาร A เป็ นสารประเภท ....................................................................................................................................
สาร B เป็ นสารประเภท ....................................................................................................................................

9. การละลายกับการตกผลึก

9.1เมื่อนาสาร A มาละลายนา้ ที่อณ


ุ หภูมิ 30°C แล้วทาให้อณ
ุ หภูมิเย็นลงเป็ น 10°C ในนา้ 300 กรัม จะเกิดการ
เปลีย่ นแปลงอย่างไร

9.2เมื่อนาสาร B มาละลายนา้ ที่อณ


ุ หภูมิ 20°C ในนา้ 500 กรัม แล้วทาให้เย็นลงเป็ น 0°C จะเกิดการเปลีย่ นแปลง
อย่างไร
10.สมการแสดงการละลายและการแปลความหมาย
กาหนดให้ กระบวนการละลายของสารประกอบไอออนิก มี 2 ขัน้ ดังนี ้
MX(s) → M⁺(g) + X⁻(g) ∆H₁
M⁺(g) + X⁻(g) → M⁺(aq) + X⁻(aq) ∆H₂
1. สมการที่ 1 และ 2 เป็ นสมการแสดง .................................................................................................
2. ถ้านาสาร MX ไปละลายนา้ แล้วอุณหภูมิของสารละลายเพิ่มขึน้ แสดงว่า ............................................
3. เมื่อสาร MX ละลายนา้ แล้วไม่มคี วามร้อนเกิดขึน้ หรือลดลง แสดงว่า ......................................................
..........................................................................................................................................................
4. สารที่ละลายนา้ ได้ ∆H₁ จะสัมพันธ์ กับ ∆H₂ อย่างไร ............................................................................
..........................................................................................................................................................
5. ถ้าพลังงานทีใ่ ช้ในการแยก MX ออกจากกัน มีนอ้ ยกว่า พลังงานที่อนุภาค M⁺(g) และ X⁻(g) รวมกับนา้ แสดงว่า
..........................................................................................................................................................
6. ทัง้ สมการที่ 1 และสมการที่ 2 จะต้องดูดพลังงานเข้าไปใช้ในการเปลีย่ นแปลงใช่หรือไม่
..........................................................................................................................................................
การคานวณการละลาย
สูตรที่ใช้ Q = mc ∆t
Q = ปริมาณความร้อน m = มวลของนา้ ∆t = ผลต่างของอุณหภูมิ
C = ความจุความร้อน = 1 cal/g. °C หรือ 4.2 J/g. °C หรือ 4.2 kJ/kg. °C
Ex 1. เมื่อนาสาร AB จานวน 10 กรัม มาละลายในนา้ 100 กรัม อุณหภูมิก่อนละลาย 23°C อุณหภูมิหลังละลาย 30°C จง
หาปริมาณความร้อนที่เกิดขึน้ เป็ นจูล

9. สมการไอออนิก และสมการไอออนิกสุทธิ
สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงไอออนบวกและไอออนลบของสารประกอบไอออนในสารละลายทัง้ หมด
สมการไอออนิกสุทธิ คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนบวกและไอออนลบที่เข้าทาปฏิกิริยากัน
Ex 1. จงเขียนสมการไอออนิกของสารที่เกิดจากการผสมของ AgNo₃ กับ NaCI
ปฏิกิรยิ าเคมี คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิก คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิกสุทธิ คือ .......................................................................................................................
Ex 2. จงเขียนสมการไอออนิกของสารที่เกิดจากการผสมของ BaCI₂ กับ K₃PO₄
ปฏิกิรยิ าเคมี คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิก คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิกสุทธิ คือ .......................................................................................................................
Ex 3. จงเขียนสมการไอออนิกของสารที่เกิดจากการผสมของ MgSO₄ กับ AICI₃
ปฏิกิรยิ าเคมี คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิก คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิกสุทธิ คือ .......................................................................................................................
Ex 4. จงเขียนสมการไอออนิกของสารที่เกิดจากการผสมของ Na₂CO₃ กับ H₂SO₄
ปฏิกิรยิ าเคมี คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิก คือ .......................................................................................................................
สมการไอออนิกสุทธิ คือ .......................................................................................................................

3. พันธะโคเวเลนต์
1. การเกิดพันธะโคเวเลนต์
เกิดจากธาตุเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้รว่ มกัน ได้แก่ สารประกอบที่เกิดจากอโลหะกับอโลหะ รวมทัง้ B และ Be หรือ
เกิดจากสารประกอบที่มีคา่ EN และ IE สูง เช่น

• อิเล็กตรอนที่เกิดพันธะ เรียกว่า “อิเล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะ”


• อิเล็กตรอนที่ไม่ได้เกิดพันธะ เรียกว่า “อิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดี่ยว”
เปรียบเทียบความยาวพันธะได้ ดังนี ้

เปรียบเทียบพลังงานพันธะได้ดงั นี ้
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ จะเปรียบเทียบกันได้ก็ตอ่ เมื่อเป็ นพันธะที่เกิดจากอะตอมของธาตุคเู่ ดียวกัน ถ้า
เป็ นอะตอมต่างคูก่ นั เทียบกันไม่ได้

2. สมบัติของโมเลกุลโคเวเลนต์
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า เพราะการเดือดทาลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
(จุดเดือดของแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลเป็ นดังนี ้ พันธะไฮโดรเจน > แรงดึงดูดระหว่างขัว้ > แรงลอนดอน)
2. ส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟ้า แต่จะนาได้ถา้ มีขวั้ และโมเลกุลนัน้ สามารถแตกตัวเป็ นไอออนได้
3. เขียนสูตรโมเลกุลได้
4. หน่วยเล็กที่สดุ เรียกว่า “โมเลกุล”

3. การอ่านชื่อโมเลกุลโคเวเลนต์
เนื่องจากสารประกอบเหล่านี ้ มีสตู รที่เขียนได้ถกู ต้องหลายแบบ จึงต้องอ่านเลขอะตอมของธาตุแต่ละธาตุดว้ ยภาษากรีก
ดังนี ้ 1= mono , 2= di, 3=tri, 4=tetra, 5=penta, 6=hexa, 7=hepta, 8=octa, 9=nona, 10=deca และลงท้าย
เสียงเป็ นไอด์ (ide) เช่น
P₄O₁₀ …………………………………………….. N₂O ……………………………………………..

N₂O₅ …………………………………………….. SiH₄ ……………………………………………..

PCI₅ …………………………………………….. CI₂O₇ ……………………………………………..

SO₃ …………………………………………….. TeF₆ ……………………………………………..

4. หลักการเขียนสูตรแสดงพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์
1. สารที่มีจานวนแขนมากที่สดุ สารนัน้ ต้องเป็ นอะตอมกลาง โดยจานวนแขนของสารต่าง ๆ เป็ นดังนี ้
F CI Br I H มี 1 แขน
O S มี 2 แขน
N มี 3 แขน
C Si มี 4 แขน
สาร โครงสร้างลิวอิส
สูตรแบบเส้น สูตรแบบจุด

CS₂

HCN

CH₂ O

PCI₅

BF₃

2. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีหลักดังนี ้

สาร โครงสร้างลิวอิส
สูตรแบบเส้น สูตรแบบจุด

C₃H₄

C₂H₄

C₅H₁₂
3. กรดออกซี มีหลักในการเขียนดังนี ้ ให้เอา H ต่อกับ O แขนของ O อีกด้านหนึง่ ต่อกับอะตอมกลางส่วน O ที่เหลือจะต่อ
กับอะตอมกลางแบบพันธะคู่ หรือโคออร์ดิเนตก็ได้ ขึน้ อยูก่ บั อะตอมกลางนัน้ กล่าวคือ ถ้าอะตอมกลางยังไม่ครบ 8
ต้องต่อแบบพันธะคู่ แต่ถา้ อะตอมกลางครบ 8 แล้วให้ตอ่ แบบโครออร์ดิเนตโคเวเลนด์
สาร โครงสร้างลิวอิส
สูตรแบบเส้น สูตรแบบจุด

H₂SO₄

HNO₃

H₂CO₃

HCIO₄

H₃PO₄

4. สารประกอบออกซิเจนล้อมรอบ มีหลักดังนี ้ ให้เอา O ล้อมรอบอะตอมกลางว่า ครบ 8 หรือยัง ถ้ายังไม่ครบจะเกิด


พันธะคู่ แต่ถา้ ครบแล้วเกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
สาร โครงสร้างลิวอิส
สูตรแบบเส้น สูตรแบบจุด

SO₂

SO₃

PO3−
4

HCO−
4
5. พันธะโคออร์ดเิ นตโคเวเวนต์
ได้แก่ พันธะที่เกิดจากอะตออมใดอะตอมหนึง่ จ่ายอิเล็กตรอนคูไ่ ปให้ธาตุตวั ใดตัวหนึง่ เพื่อให้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน ครบ 8 โดยไม่
รับอิเล็กตรอนจากธาตุตวั นัน้ กลับมา ดังเช่น SO₂

สารหรือไอออน สูตรโครงสร้าง สารหรือไอออน สูตรโครงสร้าง

NH4+

S22−

SCN⁻

N₂O

6. รีโซเนนซ์ (Resonance)
รีโซแนนซ์ คือ ปรากฎการณ์ที่สารใดสารหนึง่ เขียนสูตรที่ถกู ต้องได้หลายแบบ เนื่องจากพันธะคูเ่ คลือ่ นที่ได้ เช่น
สารใดเกิดปรากฎการณ์รโี ซแนนซ์ได้สารนัน้ จะเสถียรมาก
สารประกอบที่เกิดรีโซแนนซ์ได้ ความยาวพันธะและพลังงานในโมเลกุลจะเท่ากันหมด

Ex 1. จงเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะของสารประกอบต่อไปนี ้
1. C กับ O ในสารประกอบ CO₂ , CO2−
3

2. O กับ O ในสารประกอบ O₂ , O₃ , H₂O₂

3. C กับ C ในสารประกอบ C₂H₂ , C₂H₄ , C₂H₆

4. C กับ O ในสารประกอบ CO , CH₂O , CH₃ OH


7. กฎออกเตต
กฎออกเตต กล่าวว่า สารประกอบโดยทั่วไปจะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 และสารนัน้ จะเสถียรมาก
สารประกอบที่ครบออกเตต ได้แก่
1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกตัว เช่น C₃H₆ C₅H₈ C₇H₁₄ เป็ นต้น
2. กรดออกซีทกุ ตัว เช่น H₂SO₄ HNO₃ H₃PO₄ เป็ นต้น
สาหรับสารประกอบอื่น ๆ สามารถตรวจสอบว่าเป็ นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ ทาได้โดยนับอิเล็กตรอน
จากอะตอมกลางดังนี ้
1. นับเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนของอะตอมกลางของธาตุนนั้ ๆ
2. นับจานวนแขนที่เกิดกับอะตอมกลาง
3. นับประจุลบของไอออนนัน ้ ๆ
4. เอา ข้อ 1, 2 , 3 มารวมกัน

สารประกอบทีค่ รบออกเตต ได้แก่


CO₂ …………………… CS₂ …………………… PCI₃ …………………… NH₃ …………………… H₂S ……………………

H₂O …………………… SO₂ …………………… N₂O …………………… CN⁻ …………………… SCN⁻ ……………………

สารประกอบที่เกินออกเตต ได้แก่
PCI₅ …………… SF₆ …………… AsF₅ …………… SF₄ …………… XeF₂ …………… BrF₅ ……………

สารประกอบที่ไม่ครบออกเตต ได้แก่
BeCI₂…………………… BF₃…………………… NO₂…………………… No……………………
แบบฝึ กหัด

1. สารประกอบในข้อใดต่อไปนีไ้ ม่เป็ นไปตามกฎออกเตต OF₂ HCI HCN CO NO SO₃ NH4+ SCI₂ PBr₅ HI
BeH₂ O₃ BCI₃

2. ธาตุ A, B, C, D, E อยูค่ าบ 2, 2, 3, 3, 3 ตามลาดับ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3, 4, 5, 6, 7 สารประกอบข้อใด


เป็ นไปตามกฎออกเตต AE₃ BD₂ CE₃ CE₅ BE₄ DO₂ H₂D

8. การคานวณพลังงานพันธะ
1. คานวณในรู ปสารประกอบ

Ex 1. จะต้องใช้พลังงานเท่าใดในการแตกสลายสารประกอบโพรพีน (C₃H₆) โดยกาหนดพลังงานพันธะให้ ดังนี ้ C-C = 348


kJ/mol ; C = C = 614 kJ/mol ; C ≡ C = 839 kJ/mol ; C - H = 413 kJ/mol

Ex 2. ในการสลายสารประกอบเพนทายน์ (C₅H₈) 1กรัม จะต้องใช้พลังงานเท่าใด โดยกาหนดพลังงานพันธะ ดังนี ้ C – C =


348 kJ/mol ; C = C = 614 kJ/mol ; C ≡ C = 839 kJ/mol ; C - H = 413 kJ/mol

คานวณในรูปของสมการเคมี
การสลายพันธะ เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน
การเกิดพันธะ เป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน
2. การคานวณพลังงานของปฏิกริ ิยาเคมี
Ex 1. ในสมการ A₂ + B₂ → 2AB กาหนดพลังงานพันธะให้ได้ดงั นี ้
A – A =436 ; B – B = 242 ; A – B = 431
จงคานวณความร้อนที่เกิดขึน้ ในปฏิกิรยิ า

Ex 2. จงคานวณพลังงานของปฏิกิรยิ า CH₄ + 2O₂ → CO₂ + 2H₂O กาหนดพลังงานพันธะให้ดงั นี ้


C – C = 348 C ≡ C = 839 C – H = 413 O = O = 48 C = O = 745 H – O = 463

Ex 3. จงคานวณพลังงานของปฏิกิรยิ า C₄H₁₀ → C₄H₆ + 2H₂ กาหนดพลังงานพันธะให้ดงั นี ้


C – H = 413 C - C = 348 C ≡ C = 839 H - H = 436

Ex 4. จากตัวอย่างข้อ 3 ถ้าเกิด C₄H₆ 5.4 กรัม จะมีการเปลีย่ นแปลงพลังงานเท่าใด (C = 12 , H = 1)

Ex 5. จากปฏิกิรยิ า 2NO + O₂ → 2NO₂ ระบบนีค้ ายความร้อน 112 kJ ถ้าใช้ NO ไป 10 mol จะคายความร้อนเท่าใด


Ex 6. จากปฏิกิรยิ า 2NO + O₂ → 2NO₂ ระบบนีค้ ายความร้อน 112 kJ กาหนดพลังงานให้ดงั นี ้ O – O ของ O₂ = 120 N – O
ของ NO = 90 จงหาพลังงานพันธะของ N – O ของโมเลกุล NO₂

แบบฝึ กหัด คานวณพลังงานพันธะ


1. จากปฏิกิรยิ าต่อไปนี ้ ข้อใดเป็ นปฏิกิรยิ าดูดความร้อน , คายความร้อน , หรือ สรุปไม่ได้วา่ เป็ นปฏิกิรยิ าดูดหรือคาย
ความร้อน
1. C₄H₁₀ → C₄H₆ + 2H₂ ………………………………………………………………………………………………….
2. 4NH₃ + 30₂ → 6H₂O + 2N₂ …………………………………………………………………………………….
3. CH₄ + CI₂ → CH₃ CI + HCI ……………………………………………………………………………………….
4. CI₂ + F₂ → 2CIF ……………………………………………………………………………………………….
5. CH₄ → C + 4 H ……………………………………………………………………………………………….
6. C + 20 → CO₂ ……………………………………………………………………………………………….
7. 2F → F₂ ……………………………………………………………………………………………….
1
8. CI₂ → CI ……………………………………………………………………………………………….
2
9. AI(g) → AI⁺(g) + e⁻ ……………………………………………………………………………………………….
10. Br + e⁻ → Br ……………………………………………………………………………………………….
2. จากปฏิกิรยิ าต่อไปนี ้
CH₄(g) + 20₂(g) →CO₂(g) + 2H₂O(g) : ∆H₁
CH₄(g) + 20₂(g) →CO₂(g) + 2H₂O(l) : ∆H₂
- ปฏิกิรยิ าทัง้ 2 เป็ นปฏิกิรยิ าดูดหรือคายความร้อน ...............................................................................................
- พลังงานความร้อนที่ดดู หรือคายของปฏิกิรยิ าใดมีคา่ มากกว่าเพราะเหตุใด ..........................................................
..........................................................................................................................................................................

9. จานวนพันธะโคเวเลนต์
การคิดจานวนพันธะ
1. ถ้าเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์แท้ ๆ จานวนพันธะ = จานวนอโลหะทัง้ หมด -1 เช่น
NH₃ = ……………………….พันธะ H₂SO₄ = ……………………….พันธะ
C₅H₁₂ = ……………………….พันธะ C₄H₉COOH = ……………………….พันธะ
2. ถ้าเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ที่มโี ครงสร้างเป็ นวงกลม 1 วง จานวนพันธะ = จานวนอโลหะทัง้ หมด
S₈ = ……………………….พันธะ C₆H₆ = ……………………….พันธะ
C₆H₅ COOH = ……………………….พันธะ C₆H₅CH₃ = ……………………….พันธะ
3. ถ้าเป็ นสารประกอบไอออนิกผสมโคเวเลนต์ ให้คิดเฉพาะพันธะโคเวเลนต์เท่านัน้ เช่น
NaCIO₃ = ……………………….พันธะ Mg(NO₃)₂ = ……………………….พันธะ
Na₂SO₄ = ……………………….พันธะ Al(NO₃)₃ = ……………………….พันธะ
4. ทาเป็ นสารประกอบของ NH4+ ให้แยกคิดของ NH4+และสารที่มาเป็ นส่วนประกอบของ NH4+เช่น
(NH₄)₂O = ……………………….พันธะ NH₄CI = ……………………….พันธะ
(NH₄)₃PO₄ = ……………………….พันธะ (NH₄)₂SO₄ = ……………………….พันธะ

จงหาจานวนพันธะของสารประกอบต่อไปนี้
CH₃COOH ……………… C₂H₅OH ……………… PH₃ ……………… CI₂O ……………… PCI₅ ………………

C₃H₇COOC₂H₅ ………………MgCI₂ ……………… NaNO₃ ………………Ca(OH)₂ ………………Cus ………………

Al(CIO₃)₃ ……………… (NH₄)₂S ……………… (NH₄)₂CO₃ ………………AIPO₄ ………………BaBr₂ ………………

C₆H₅OH ……………… (CH₃)₂O ……………… (CH₃)₄C ………………AI₂(SO₄)₃ ………………BeCI₂ ………………

แบบฝึ กหัด เรื่องจานวนพันธะโคเวเลนต์


1. ถ้า D, E, G, J และ L แทนสัญลักษณ์ของธาตุทม ี่ ีเลขอะตอม 6, 9, 15, 16 และ 17 ตามลาดับ สารประกอบ D₂L₆ ,
GL₅ , JE₆ มีกี่พน
ั ธะ เป็ นพันธะใดบ้าง อย่างละเท่าใด

2. ถ้า Q, R, T และ X เป็ นธาตุทมี่ ีเลขอะตอม 1, 6, 7 และ 8 ตามลาดับ จงหาจานวนพันธะและชนิดของพันธะใน


สารประกอบต่อไปนี ้ TQ₃ RX₂ R₂Q₂ QTX₂
3. จากสารประกอบต่อไปนี ้ 1.HCCCONH₂ 2.NCCH₂ CHCH₂ 3.OCNCH₂CCH 4.H₂CCHCN
1. สารใดมีสดั ส่วนพันธะเดี่ยว : พันธะคู่ : พันธะสาม เท่ากับ 4 : 1: 1

2. จงแสดงโครงสร้างพันธะของสารประกอบแต่ละตัว

10. มุมพันธะ

เรียงลาดับแรงผลักที่เกิดขึน้ ภายในโมเลกุล เป็ นดังนี ้ ....................................................................................................


การพิจารณาอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
ต้องคิดว่าเดิมอะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด ถูกใช้ไปในการเกิดพันธะคงเหลือเป็ นอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ วรอบ
อะตอมกลางเท่าใด

จงหาจานวนอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ วรอบอะตอมกลางของสารประกอบต่อไปนี ้

CO₂ …………………… H₂S …………………… HCN …………………… SO₃ …………………… CH₄ ……………………

H₂O …………………… PCI₅ …………………… O₃ …………………… CH₂O …………………… N₂O ……………………

PCI₃ …………………… NO₂ …………………… SO2− 2− 3−


4 …………………… CO3 …………………… PO4 ……………………

CIO− + −
3 …………………… BrF2 …………………… BrF₃ …………………… CIF2 …………………… BrF₅ ……………………
11. รู ปร่างพันธะ
โมเลกุลโคเวนต์ มีรูปร่างแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั แรงผลักภายในโมเลกุลของอิเล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะ และอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง

1. รูปร่างใดบ้างที่รูปร่างโมเลกุลเป็ นแบบ 3 มิติ .......................................................................


2. รูปร่างใดที่ทกุ อะตอมอยูใ่ นระนาบเดียวกัน .........................................................................
หลักการคิดรูปร่างพันธะ
1. ถ้านับจานวนพันธะได้ 2 จะเป็ นรูปเส้นตรง และมุมงอ โดยจะเป็ นเส้นตรงก็ตอ่ เมื่อไม่มีอเิ ล็กตรอนคูโ่ ดดเดี่ยวที่อะตอม
กลาง แต่ถา้ มีอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ วจะเป็ นรูปมุมงอ ดังเช่น
CO₂ ………………… O₃ ………………… SCI₂ ………………… SO₂ ………………… CS₂ …………………

NO₂ ………………… OCI₂ ………………… BeCI₂ ………………… HCN ………………… TeH₂ …………………

BeH₂ ………………… NO−


2 ………………… N₂O ………………… H₂S ………………… SeH₂ …………………

2. ถ้านับจานวนพันธะได้ 3 จะเป็ นรูปสามเหลีย่ มแบนราบ และมีพีระมิดฐานสามเหลีย่ มโดยจะเป็ นสามเหลีย่ มแบนราบ


ก็ตอ่ เมื่อไม่มีอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ วที่อะตอมกลาง แต่ถา้ มีอเิ ล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ ว 1 คู่ จะเป็ นรูปพีระมิดฐานสามเหลีย่ ม
ดังเช่น
BF₃ ………………… PCI₃ ………………… CIO−
3 ………………… NH₃ ………………… PH₃ …………………

NO− 2−
3 ………………… CO3 ………………… SO₃ ………………… SO2−
3 ………………… SbH₃ …………………..

CH₂O ………………… NCI₃ ………………… BCI₃ ………………… BH₃ ………………… NF₃ …………………

3. ถ้านับจานวนพันธะได้ 4, 5, 6 จะเป็ นรูปทรงสีห่ น้า พีระมิดคู่ฐานสามเหลีย่ ม และทรงแปดหน้า ตามลาดับ (ในกรณี


ทีอ่ ะตอมกลางนัน้ ไม่มอี เิ ล็กตรอนคู่โดดเดีย่ ว) ดังเช่น
NH4+ …………………… XeF₄ …………………… PCI₅ …………………… AsF₅ ……………………

SF₆ …………………… SF₄ …………………… SeI₆ …………………… SO2−


4 ……………………

4. ถ้าสารประกอบใดอะตอมกลางเกิน 1 ตัวขึน้ ไปให้เอาอะตอมกลางที่มีจานวนพันธะมากที่สดุ เป็ นหลักในการพิจารณา


รูปร่าง โดยถ้าจานวนพันธะได้ 2, 3, 4 จะเป็ นรูปเส้นตรง , สามเหลีย่ มแบนราบ และทรงสีห่ น้าตามลาดับ (ในกรณีที่
อะตอมกลางนัน้ ไม่มีอเิ ล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ ว) ดังเช่น
C₂H₂ ………………………………….. C₂H₄ ………………………………….. C₂H₆ …………………………………..

H₂CO₃ ………………………………….. H₂SO₄ ………………………………….. HCIO₄ …………………………………..

การพิจารณารูปร่างของสารประกอบที่มีธาตุที่เป็ นอะตอมกลางหลาย ๆ ธาตุ และต้องการพิจารณารูปร่างของทุก ๆ


อะตอมกลาง
CH₂NH ………………………………….. N₂H₂ ………………………………….. CH₃CHNOH …………………………………..
การเปรียบเทียบมุมพันธะ
หลักในการเปรียบเทียบมุมพันธะ
ในการเปรียบเทียบมุมพันธะทุกครัง้ ต้องเอาอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ วมาเกี่ยวข้องด้วย โดยคิดอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ ว 1 คู่
เท่ากับ 1 พันธะ แต่เป็ นพันธะที่คอ่ นข้างโตมาก เป็ นผลให้ผลักอิเล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะให้เล็กลงมาก ถ้าจานวน อิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยวมีมาก มุมของอิเล็กตรอนคูร่ ว่ มพันธะจะเล็กลงด้วย ดังเช่น
1. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของสารประกอบ NH₃ , CH₄ , H₂O จากมุมโตไปเล็ก

2. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของสารประกอบ SO₂ , SCI₂ จากมุมโตไปเล็ก

3. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของสารประกอบ SCI₂ , SCI₂ จากมุมโตไปเล็ก

4. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของสารประกอบ NH₃ , NF₃ จากมุมโตไปเล็ก

5. จงเปรียบเทียบพันธะของสารประกอบ H₂O , H₂S , H₂Se , H₂Te จากมุมโตไปเล็ก


6. กาหนดสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ A , B , C , D , E เป็ น 11A , 105B , 126C , 32
16D และ 17E
35

จงเรียงมุมระหว่างพันธะของสารประกอบของ CD₂ BE₃ CE₄ และ A₂D จากมุมโตไปเล็ก

7. จงเปรียบเทียบพันธะของสารประกอบ PCI₅ , N₂O , H₂S , BeCI₂ , BF₃ , SO₂ , CCI₄ , SF₆ , PCI₃ จากมุมโตไปเล็ก

8. A เป็ นธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็ น 2, 8, 5 มุมระหว่างพันธะในสารข้อใดต่อไปนี ้ มีคา่ รวมกันมากที่สดุ


ก. H₂O , ACI₃ ข. NH₃ , AF₃ ค. SiCI₄ , ABr₃ ง. CH₄ , ACI4+

รูปร่างพันธะอย่างละเอียด (เพิ่มเติมเกินหลักสูตร)
A = อะตอมกลาง
X = อะตอมที่อยูร่ อบอะตอมกลาง
E = อิเล็กตรอนคูโ่ ดดเดีย่ ว
2. ถ้านับจานวนพันธะได้ 3 จะมีรูปร่าง ดังนี ้

AX₃

AX₃E

AX₃E₂

3. ถ้านับจานวนพันธะได้ 4 จะมีรูปร่าง ดังนี ้

AX₄

AX₄E

AX₄E₂

4. ถ้านับจานวนพันธะได้ 5 จะมีรูปร่างพันธะ ดังนี ้

AX₅

AX₅E
5. ถ้านับจานวนพันธะ ได้ 6 จะมีรูปร่าง ดังนี ้

AX₆

12. พันธะโคเวเลนต์ที่มข
ี ั้วและไม่มีขั้ว
• พันธะโคเวเลนต์ที่ไม่มีขวั้
คือ พันธะที่เกิดจากธาตุที่มีคา่ EN เท่ากัน เช่น F₂ , CI₂ , Br₂ , I₂ , H₂ , O₃ , S₈ , P₄
• พันธะโคเวเลนต์ที่มีขวั้
คือ พันธะที่เกิดจากธาตุที่มีคา่ EN ต่างกัน ธาตุใดมีคา่ EN สูงกว่า จะแสดงขัว้ ลบ ถ้า EN ต่างกันมาก สภาพขัว้ จะแรง
มาก เช่น

13. โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มขี ั้วและไม่มีขั้ว


• โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่มีขวั้
คือ โมเลกุลที่เกิดจากขัว้ ของพันธะหักล้างกันหมด ไม่แสดงทิศทางของขัว้ ได้แก่
1. โมเลกุลอะตอมคูท่ ี่พนั ธะไม่มีขวั้ เช่น O₂ , F₂
2. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกตัว เช่น C₂H₄ , C₃H₈ , C₅H₁₂
3. สารประกอบที่มีรูปร่าง เส้นตรง สามเหลีย่ มแบนราบ ทรง 4 หน้า พีระมิดคูฐ่ านสามเหลีย่ ม ทรง 8 หน้า และต้องมี
อะตอมที่ลอ้ มรอบอะตอมกลางเป็ นธาตุตวั เดียวกัน เช่น CO₂ , BeH₂ , BF₃ , BCI₃ , CCI₄ , CH₄ , PH₅ , SF₆
• โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีขวั้
คือ โมเลกุลที่เกิดจากขัว้ ของพันธะหักล้างกันไม่หมด จึงแสดงทิศทางของขัว้ โดยทิศทางของขัว้ จะหันไปทางขัว้ ลบ
1. โมเลกุลอะตอมคูท่ ี่พนั ธะมีขวั้ เช่น
HF ทิศทางของขัว้ → HCI ทิศทางของขัว้ →
2. สารประกอบที่เป็ นรูปมุมงอกับพีระมิดฐานสามเหลีย่ ม
3. สารประกอบที่มีรูปร่างอื่น ๆ ทีน่ อกเหนือจากข้อ 2 และมีธาตุทลี่ อ้ มรอบอะตอมกลางเป็ นธาตุตา่ งชนิดกัน

ประโยชน์ของสภาพขัว้ ของโมเลกุล
1. การนาไฟฟ้า
โมเลกุลมีขวั้ จะนาไฟฟ้าได้ ถ้าแตกตัวเป็ นไอออนได้ ส่วนโมเลกุลไม่มีขวั้ จะไม่นาไฟฟ้า
2. การละลาย
โมเลกุลที่มีสภาพขัว้ เหมือนกันจะละลายด้วยกันได้ดี ส่วนสารที่มขี วั้ ต่างกันจะรวมกันไม่ได้ เพราะแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างสารที่มีขวั้ เหมือนกันจะมีมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสารที่มีขวั้ ต่างกัน

14.แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
I. แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van Der Waal Forces)
- แรงลอนดอน
- แรงดึงดูดระหว่างขัว้
II. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen Bond)

I. แรงแวนเดอร์วาลส์
เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ไม่แข็งแรงนัก แบ่งออกเป็ น
1.1 แรงลอนดอน เป็ นแรงยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกุลไม่มีขวั้ แรงนีจ้ ะมีสภาพขัว้ เกิดขึน้ ชั่วคราวเนื่องจาก
อิเล็กตรอนในอะตอมไม่อยูน่ ิ่ง ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปลีย่ นแปลงได้ทาให้ความหนาแน่นของ
อิเล็กตรอนไม่สม่าเสมอ จึงเกิดเป็ นขัว้ ขึน้ และโมเลกุลที่อยูข่ า้ งเคียงถูกเหนี่ยวนาให้เกิดขัว้ ขึน้ เช่นกัน แล้วโมเลกุลเหล่านัน้ ก็จะ
เกิดแรงดึงดูดกัน เรียกว่า “แรงลอนดอน” ดังรูป ตัวอย่าง สารทีย่ ดึ เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงลอนดอน
ได้แก่ He Ar CH₄ O₂ เป็ นต้น
- โมเลกุลไม่มีขวั้ ในสภาพปกติ

- สภาพขัว้ ที่เกิดขึน้ ชั่วคราวในโมเลกุล


เปรียบเทียบจุดเดือดของธาตุหมู่ 7

1.2แรงดึงดูดระหว่างขัว้ เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่แข็งแรงกว่าแรงลอนดอน เนื่องจากสารพวกนีน้ อกจากจะมีแรง


ลอนดอนแล้ว ยังขึน้ กับสภาพของขัว้ ด้วย
ตัวอย่าง สารที่มแี รงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงระหว่างขัว้ เช่น SO₂ , HCI , PCI₃

เปรียบเทียบจุดเดือดของสารประกอบไฮโดรด์ของธาตุหมู่ 7

II. พันธะไฮโดรเจน
เป็ นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่สภาพขัว้ ของโมเลกุลสูงมาก เกิดจากธาตุ H และธาตุที่มคี า่ อิเล็กโทรเนกาติวิตี ้ สูงและมี
ขนาดเล็ก ได้แก่ F, O, N สภาพขัว้ ที่สงู มาก เป็ นเพราะผลต่างของค่า EN มีคา่
ตัวอย่างสารที่เกิดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นพันธะไฮโดรเจน

พันธะไฮโดรเจนใน HF H₂O NH₃


จงเปรียบเทียบจุดเดือดของ HF H₂O NH₃ ………………………………………………………………..

กราฟแสดงจุดเดือดของสารประกอบของไฮโดดรเจนกับธาตุหมู่ IV, V , VI และ VII

สารประกอบของไฮโดรเจนกับธาตุหมู่ IV , V , VI และ VII


กราฟแสดงจุดเดือดของสารประกอบไฮไดรด์
หมายเหตุ สารประกอบที่มแี รงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเฉพาะแรงลอนดอน อามีจดุ เดือดสูงกว่าสารประกอบที่มีแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นพันธะไฮโดรเจนก็ได้ ถ้าสารนัน้ มีมวลโมเลกุลมากกว่ามาก ๆ
จงเปรียบเทียบรูปร่างพันธะ สภาพขั้วของพันธะโคเวเลนต์ สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ และแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุล
สาร รูปร่าง สภาพขัว้ ของ สภาพขัว้ ของ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
พันธะโคเว โมเลกุลโคเว ลอนดอน แรงดึงดูด พันธะ
เลนต์ เลนต์ ระหว่างขัว้ ไฮโดรเจน
1.CO₂
2.NH₃
3.PH₃
4.C₂H₄
5.O₂
6.HF
7.H₂SO₄
8.C₂H₅OH
9.N₂
10.N₂O
11.HCN
12.PCI₅
13.CH₃COOH
14.CCI₄
15.CH₂O
16.CCI₂H₂
17.CH₄
18.NCI₃
19.BF₃
20.CS₂
21.H₂O
22.CCI₃H
23.SF₆
24.OF₂
25.NI₃
26.SiH₄
27.HCI
28.SO₃
29.CH₃NH₂
30.C₂H₆
- สารใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นพันธะไฮโดรเจนจะมีแรงยึดเหนี่ยวที่ออ่ นกว่าปนอยูด่ ว้ ยในที่นี ้ คือ แรง
ดึงดูดระหว่างขัว้ และแรงลอนดอน
- สารใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงระหว่างขัว้ จะมีแรงลอนดอนปนอยูด่ ว้ ย
- โมเลกุลไม่มีขวั้ จะยึดด้วยแรงลอนดอนเพียงอย่างเดียว

15. พันธะโคเวเลนต์แบบโครงผลึกร่างตาข่าย
จุดเดือดจุดหลอมเหลวจะสูงมากเพราะเกาะกันแบบโครงร่างตาข่าย การเดือดเป็ นการทาลายพันธะโคเวเลนต์ ซึง่ เป็ น
แรงภายในโมเลกุล ดังเช่น เพชร แกรไฟต์ SiC SiO₂ เป็ นต้น

สรุ ป
1. การนาไฟฟ้ า
พันธะโลหะนาไฟฟ้าได้เพราะมีอิเล็กตรอนอิสระเคลือ่ นที่
พันธะไอออนิกนาไฟฟ้าได้เพราะมีไอออนเคลือ่ นที่
พันธะโคเวเลนต์นาไฟฟ้าได้เพราะโมเลกุลมีขวั้ และแตกตัวเป็ นไอออนได้ เช่น HCI H₂SO₄ CH₃COOH
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลว
เรียงลาดับจุดเดือดจุดหลอมเหลวได้ดงั นี ้
พันธะโลหะ > พันธะไอออนิก> พันธะไฮโดรเจน> แรงระหว่างขัว้ > แรงลอนดอน
3. การละลายนา้
พันธะไอออนิกใช้ทอ่ งจา
พันธะโคเวเลนต์ให้ดทู ี่ขวั้ โดยถ้ามีขวั้ เหมือนกันจะละลายกันได้ ขัว้ ต่างกันจะไม่ละลายซึง่ กันและกัน
แบบฝึ กหัด เรื่อง การเปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสาร
1. ทาไมพันธะโลหะ และพันธะไอออนิกจึงมีจดุ เดือดจุดหลอมเหลวสูงกว่าโมเลกุลโคเวเลนต์

2. การเปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของพันธะโลหะ จะพิจารณาอย่างไร

3. การเปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของโมเลกุลโคเวเลนต์ จะพิจารณาอย่างไร

4. ถ้าแรงยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกุล เป็ นแรงวันเดอวาลส์ดว้ ยกัน จะเปรียบเทียบจุดเดือดโดยพิจารณาจากอะไร

5. ทาไม SiO₂ , SiC เป็ นพันธะโคเวเลนต์ แต่มจี ดุ เดือด จุดหลอมเหลว สูงมาก

6. จงเปรียบเทียบสมบัติของสารทีก่ าหนดให้ตอ่ ไปนี ้

สาร รูปร่าง สภาพขัว้ ของ สภาพขัว้ ของ แรงยึดเหนี่ยว เปรียบเทียบจุด


พันธะ โมเลกุล ระหว่างโมเลกุล เดือด
1.HF

2.H₂O

3.HCI
สาร รูปร่าง สภาพขัว้ ของ สภาพขัว้ ของ แรงยึดเหนี่ยว เปรียบเทียบจุด
พันธะ โมเลกุล ระหว่างโมเลกุล เดือด
4.Br₃

5.SiO₂

6.SiO₂

7.C₂H₄

7. จงเปรียบเทียบจุดเดือดของสารประกอบต่อไปนี ้ จากสูงไปต่า
1. C₂H₆ , H₂O , HCI , HBr , CH₄ ……………………………………………………………
2. F₂ , HF , CaF₂ …………………………………………………………………………………
3. SiO₂ , HF, H₂S , H₂O , CI₂ , Ne …………………………………………………………
4. SiC , CH₃CooH , SiH₄ CH₄ , He ………………………………………………………
5. C₁₀H₂₂ , H₂O , NH₃ , O₂ ………………………………………………………………

You might also like