You are on page 1of 89

4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
สภาวิศวกร | Council of engineers

กร
วิชา : Hazardous Waste Engineering

ิ ว
าวศ
เนือหาวิชา : 638 : 1. Types and Characteristics of Hazardous Wastes
สภ
ข ้อที 1 :
ถ ้ามีการปนเปื อนของโทลูอน
ี (Toluene) ลงในนํ าใต ้ดิน จงหาว่าโทลูอน
ี จะมีการเคลือนทีอย่างไรในนํ า
โดยให ้ค่าความสามารถในการละลายนํ า (water solubility) ของโทลูอน ี เท่ากับ 546 มก./ล. และค่า
ความถ่วงจําเพาะ (specific gravity)เป็ น 0.867
1 : จมตัวลงไปสูด ่ ้านล่างจากนันจึงลอยนํ า
2 : ลอยนํ าแล ้วค่อยๆจมตัวลงสูด่ ้านล่าง
3 : ลอยไปกับนํ าโดยไม่มก ี ารจมตัวเลย
4 : จมตัวลงไปใต ้ท ้องนํ าโดยไม่มก ี ารลอย

ข ้อที 2 :
ถ ้ามีการปนเปื อนของโดยแนพธาลีน (Naphthalene) ลงในนํ าใต ้ดิน จงหาว่าแนพธาลีนจะมีการ
เคลือนทีอย่างไรในนํ า ให ้ค่าความสามารถในการละลายนํ า (water solubility) ของแนพธาลีนเท่ากับ
31.9 มก./ล. และค่าความถ่วงจําเพาะ (specific gravity)เป็ น 1.145
1 : จมตัวลงไปสูด ่ ้านล่างจากนันจึงลอยนํ า
2 : ลอยนํ าแล ้วค่อยๆจมตัวลงสูด่ ้านล่าง
3 : ลอยไปกับนํ าโดยไม่มก ี ารจมตัวเลย
4 : จมตัวลงไปใต ้ท ้องนํ าโดยไม่มก ี ารลอย

ข ้อที 3 :
ในการเก็บสารไตรคลอโรเอทิลน ึ จด
ี (Trichloroethylene) ซงมี ุ วาบไฟ (Flash point) ทีอุณหภูม ิ 32.2

องศาเซลเซยส บรรจุในถังเหล็กในอาคารเก็บสารเคมีแห่งหนึง พบว่าสารเคมีในถังมีอณุ หภูมริ ้อนถึง
138 องศาฟาเรนไฮต์ ถามว่ามีโอกาสทีจะเกิดเพลิงไหม ้ทีอาคารแห่งนันหรือไม่
1 : ไม่เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลนี แยกเก็บไว ้ในถังเฉพาะ ไม่มก ี ารปนเปื อนกับสารอืนๆ จึงไม่
เกิดความร ้อน
ี ต ้องเก็บไว ้ในถังพลาสติก เมือใสใ่ นถังเหล็กจะทําให ้สารไตร
2 : เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลน
ธิ

คลอโรเอทิลน ี ร ้อนได ้ง่าย


สท

3 : เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลนี ในถังมีอณ ุ หภูมสิ งู กว่าจุดวาบไฟ


4 : ไม่เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลน ี เป็ นสารเฉือย


วน
สง

ข ้อที 4 :
สารเคมีใดต่อไปนีสามารถอยูร่ ว่ มกันได ้โดยไม่เกิดปั ญหาหรืออุบต
ั ภ
ิ ย
ั ตามมา
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 1/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : ั ฟิ วริกเข ้มข ้นและโซเดียมไฮดรอกไซด์เข ้มข ้น
กรดซล


2 : กรดไนตริกเข ้มข ้นและนํ า
3 : กรดฟอสฟอริกและไซยาไนด์

กร
4 : กรดไฮโดรคลอริกเข ้มข ้นและโซเดียมคลอไรด์เข ้มข ้น

ิ ว
าวศ
ข ้อที 5 :
ั ผัสกับนํ าแล ้วจะเกิดการลุกติดไฟ
สารใดต่อไปนีหากสม
สภ
1 : เมททานอล (methanol)
2 : เบนซนิ (benzene)
3 : โปตัสเซยี มคลอไรด์ (potassium chloride)
4 : โซเดียมในรูปของโลหะ (sodium metal)

ข ้อที 6 :
รถบรรทุกสารเคมีทําสารเอนดริน (endrin) หกรัวไหลลงสูถ ่ นนดิน ถ ้าความเข ้มข ้นเริมต ้นของเอนดรินที
เกิดการปนเปื อนในดินเป็ น 7800 มก./ล. และมีคา่ k = 0.00229 ต่อวัน จงหาว่าเมือไรความเข ้มข ้น
ของเอนดรินในดินจะเหลือเป็ น 0.001 มก./ล. เมือสมการการสลายตัวของเอนดริน คือ ln (c/c0) = -
kt
1 : 9 ปี
2 : 19 ปี
3 : 29 ปี
4 : 39 ปี

ข ้อที 7 :

สารทีใชในการกํ าจัดแมลงสารใดทีไม่จัดว่าเป็ นสารในกลุม
่ ของ Organochlorine Insecticide
1 : DDT
2 : Lindane
3 : Endosulfan
4 : Malathion

ข ้อที 8 :
ธิ

จงคํานวณหาค่าคงทีของเฮนรีสําหรับสาร Perchloroetylene ทีความดันไอ 90 มม.ปรอทเมือค่าคงที


สท

เฮนรี = ความดันไอ (บรรยากาศ) / ค่าการละลาย (โมลต่อลบ.ม.) (ค่า water solubility 275 มก./
ลิตร และนํ าหนักโมเลกุล 166 กรัม/โมล)

1 : 0.07 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล


วน

2 : 0.58 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล


3 : 1.39 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล
สง

4 : 4.38 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 2/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 9 :

กร
หากพิจารณาว่าสารใดจะละลายในนํ าได ้มากหรือน ้อย ควรพิจารณาลักษณะสมบัตใิ ดของสาร
1 : Water Reactivity

ิ ว
2 : Water Solubility

าวศ
3 : Specific Gravity
4 : Water/Vapor Pressure
สภ

ข ้อที 10 :
ั ในดินได ้มากหรือน ้อย ลักษณะสมบัตใิ ดของสารบอกคุณสมบัตไิ ด ้ดี
หากพิจารณาว่าสารใดจะถูกดูดซบ
ทีสุด
1 : Octanol-water partition coefficient (Kow)
2 : Organic matter-water partition coefficient (Kom)
3 : Soil matter-water partition coefficient (Kd)
4 : Organic carbon-water partition coefficient (Koc)

ข ้อที 11 :
ข ้อใดต่อไปนีถูก
1 : โครเมียมเป็ นโลหะหนักทีมีชนิดของประจุอยู่ 2 ชนิดเท่านัน คือ ประจุ +6 และ ประจุ +3
2 : ลักษณะเด่นของตะกัวคือ มีจด ุ หลอมเหลวตํา มีความหนาแน่นสูง ทําให ้ระเหยกลายเป็ นไอได ้
ยาก
3 : อาร์เซนิคชนิดทีมีประจุ +5 เป็ นสารทีมีความเป็ นพิษตําทีสุดเมือเทียบกับอาร์เซนิคทีมีประจุ
หมายเลขอืนๆ
4 : โครเมียมทีมีประจุ +6 เป็ นสารทีมีความเป็ นพิษตําทีสุดเมือเทียบกับโครเมียมทีมีประจุหมาย
เลขอืนๆ

ข ้อที 12 :

ชอสารที ื ทยาศาสตร์ของสารนันผิด
เป็ นทีรู ้จักกันโดยทัวไปในข ้อใดต่อไปนี มีชอวิ
1 : PCE = Tetrachloroethylene
2 : Xylene = Methylphenol
ธิ

3 : Toluene = Phenylmethane
สท

4 : PCDF = Polychlorinated dibenzofurans



วน

ข ้อที 13 :
สง

ถ ้าเกิดเหตุการณ์ทมี
ี การรัวไหลของของเสย ี อันตรายลงในแม่นําแห่งหนึง ค่าคงทีใดดังต่อไปนี ที

สามารถใชในการประมาณว่ าจะมีการสะสมของของเสย ี นัน ในดินตะกอนแม่นําหรือสงมี
ิ ชวี ต
ิ ในนํ าใน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 3/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ปริมาณมากน ้อยเพียงใด


1 : Water solubility

กร
2 : Organic carbon-water partition coefficient (Koc)
3 : Henry’s constant

ิ ว
4 : Reference dose (RfD)

าวศ
สภ
ข ้อที 14 :
สาร CFC เป็ นสารทีต ้องควบคุม เนืองจากจัดอยูใ่ นประเภทใด
1 : Flammable
2 : Reactive
3 : Corrosive
4 : Persistent

ข ้อที 15 :
สารไดออกซน ิ เป็ นสารอันตรายในประเภทใด
1 : Toxic
2 : Reactive
3 : Corrosive
4 : Ignitable

ข ้อที 16 :
สาร Carcinogen คือสารทีมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : สารเคมีทระเบิ
ี ื
ดได ้เมือถูกความชน
2 : ิ ชวี ต
สารทีอาจก่อให ้เกิดมะเร็งในสงมี ิ
3 : สารทีอาจมีผลให ้เกิดการกลายพันธุข ิ ชวี ต
์ องสงมี ิ
4 : สารทีมีสว่ นทําให ้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

ข ้อที 17 :
ี อันตรายประเภทใดทีจัดเป็ น Non-Point Source
แหล่งกําเนิดของเสย
ธิ

1 : นํ าเสยี จากโรงงานทีมีโลหะหนักปนเปื อน
สท

2 : สลัดจ์จากระบบบําบัดนํ าเสย ี ของโรงงานปิ โตรเลียม


3 : นํ าเสย ี จากห ้องปฏิบต


ั ก
ิ ารวิจัยของมหาวิทยาลัย
4 : นํ าทีไหลผ่านพืนทีเพาะปลูกทีใชปุ้ ๋ ยเคมี และยาฆ่าแมลงปริมาณมาก
วน
สง

ข ้อที 18 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 4/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


่ ก
ข ้อใดไม่ใชล ั ษณะของ Incompatible Waste


1 : ี อันตรายทีผสมกับสารอืนแล ้วเกิดปฏิกริ ย
ของเสย ิ าทีก่อให ้เกิดก๊าซพิษ

กร
2 : ของเสยี อันตรายทีผสมกับสารอืนแล ้วเกิดปฏิกริ ย ิ าทีก่อให ้เกิดความร ้อนสูง
3 : ของเสย ี อันตรายทีผสมกับสารอืนแล ้วเกิดปฏิกริ ย ิ าทีก่อให ้เกิดการลุกไหม ้
4 : ของเสย ี ซงไม่
ึ สามารถบดอัดได ้ มิฉะนันอาจเกิดระเบิดขึน

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 19 :
สมบัตห ิ
ิ รือลักษณะในข ้อใดดังต่อไปนีของสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ทีไม่พบในประกาศกระทรวง
ี ใชแล
อุตสาหกรรมฉบับที 6 (พ.ศ. 2540)
1 : เป็ นสารไวไฟ
2 : เป็ นสารระเหยง่าย
3 : เป็ นสารกัดกร่อน
4 : เป็ นสารทีถูกชะล ้างได ้

ข ้อที 20 :
ข ้อใดถูกทีสุดสําหรับสารอินทรียท
์ มี
ี flash point ตํากว่าอุณหภูมห
ิ ้อง
1 : ระเหยเป็ นไอได ้ง่ายทีอุณหภูมห
ิ ้อง
2 : สามารถละลายนํ าได ้น ้อย
3 : มีความเป็ นพิษน ้อย
4 : สามารถติดไฟได ้เองทีอุณหภูมห ิ ้อง

ข ้อที 21 :
ข ้อใดถูกทีสุดสําหรับสารอินทรียท
์ มี
ี ความสามารถในการละลายนํ ามาก
1 : ่ งแวดล
เมือรัวไหลสูส ิ ้อม มักจะคงอยูไ่ ด ้นาน
2 : มีความดันไอน ้อย
3 : มักจะมีมวลโมเลกุลสูง
4 : สามารถดูดซบ ั กับตะกอนดินได ้น ้อย

ข ้อที 22 :
ข ้อใดถูกทีสุดสําหรับสารอินทรียท
ธิ

์ มี
ี ความถ่วงจําเพาะน ้อยกว่าหนึง (เมือเปรียบเทียบกับนํ า)
สท

1 : ต ้องแยกตัวจากนํ าและลอยอยูเ่ หนือนํ าเสมอ


2 : มีความหนาแน่นน ้อยกว่านํ า

3 : มีความสามารถในการละลายนํ าน ้อย
วน

4 : เป็ นสารไฮโดรคาร์บอนทีมีมวลโมเลกุลตํา
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 5/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 23 :
ข ้อใดไม่ถกู ต ้องสําหรับสารอินทรียท
์ มี
ี คลอรีน (Chlorine) เป็ นองค์ประกอบอยูม
่ าก

กร
1 : ่ งแวดล
เมือรัวไหลสูส ิ ้อม มักจะคงอยูไ่ ด ้นาน
2 : เมือผ่านกระบวนการเผาทําลาย อาจจะได ้สารกลุม ิ (dioxin) เป็ นผลิตภัณฑ์
่ ไดออกซน

ิ ว
3 : มักจะมีความเป็ นพิษสูง

าวศ
4
สภ : สามารถสะลายนํ าได ้ดี

ข ้อที 24 :
ข ้อใดถูกทีสุดสําหรับสารเคมีกําจัดวัชพืชและแมลง
1 : มักจะมีคลอรีน หรือฟอสเฟตเป็ นองค์ประกอบ
2 : สามารถสลายตัวง่าย ไม่สะสมในสงแวดล ิ ิ ชวี ต
้อม และในสงมี ิ
3 : ั
มักจะไม่เป็ นพิษต่อสตว์เลียงลูกด ้วยนม
4 : มักจะละลายนํ าได ้น ้อย

ข ้อที 25 :
ของผสมในข ้อใดอาจจะเกิดระเบิดหรือติดไฟได ้เองง่ายทีสุด
1 : สว่ นผสมของสารทําละลายอินทรียก์ บ
ั เถ ้าลอย
2 : สว่ นผสมของสารละลายทีมีสารตัวทําละลายอินทรียแ ์ ละกรดอินทรีย ์
3 : สว่ นผสมของสารพวกเปอร์ออกไซด์หรือคลอรีนกับสารทําละลายอินทรีย ์
4 : ถ่านกัมมันต์ทใช ้ ้วในกระบวนการบําบัดสจ
ี แล ี ากนํ าและกรดอินทรียเ์ จือจาง

ข ้อที 26 :
ิ สมควรเพือการลดอันตรายหรือสารพิษเกิดขึน
การกระทําในข ้อใดเป็ นสงที
1: การใชปู้ นขาวเพือทําเสถียรขยะอันตรายประเภทแบตเตอรีรถยนต์ใชแล
้ ้ว
2: การทิงสว่ นผสมของกรดจากกระบวนการกัดแต่งผิวโลหะและเศษผงโลหะไว ้ในภาชนะปิ ดรวม
กัน
3: การทิงสว่ นผสมของสารทําละลายอินทรียจ ิ
์ ากการล ้างชนงานรวมกั
บสารละลายกรด
4: การผสมปูนซเี มนต์กบ
ั สลัดจ์จากกระบวนการตกตะกอนเคมีนําทิงโรงชุบโลหะ
ธิ

ข ้อที 27 :
สท

จากข ้อมูลลักษณะสมบัตท ่ งแวดล


ิ างเคมีกายภาพในตาราง เมือมีการรัวไหลของสารดังกล่าวสูส ิ ้อม

สารใดน่าจะมีการสะสมได ้ดีในดินตะกอนได ้ดีทสุ


ี ดจากมากไปน ้อย ทีสภาวะสมดุล
วน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 6/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
วก
า วศิ
สภ

1 : D>C>B>A
2 : A>B>C>D
3 : A>C>B>D
4 : B>C>A>D

ข ้อที 28 :
สารใดสามารถบ่งชว่ี ามีความเสยงของการปนเปื
ี อนของสารอันตรายจากนํ าทิงโรงงานหลอมแบตเตอรี
1 : ตะกัว
2 : ไซยาไนต์
3 : ยูเรเนียม
4 : แคลเซย ี ม

ข ้อที 29 :
่ ลทีเกิดจากปฏิกริ ย
ข ้อไม่ใชผ ี อันตรายทีปนกันไม่ได ้
ิ าของการผสมกันของของเสย
1 : เกิดระเบิด
2 : เกิดไฟไหม ้
3 : เกิดความร ้อนสูง
4 : เกิดปฏิกริ ย
ิ านิวเคลียร์

ข ้อที 30 :
ธิ

่ ารทีเป็ นก๊าซติดไฟได ้ง่าย


ในการจัดแบ่งประเภทสารอันตราย ข ้อใดไม่ใชส
สท

1 : Propane

2 : Hydrogen
3 : Butadiene
วน

4 : Xenon
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 7/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 31 :
เมือแคลเซย ี มคาร์ไบด์โดนนํ าหรือความชนในบรรยากาศ
ื จะเกิดสารลุกติดไฟได ้ คือสารอะไร

วก
1 : แคลเซยี มไฮดรอกไซด์
2 : อะเซทิลน ี
3 : แคลเซย ี มออกไซด์
4 : คาร์บอนไดออกไซด์
า วศิ
สภ
ข ้อที 32 :
ข ้อใดไม่ใชค่ ณ
ุ สมบัตข ี อันตราย
ิ องกากของเสย
1 : corrosivity
2 : reactivity
3 : degradablility
4 : ignitability

ข ้อที 33 :
ี จากโรงงานประเภทไหน
สารประเภทตัวทําละลายจะพบในกากของเสย
1 : ี จากอุตสาหกรรมพลาสติก
กากของเสย
2 : กากของเสยี จากอุตสาหกรรมใยสงั เคราะห์
3 : กากของเสย ี จากโรงงานอิเล็กโทรนิกส ์
4 : กากของเสย ี จากโรงไฟฟ้ าถ่านหิน

ข ้อที 34 :
แหล่งกําเนิดสําคัญทีสุดของสารไดอ๊อกซน
ิ คือข ้อใด
1 : หลุมฝั งกลบปลอดภัย (Secure Landfill)
2 : เตาเผาขยะ
3 : หลุมฝั งกลบขยะชุมชน (Sanitary landfill)
4 : การหมักปุ๋ย
ธิ

ข ้อที 35 :
ี อันตรายประเภทสารพิษ (Toxicity)
ข ้อใดต่อไปนีจัดเป็ นของเสย
สท

1 : ถังบรรจุกา๊ ซหุงต ้ม

2 : ถังบรรจุกา๊ ซออกซเิ จน
วน

3 : กระป๋ องบรรจุยาฆ่าแมลง
4 : ขวดเครืองดืมแอลกอฮอล์
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 8/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 36 :

รข
่ งแวดล
แหล่งใดทีก่อให ้เกิดการปนเปื อนของแคดเมียมสูส ิ ้อมมากทีสุด
1 : โรงงานผลิตพลาสติก

วก
2 : โรงงานชุบโลหะ
3 : โรงงานผลิตกระดาษ
4 : โรงงานทําแก ้ว

า วศิ
สภ
ข ้อที 37 :
้ นยาฆ่าแมลง
สารเคมีใดทีใชเป็
1 : TNT
2 : PCB
3 : BTEX
4 : DDT

ข ้อที 38 :
ั ผัสสารอันตรายทีมีฤทธิเป็ นกรดสูงควรปฏิบต
ถ ้ามีการสม ่ ไร
ั เิ ชน
1 : ล ้างด ้วยนํ าสบู่
2 : ล ้างด ้วยนํ าสะอาด
3 : ประคบด ้วยนํ าแข็ง
4 : ล ้างด ้วยเบสก่อนเพือปรับสภาพให ้เป็ นกลาง

ข ้อที 39 :
คุณสมบัต ิ carcinogenicity ของสารคือข ้อใด
1 : การติดเชอื
2 : การระคายเคือง
3 : การก่อให ้เกิดมะเร็ง
4 : การกัดกร่อน

ข ้อที 40 :
ธิ

ไดออกซน ิ มีองค์ประกอบของอะไรบ ้าง


สท

1 : C, O, H, P

2 : C, O, H, Cl
3 : C, O, P, Cl
วน

4 : C, O, H, S
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 9/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 41 :
ยาฆ่าแมลงทีมีคลอรีนเป็ นองค์ประกอบ คือสารเคมีกลุม
่ ใด

วก
1 : ออร์กาโนคลอรีน
2 : ออร์กาโนฟอสเฟต
3 : คาร์บาเมต
4 : ไพรีทรอยด์
า วศิ
สภ
ข ้อที 42 :

สารก่อมะเร็งทีมักพบในนํ าประปาทีมีการฆ่าเชอโรคด ้วยสารคลอรีน คือข ้อใด
1 : benzene
2 : dioxin
3 : trichloroethylene
4 : trihalomethane

ข ้อที 43 :
ข ้อใดสามารถวิเคราะห์ได ้ด ้วยเครือง Inductively Coupled Plasma Spectrometer (ICPs)
1 : VOC
2 : Heavy metals
3 : Furan
4 : Dioxin

ข ้อที 44 :
ี จากอุตสาหกรรมชุบโครเมียม มักจะพบสารชนิดใดปนเปื อน
นํ าเสย
1 : Phenol
2 : Cyanide
3 : Dioxin
4 : Toluene
ธิ

ข ้อที 45 :
ี ปนเปื อนด ้วยฟอร์มาดีไฮด์ พบได ้ในแหล่งนํ าเสย
นํ าเสย ี ใด
สท

1 : ี อุตสาหกรรมผลิตนม
นํ าเสย

2 : นํ าเสยี อุตสาหกรรมผลิตแบตเตอรี
วน

3 : นํ าเสย ี โรงพยาบาล
4 : นํ าเสย ี อุตสาหกรรมผลิตแอลกอฮอล์
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 10/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 46 :

รข
ข ้อใดจัดเป็ นสาร Polycyclic Aromatic Hydrocarbons
1 : Pyrene

วก
2 : Benzene
3 : Toluene
4 : Xylene

า วศิ
สภ
ข ้อที 47 :
ข ้อใดเป็ นวิธสี กัดสารอนินทรียอ ์ น
ั ตรายและสารอินทรียอ ์ น
ั ตรายตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง

การกําจัดสงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่
ี ใชแล ้ ้ว (พ.ศ. 2548)
1 : Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP)
2 : Toxicity Characteristic Leaching Procedure (TCLP)
3 : Waste Extraction Test (WET)
4 : Sequencing Extraction Procedure (SEP)

ข ้อที 48 :
ี ทีเกิดจากการวิเคราะห์คา่ ซโี อดี ในห ้องปฏิบต
นํ าเสย ั ก
ิ ารมักจะพบโลหะชนิดใดปนเปื อน
1 : ปรอท แคดเมียม และ เงิน
2 : ปรอท ตะกัว และโครเมียม
3 : ปรอท ตะกัว และเงิน
4 : ปรอท โครเมียม และ เงิน

ข ้อที 49 :
ข ้อใดไม่ใชล่ ก
ั ษณะสมบัตท
ิ จํ ี อันตราย
ี าแนกของเสย
1 : ถูกชะล ้างได ้
2 : ติดไฟง่าย
3 : เกิดปฏิกริ ย
ิ าง่าย
4 : ทําให ้เกิดโรค
ธิ

ข ้อที 50 :
่ ก
สท

ข ้อใดไม่ใชล ั ษณะสมบัตข
ิ องโพลีคลอริเนตเต็ดไบฟี นล
ิ (Poly Chlorinated Biphenyl, PCB)

1 : มีความคงตัวสูง
2 : ละลายนํ าได ้ง่าย
วน

3 : ไวไฟ
4 : ระเหยชา้
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 11/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 51 :
็ ต์
Arochlor 1242 หมายถึงสารทีประกอบด ้วยคลอรีนกีเปอร์เซน
1 : 24

วก
2 : 12
3 : 42
4 : 2

า วศิ
สภ
ข ้อที 52 :
ดีดที (ี DDT) เป็ นยาฆ่าแมลงจําพวกใด
1 : Chlorinated hydrocarbon
2 : Dichlorinated hydrocarbon
3 : Biphenylchlorinated hydrocarbon
4 : Diphenylchlorinated hydrocarbon

ข ้อที 53 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่เป็ นลักษณะสมบัตข ิ
ิ องสงปฏิกล ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วประเภทสารไวไฟ ตามประกาศ
ี ใชแล

กระทรวงอุตสาหกรรม เรือง การกําจัดสงปฏิ กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548
ี ใชแล
1 : เป็ นสารออกซไิ ดเซอร์ (Oxidizer)
2 : ่ องเหลวแต่สามารถลุกเป็ นไฟได ้
เป็ นสารทีไม่ใชข
3 : เป็ นของเหลวทีมีจด ี ส
ุ วาบไฟ (Flash point) ตํากว่า 60 องศาเซลเซย
4 : เป็ นสารกัมมันตรังส ี

ข ้อที 54 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่เป็ นลักษณะสมบัตข ิ
ิ องสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วประเภทสารทีเกิดปฏิกริ ย
ี ใชแล ิ าได ้
ง่าย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง การกําจัดสงปฏิ ิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548
ี ใชแล
1 : ึ อผสมกับนํ า จะทําให ้เกิดมีกา๊ ซพิษ
เป็ นสารซงเมื
2 : ึ าปฏิกริ ย
เป็ นสารซงทํ ิ าอย่างรุนแรงกับนํ า
3 : ึ อถูกทําให ้ร ้อนในทีจํากัดจะก่อให ้เกิดปฏิกริ ย
เป็ นสารซงเมื ิ าระเบิดรุนแรงได ้
4 : เป็ นสารทีระเหยได ้อย่างรวดเร็วและไม่ทําปฏิกริ ย ิ ากับอากาศ
ธิ
สท

ข ้อที 55 :
ข ้อใดเป็ นหน่วยของค่าความเป็ นพิษ LD50 (Lethal Dose 50)

1 : สว่ นในล ้านสว่ น


วน

2 : มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
3 : มิลลิกรัมต่อลิตร
สง

4 : มิลลิกรัม
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 12/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 56 :
ข ้อใดเป็ นหน่วยของค่าความเป็ นพิษ LC50 (Lethal Concentration 50)

วก
1 : สว่ นในล ้านสว่ น
2 : มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
3 : มิลลิกรัมต่อนาที

วศิ
4 : มิลลิกรัมต่อเซลล์

สภ

ข ้อที 57 :
สารโพลีคลอริเนตเต็ดไบฟี นล
ิ (Poly Chlorinated Biphenyl, PCB) สามารถพบได ้ในวัสดุใด
1 : หม ้อแปลงไฟฟ้ า
2 : ้
ก๊าซทีใชในการเช ื
อม
3 : ฉนวนและวัสดุกอ่ สร ้าง
4 : นํ ามันเครือง

ข ้อที 58 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับสารฆ่าแมลงประเภทออร์แกโนคลอรีน (organochlorine)
1 : ดีดท
ี ี และเอนโดซล ั แฟน นับเป็ นสารประเภทนี
2 : ถูกห ้ามจําหน่ายและใช ้ แล ้วในประเทศไทย
3 : สะสมได ้มากในสงมี ิ ชวี ต

4 : มีพษิ ร ้ายแรง แต่ถก
ู ย่อยสลายได ้ง่ายในธรรมชาติ

ข ้อที 59 :
สารในข ้อใดก่อให ้เกิดโรค methemoglobinemia หรือ blue baby ในเด็กทีได ้รับในปริมาณมาก
1 : ตะกัว
2 : ไนเตรท
3 : ปรอท
4 : ั ไฟด์
ซล
ธิ

ข ้อที 60 :
สท

เครืองมือวิเคราะห์ในข ้อใด ใชวิ้ เคราะห์โลหะหนักในตัวอย่างนํ า


1 : X-ray fluorescence spectroscope (XRF)


2 : Atomic absorption spectrophotometer (AAS)
วน

3 : Gas Chromatography (GC)


4 : Environmental Scanning Electron Microscopy (ESEM)
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 13/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 61 :
เครืองมือวิเคราะห์ในข ้อใด ใชวิ้ เคราะห์สารอินทรียร์ ะเหยง่าย

วก
1 : X-ray fluorescence spectroscope (XRF)
2 : Atomic absorption spectrophotometer (AAS)
3 : Gas Chromatography (GC)
4 : Environmental Scanning Electron Microscopy (ESEM)
า วศิ
สภ
ข ้อที 62 :
มลพิษกลุม ่ ใดทีไม่ได ้มีแหล่งกําเนิดมาจาก Anthropogenic source
1 : NOx
2 : SOx
3 : Volatile organic compounds (VOCs)
4 : Radon

ข ้อที 63 :

HA (Hazardous waste – Absolute entry) ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรืองการกําจัดสงปฏิ
กลู
กับวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. ๒๕๔๘ คืออะไร
ี ใชแล

1 : สงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีผู ้ประกอบการสามารถทําการโต ้แย ้งว่าสงปฏิ ิ กล ี ใช ้
ู หรือวัสดุทไม่
แล ้วดังกล่าวไม่เข ้าข่ายเป็ นของเสย ี อันตราย
2 : สงปฏิิ กลู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นสารทีเป็ นอันตรายต่อสุขอนามัยหรือสงแวดลิ ้อม
เพราะมีคณ ุ สมบัตข ิ องความเป็ นสารก่อมะเร็ง สารพิษแบบเฉียบพลัน
3 : สงปฏิ ิ กล ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ึ อถูกทําให ้ร ้อนในทีจํากัดจะก่อให ้เกิด
ุ สมบัตเิ ป็ นสารซงเมื
ปฏิกริ ย ิ าระเบิดรุนแรงได ้
4 : สงปฏิ ิ กล ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ี อันตราย
ุ สมบัตเิ ป็ นของเสย

ข ้อที 64 :

HM (Hazardous waste – Mirror entry) ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรืองการกําจัดสงปฏิ
กลู
กับวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. ๒๕๔๘ คืออะไร
ี ใชแล

1 : สงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นของเสย ี อันตราย
2 : สงปฏิิ กลู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีผู ้ประกอบการสามารถทําการโต ้แย ้งว่าสงปฏิ ิ กล ี ใช ้
ู หรือวัสดุทไม่
แล ้วดังกล่าวไม่เข ้าข่ายเป็ นของเสย ี อันตราย
ธิ

3 : สงปฏิ ิ กล ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ิ


ุ สมบัตเิ ป็ นสารทีเป็ นอันตรายต่อสุขอนามัยหรือสงแวดล ้อม
สท

เพราะมีคณ ุ สมบัตข ิ องความเป็ นสารก่อมะเร็ง สารพิษแบบเฉียบพลัน


4 : สงปฏิ ิ กล ู หรือวัสดุทไม่ี ใชแล ้ ้วทีมีคณ ึ อถูกทําให ้ร ้อนในทีจํากัดจะก่อให ้เกิด


ุ สมบัตเิ ป็ นสารซงเมื
ปฏิกริ ย ิ าระเบิดรุนแรงได ้
วน
สง

ข ้อที 65 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 14/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


คุณสมบัตข ี อันตรายนันสามารถระเหยสูบ
ิ ้อใดสามารถบอกได ้ว่าของเสย ่ รรยากาศได ้

รข
1 : Solubility
2 : Ignitability

วก
3 : Toxicity
4 : Vapor pressure

า วศิ
สภ
ข ้อที 66 :
ถังบรรจุสาร Chlorobenzene (ความหนาแน่น 1.106 กก./ลิตร) มีสารนีอยูใ่ นถัง 30 ลิตร หกรัวลงใน
แหล่งนํ าทีมีปริมาตร 10,000 ลบม. จงคํานวณหาค่าความเข ้มข ้นของสารในแหล่งนํ านี
1 : 3.318 มิลลิกรัมต่อลิตร
2 : 33.18 มิลลิกรัมต่อลิตร
3 : 36.87 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 : 368.67 มิลลิกรัมต่อลิตร

ข ้อที 67 :
ี 200 มก./ลิตร ถ ้านํ าเสย
ความเข ้มข ้นของโครเมียมในนํ าเสย ี มีปริมาตร 30 ลิตร และเกิดการหกปน
เปื อนลงบนดินทีมีนําหนัก 2,000 กก. จงหาความเข ้มข ้นของโครเมียมในดิน
1 : 3.33 มก./กก.
2 : 3.00 มก./ลิตร
3 : 3.33 มก./ลิตร
4 : 3.00 มก./กก.

ข ้อที 68 :
สารใดต่อไปนีเมือปนเปื อนแล ้วมีแนวโน ้มทีจะระเหยได ้ง่ายทีสุด
1 : Methyl isobutyl ketone (Vapor Pressure = 15 mm Hg)
2 : Methyl ethyl ketone (Vapor Pressure = 77.5 mm Hg)
3 : Methyl formate (Vapor Pressure = 476 mm Hg)
4 : Methyl chloride (Vapor Pressure = 3,790 mm Hg)
ธิ

ข ้อที 69 :
ี รืออนุภาคใดต่อไปนีมีความสามารถในการทะลุทะลวงสูงสุด
รังสห
สท

1 : อัลฟ่ า

2 : เบตา
วน

3 : แกมม่า
4 : ซตี ้า
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 15/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 70 :

รข
ึ ผ่านชนดิ
สาร PCB ได ้รัวไหลลงในนํ าใต ้ดิน โดยซม ั น พบว่านํ าใต ้ดินมีสาร PCB 0.2 มก./ล. จงคํานวณ

หาค่าความเข ้มข ้นของสาร PCB ทีถูกดูดซบในดิน กําหนดให ้ดินมีสารอินทรีย ์ 5% และ
ค่า Koc ของ PCB เท่ากับ 5.3x105 มก./ก.

วก
1 : 4,200 มก./กก.
2 : 4,400 มก./กก.
3 : 4,900 มก./กก.
4 า: 5,300
วศิ มก./กก.
สภ

ข ้อที 71 :
ั น
พืนทีในข ้อใดทีเราสามารถตรวจพบสาร BTEX ปนเปื อนในชนดิ
1 : ปั มนํ ามัน
2 : โรงงานผลิตยา
3 : ไร่เกษตรกรรม
4 : โรงงานผลิตนม

ข ้อที 72 :

สารอันตรายทีใชในกระบวนการแต่
งแร่ ในเหมืองทองคํา คือ
1 : สารปรอท
2 : สารตะกัว
3 : สารหนู
4 : ไซยาไนด์

ข ้อที 73 :
ิ าอันดับหนึง 0.02 ต่อวัน สารนีจะมีเวลาครึงชวี ต
สารเคมีชนิดหนึงมีคา่ คงทีอัตราเร็วปฏิกริ ย ิ เป็ นเท่าไร
1 : 15 วัน
2 : 25 วัน
3 : 35 วัน
4 : 45 วัน
ธิ
สท

ข ้อที 74 :
ั ด ้วยดินได ้มากทีสุด
สารในข ้อใดถูกดูดซบ

1 : 2,3,7,8-TCDD (log KOW = 6.64)


วน

2 : Naphthalene (log KOW = 3.36)


3 : Trichloroethylene (log KOW = 2.42)
สง

4 : Benzene (log KOW = 2.13)


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 16/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
วก
ข ้อที 75 :
สารอันตรายทีพบมากในประเทศไทย ซงเป็ ึ นประเทศเกษตรกรรม มักเป็ นพวกสารป้ องกันศต
ั รูพช
ื และ
ั ว์ ข ้อใดต่อไปนีเป็ นกลุม
สต ่ สารอันตรายทีพบมากทีสุด

วศิ
1 : ฟอสเฟต
2 า: อีเทอร์
สภ
3 : ออร์กาโนคลอรีน
4 : ดีดท
ี ี

ข ้อที 76 :
ั ลักษณ์นแสดงของเส
สญ ี ี อันตรายประเภทใด

1 : สารควบคุมอุณหภูม ิ ขณะการขนสง่
2 : สารทีเป็ นก๊าซความดันสูง
3 : สารอันตรายเบ็ดเตล็ด
4 : สารแพร่เชอ ื

ข ้อที 77 :
ั ลักษณ์นแสดงของเส
สญ ี ี อันตรายประเภทใด

1 : poison
2 : toxic
3 : danger
4 : biohazard
ธิ
สท

ข ้อที 78 :
วน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 17/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ั ลักษณ์นแสดงของเส
สญ ี ี อันตรายประเภทใด

รข
วก
1 : poison
2
3
า:
: วศิ
corrosive
explosive
สภ
4 : flammable

ข ้อที 79 :
ี อันตราย เพราะมีลก
นํ ายาทําความสะอาดห ้องนํ าจัดเป็ นของเสย ั ษณะสมบัตใิ นข ้อใด
1 : Corrosivity
2 : Ignitability
3 : Flammability
4 : Explosivity

ข ้อที 80 :
ควรเก็บสารเคมีทเป็
ี นของเหลวและไวไฟด ้วยวิธใี ด
1 : เก็บในตู ้เย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
2 : เก็บในทีมืดและอากาศถ่ายเทได ้ดี
3 : ื
เก็บให ้ห่างจากความชนและความร ้อน
4 : จัดเก็บในขวดสช ี า เพือลดความผลกระทบจากแสงแดด

ข ้อที 81 :
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรือง การกําจัดสงปฏิ ิ กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548 ได ้แบ่ง
ี ใชแล
ประเภทของขยะอันตรายตามลักษณะสมบัตข ิ องสาร (Characteristics-based) ออกเป็ น 5 ประเภท
โดยสารกลุม ่ ทีมีลก
ั ษณะเป็ นสารกัดกร่อน (Corrosive substance) นันจะมีคา่ พีเอชเป็ นอย่างไร
1 : น ้อยกว่า 2 หรือ มากกว่า 11
2 : น ้อยกว่า 4 หรือ มากกว่า 11
3 : น ้อยกว่า 2 หรือ มากกว่า 12.5
ธิ

4 : น ้อยกว่า 4 หรือ มากกว่า 12.5


สท

วน

ข ้อที 82 :
้ องมือชนิดใด
การวิเคราะห์ตวั อย่างแก๊สโซลีนต ้องใชเครื
สง

1 : Gas chromatography
2 : Liquid chromatography
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 18/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : Fluorescence spectroscopy

รข
4 : Infrared spectroscopy

วก
ข ้อที 83 :
สารนิกเกิลคลอไรด์เป็ นสารอันตรายเนืองจากจัดอยูใ่ นประเภทใด
1 า: วศิ
Toxic
สภ
2 : Reactive
3 : Corrosive
4 : Persistent

ข ้อที 84 :
ี าบ ้านทีใชอยู
สท ้ ท สารใดเป็ นองค์ประกอบ ทีเมือเหลือใชจั้ ดเป็ นของเสย
่ วไปมี
ั ี อันตราย
1 : อาร์เซนิก จัดเป็ นของเสย ี อันตราย
2 : ี
ปิ โตรเคมี จัดเป็ นของเสยอันตราย
3 : แอสเบสตอส จัดเป็ นของเสย ี อันตราย
4 : ไซยาไนด์ จัดเป็ นของเสย ี อันตราย

ข ้อที 85 :
ข ้อใดไม่ใชส่ ารอินทรียร์ ะเหยง่ายทีเป็ นสารก่อมะเร็ง (carcinogen)
1 : Trichloroethylene
2 : Vinyl Chloride
3 : Xylene
4 : Haloacetic Acid

ข ้อที 86 :
ข ้อใดคือคุณสมบัตข
ิ องสารทีมีหนาแน่นน ้อยกว่านํ า
1 : ละลายเนือเดียวกันกับนํ าได ้
2 : มีความถ่วงจําเพาะมากกว่าหรือเท่ากับหนึง (เมือเปรียบเทียบกับนํ า)
3 : แยกตัวออกจากนํ า และลอยอยูเ่ หนือผิวนํ า
ธิ

4 : เป็ นสารไฮโดรคาร์บอนทีมีมวลโมเลกุลสูง
สท

วน

ข ้อที 87 :
ข ้อใดไม่ถกู ต ้องสําหรับสารกลุม
่ โลหะหนัก
สง

้ ตสาหกรรมการผลิตพลาสติก ส ี ถ่านไฟฉาย
1 : ถูกนํ าไปใชในอุ
2 : บางชนิดเป็ นธาตุอาหารสําคัญต่อสงมี
ิ ชวี ต

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 19/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : ความเป็ นพิษมีคา่ แปรผันตามค่าเลขออกซเิ ดชน

รข
4 : มีคา่ ความถ่วงจําเพาะตังแต่ 3 ขึนไป

วก
ข ้อที 88 :
ี อันตรายประเภทใด
Butadiene จัดเป็ นของเสย
1 า: วศิ
สารติดไฟง่าย
สารกัมมันตรังส ี
สภ
2 :
3 : สารระเบิดได ้
4 : สารออกซไิ ดซ ์

ข ้อที 89 :
โซเดียมไฮดรอกไซด์ จัดเป็ นสารประเภทใด
1 : ั ผัสกับนํ าแล ้วได ้ก๊าซไวไฟ
สารทีสม
2 : สารกัดกร่อน
3 : สารกัมมันตรังส ี
4 : ของเหลวไวไฟ

ข ้อที 90 :
ข ้อใดไม่ใชข่ องเสย
ี อันตรายทีมักจะพบในโรงพยาบาล
1 : ขยะติดเชอ ื
2 : ี ปนเปื อนด ้วยฟอร์มาลดีไฮด์
นํ าเสย
3 : ขยะทีปนเปื อนสารกัมมันตรังส ี
4 : นํ าเสยี ปนเปื อนด ้วยไนเตรท

ข ้อที 91 :
ข ้อใดไม่ใช ่ คุณสมบัตข
ิ อง Polychlorinated Dibenzodioxins (PCDDs)
1 : เป็ นผลึกไม่มสี ี แต่มก
ี ลินฉุน
2 : ละลายนํ าได ้เล็กน ้อย แต่ละลายได ้ดีในไขมัน
3 : นํ าหนักโมเลกุล เท่ากับ 321.96
ธิ

4 : จุดหลอมเหลว 300 องศาเซลเซย ี ส สลายตัวที 700 องศาเซลเซย


ี ส
สท

วน

ข ้อที 92 :
ื มว่า
หน่วยงานในสหรัฐอเมริกา EPA มีชอเต็
สง

1 : Energy Production Agency


2 : Environmental Protection Agency
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 20/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : Energy Production Agenda

รข
4 : Environmental Protection Agenda

วก
ข ้อที 93 :
สารชนิดใดไม่จัดอยูใ่ นกลุม
่ ยาฆ่าแมลง (Pesticides)
1 า: วศิ
Endrin
สภ
2 : Heptachlor
3 : Lindrane
4 : Cresol

ข ้อที 94 :
ี อันตราย
กฎหมายใดในสหรัฐอเมริกาทีดําเนินการด ้านการควบคุมของเสย
1 : OSHA และ RCRA
2 : CERCLA และ OSHA
3 : USGS และ RCRA
4 : RCRA และ CERCLA

ข ้อที 95 :
ื มว่า
กฎหมายในสหรัฐอเมริกา RCRA มีชอเต็
1 : Recycle Company Resource Agency
2 : Resource Compensation and Recovery Act
3 : Resource Conservation and Recovery Act
4 : Resource Company Recycle Agency

ข ้อที 96 :
ื มว่า
กฎหมายในสหรัฐอเมริกา CERCLA มีชอเต็
1 : Comprehensive Environmental Response, Compensation, and Liability Agency
2 : Comprehensive Environmental Response, Conservation, and Liability Act
3 : Comprehensive Environmental Response, Conservation, and Liability Agency
ธิ

4 : Comprehensive Environmental Response, Compensation, and Liability Act


สท

วน

ข ้อที 97 :
ข ้อใดจัดเป็ นสารอนินทรีย ์ (Inorganic)
สง

1 : Barium
2 : Benzene
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 21/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : Bromoform

รข
4 : Benzidine

วก
เนือหาวิชา : 639 : 2. Toxicology


ข ้อที 98 : วศิ
สภ
ผลจากการได ้รับสารเคมีในข ้อใด เป็ นการเกิดเนืองอกในร่างกายของผู ้ได ้รับสารเคมีนัน
1 : Carcinogenic effect
2 : Mutagenic effect
3 : Teratogenic effect
4 : Immunogenic effect

ข ้อที 99 :
ผลจากการได ้รับสารเคมีในข ้อใด เป็ นการเกิดการกลายพันธุใ์ นเซลล์ในร่างกายของผู ้ได ้รับสารเคมีนัน
1 : Carcinogenic effect
2 : Mutagenic effect
3 : Teratogenic effect
4 : Immunogenic effect

ข ้อที 100 :
ผลจากการได ้รับสารเคมีในข ้อใด เป็ นการเกิดการผิดปกติในตัวอ่อนในร่างกายของผู ้ได ้รับสารเคมีนัน
1 : Carcinogenic effect
2 : Mutagenic effect
3 : Teratogenic effect
4 : Immunogenic effect

ข ้อที 101 :
สารเคมีใดต่อไปนีมีระดับความเป็ นพิษสูงสุด
1 : Malathion (LD50 = 100 มก./กก.)
ธิ

2 : Dieldrin (LD50 = 10.0 มก./กก.)


สท

3 : Dicofol (LD50 = 690 มก./กก.)


4 : Demeton (LD50 = 1.70 มก./กก.)


วน
สง

ข ้อที 102 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 22/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ค่าความเข ้มข ้นของสารเคมีในอากาศทีปลอดภัยสําหรับผู ้ปฏิบต ั งิ านจะได ้รับในระยะเวลาไม่เกิน 8



ชวโมงทํ ั ดาห์คอ
างานติดต่อกันใน 1 วันเป็ นเวลา 5 วันต่อสป ื ข ้อใด

กร
1 : Threshold Limit Value - Short Term Exposure Limit (TLV-STEL)
2 : Threshold Limit Value - Time Weighted Average (TLV-TWA)
3 : Threshold Limit Value - Ceiling Exposure Limit (TLV-C)

ิ ว
4 : Permissible Exposure Limit (PEL)

าวศ
สภ
ข ้อที 103 :
่ วันทีสามารถรับเข ้าสูร่ า่ งกายได ้ไม่วา่ จะเป็ นจากการ
หากพิจารณาถึงระดับความเข ้มข ้นของสารเคมีตอ
กิน หรือการหายใจ โดยไม่ทําอันตรายใดๆกับร่างกาย ต ้องพิจารณาค่าใด
1 : Reference dose (RfD)
2 : Threshold limit value (TLV)
3 : Slope Factor (SF)
4 : Carcinogen class

ข ้อที 104 :

ค่าใดต่อไปนีใชในการหาความเส ี
ยงในการเกิ
ดมะเร็ง
1 : Reference dose (RfD)
2 : Threshold limit value (TLV)
3 : Slope Factor (SF)
4 : Carcinogen class

ข ้อที 105 :
หากพิจารณาตาม carcinogen class ทีจําแนกโดยระบบของ US EPA ของสารต่อไปนี
Bromoform : class B2
1,1,1-Trichloroethane: class D
Chromium(VI) : class A
1,2- Dichlrobenzene: class D
Formaldehyde: class B1
Hexachloroethane: class C
สารใดจัดเป็ นสารทีก่อหรืออาจก่อมะเร็งในมนุษย์
1 : Bromoform, Chromium(VI), 1,2- Dichlrobenzene, Formaldehyde, Hexachloroethane
ธิ

2 : Bromoform, 1,2- Dichlrobenzene, Formaldehyde, Hexachloroethane


3 : Bromoform, Chromium(VI), Formaldehyde
สท

4 : Bromoform, Formaldehyde

วน
สง

ข ้อที 106 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 23/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


คําศพั ท์ใดต่อไปนีทีใชในการเรี
้ ิ ชวี ต
ยก การพบความเข ้มข ้นของสารปนเปื อน ทีสะสมในปลาหรือสงมี ิ


ในนํ าในปริมาณทีสูงกว่าความเข ้มข ้นของสารปนเปื อนในนํ านันเอง

กร
1 : Biomagnification
2 : Bioaugmentation
3 : Biosorption

ิ ว
4 : Biostimulation

าวศ
สภ
ข ้อที 107 :
Chronic Effect คือ
1 : ผลร ้ายรุนแรงทีเกิดขึนต่อสุขภาพอย่างเฉียบพลันอันเกิดจากการได ้รับสารอันตราย
2 : ผลร ้ายทีเกิดขึนต่อสุขภาพจากการได ้รับสารอันตรายเป็ นเวลาต่อเนืองยาวนาน
3 : ผลทีเกิดขึนจากปรากฏการณ์เรือนกระจก
4 : ผลร ้ายทีเกิดกับสุภาพจากการได ้รับสารพิษมากกว่าหนึงชนิด

ข ้อที 108 :
Acute Effect มีความหมายตามข ้อใด
1 : ผลร ้ายรุนแรงทีเกิดขึนต่อสุขภาพอย่างเฉียบพลันอันเกิดจากการได ้รับสารอันตราย
2 : ผลร ้ายทีเกิดขึนต่อสุขภาพจากการได ้รับสารอันตรายเป็ นเวลาต่อเนืองยาวนาน
3 : ผลทีเกิดขึนจากปรากฏการณ์เรือนกระจก
4 : ผลร ้ายทีเกิดกับสุภาพจากการได ้รับสารพิษมากกว่าหนึงชนิด

ข ้อที 109 :
การสูดไอปรอทเข ้าไปทีละน ้อย แต่เป็ นเวลานาน ๆ ทําให ้เกิดผลต่อระบบใด
1 : ระบบทางเดินอาหาร
2 : ระบบประสาท
3 : ระบบทางเดินหายใจ
4 : ระบบขับถ่าย

ข ้อที 110 :
ธิ

ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้องทีสุดเกียวกับค่า LC50


สท

1 : ค่าความเข ้มข ้นของสารเคมีในอากาศทีทําให ้สต ั ว์ทดลองเสย ี ชวี ต ิ ไปเป็ นจํานวนครึงหนึงในกลุม



ทีทําการทดลอง

2 : ปริมาณของสารเคมีซงเมื ึ อสต
ั ว์ทใช ้
ี ในการทดลองได ้รับเข ้าสูร่ า่ งกายเพียงครังเดียว แล ้วทําให ้
วน

ั ว์เสย
สต ี ชวี ต
ิ ไปเป็ นจํานวนครึงหนึงในกลุม ่ ทีทําการทดลอง
3 : ค่าความเข ้มข ้นของสารเคมีในอากาศทีปลอดภัยสําหรับผู ้ปฏิบต ั งิ านจะได ้รับในระยะเวลาไม่เกิน

50 ชวโมงทํ างานต่อสป ั ดาห์
สง

4 : ค่าความดังของเสยง ทีปลอดภัยสําหรับผู ้ปฏิบต


ี ั งิ านจะได ้รับในระยะเวลาไม่เกิน 50 ชวโมง ั
ทํางานต่อสป ั ดาห์
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 24/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 111 :

ิ ว
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องทีสุดเกียวกับค่า No Observed Adverse Effect Level (NOAEL)

าวศ
1 : ความเข ้มข ้นในอากาศ ทีตําทีสุดทีทําให ้สต ั ว์ทดลองเริมเสย ี ชวี ต

2 : ปริมาณของสารเคมีทมากที
ี สุดทีสต ั ว์ทดลองรับได ้แล ้ว ไม่ทําให ้เกิดความเป็ นพิษหรือผลเสย

3 : ปริมาณของสารเคมีทน ี ้อยทีสุด ซงไดึ ้รับทุกวันแล ้วทําให ้เกิดการเปลียนแปลงของร่างกายอย่าง
สภ
ใดอย่างหนึงขึน
4 : ปริมาณของสารเคมีทผู ี ้ปฏิบต
ั งิ านจะสม ั ผัสกับสารเคมีได ้อย่างปลอดภัย

ข ้อที 112 :
ข ้อใดไม่ใชป่ ั จจัยทีสําคัญทีมีผลต่อร่างกายมนุษย์เนืองจากสารพิษเข ้าสูร่ า่ งกาย
1 : อายุ
2 : นํ าหนัก
3 : สญ ั ชาติ
4 : เพศ

ข ้อที 113 :
โรคอิไต-อิไต (Itai-itai disease) เกิดจากการได ้รับสารใด
1 : แคดเมียม (Cadmium: Cd)
2 : สารหนู (Arsenic: As)
3 : ปรอท (Mercury: Hg)
4 : ตะกัว (Lead: Pb)

ข ้อที 114 :
โรคมินามาตะ (Minamata disease) เกิดจากการได ้รับสารใด
1 : แคดเมียม (Cadmium: Cd)
2 : สารหนู (Arsenic: As)
3 : ปรอท (Mercury: Hg)
4 : ตะกัว (Lead: Pb)
ธิ
สท

ข ้อที 115 :
วน

่ ลกระทบต่อสุขภาพจากของเสย
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใชผ ี อันตราย
1 : สารบางชนิดก่อให ้เกิดการเปลียนแปลงทางพันธุกรรม
สง

2 : สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ เชน ่ การเกิดโรคภัยไข ้เจ็บอันเนืองมาจากโลหะหนัก


3 : ทําให ้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 25/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


่ การล ้มทับของถังเก็บสารเคมีอน
4 : ทําให ้กระดูกหัก เชน ั ตราย


กร
ิ ว
ข ้อที 116 :

าวศ
สารใดทีทําให ้เกิดโรค Beryllicosis
1 : นิกเกิล
2 : ลิเทียม
สภ
3 : โบรมีน
4 : เบริลเลียม

ข ้อที 117 :
จงคํานวณเวลาครึงชวี ติ (Half life) ของเมทิลเมอคิวรี ในร่างกายของคนทีได ้รับ โดยการสลายตัวของ
เมทิลเมอคิวรีเป็ นไปตามปฏิกริ ย
ิ าอันดับ 1 โดยมีคา่ คงทีเท่ากับ 0.0175 ต่อวัน
1 : 56 วัน
2 : 39.6 วัน
3 : 2 วัน
4 : 0.03 วัน

ข ้อที 118 :
ความเป็ นพิษ (Toxicity) ของสารใดๆ ต่อร่างกายมนุษย์ ไม่ขนกั
ึ บข ้อใด
1 : ้
เสนทางการได ้รับ
2 : ปริมาณทีได ้รับ
3 : สมบัตข
ิ องสาร
4 : อุณหภูมขิ องร่างกาย

ข ้อที 119 :
ค่า TLV (Threshold Limit Values) เป็ นค่าทีกําหนดระดับการได ้รับการได ้รับสารอันตรายในทางใด
1 : การกิน
2 : ั ผัสทางผิวหนัง
การสม
3 : การหายใจ
ธิ

4 : การมองเห็น
สท

วน

ข ้อที 120 :
ไซยาไนด์กอ ่ ให ้เกิดพิษแบบเฉียบพลันต่อร่างกายแบบใด
สง

1 : หายใจติดขัด ชกั และหมดสติ


2 : ปวดศรี ษะ เหนือยล ้าเสย
ี งดังในหู ระคายเคืองตาและทางเดินหายใจ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 26/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี จรอ่อนและเต ้นไม่สมําเสมอ ชก
3 : อาเจียน ปอดบวมนํ า วิงเวียน ชพ ั


4 : เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร ลําไส ้ คลืนไสอาเจี
้ ยน และท ้องร่วง

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 121 :
ถ ้าชายผู ้หนึงมีนําหนักตัว 70 กก. รับประทานปลาโดยเฉลีย 6.5 กรัมต่อวัน ปลาทีรับประทานนีถูกจับ
มาจากแหล่งนํ าทีปนเปื อนด ้วยไตรคลอโรเอธิลน ี (TCE) ทีมีความเข ้มข ้น 100 ppb ถ ้าค่า
bioconcentration factor (BCF) ของ TCE มีคา่ เป็ น 10.6 ลิตรต่อกก. ค่า Chronic daily intake
สภ
(CDI) มีคา่ เป็ นเท่าไร
1 : 6.9 มก./กก./วัน
2 : 0.0069 มก./กก./วัน
3 : 9.8 มก./กก./วัน
4 : 0.000098 มก./กก./วัน

ข ้อที 122 :
ค่า LD50 ของ Mercury(II) chloride มีคา่ เท่ากับ 41 มก./กก. จงคํานวณหาค่าทีจะไม่กอ
่ ให ้เกิด
อันตราย ต่อผู ้ใหญ่ทมี
ี นําหนักตัว 80 กก.
1 : 3.28 กรัม
2 : 2.66 กรัม
3 : 2.84 กรัม
4 : 3.01 กรัม

ข ้อที 123 :
ระดับของเครืองป้ องกันภัยสว่ นบุคคล ตามข ้อกําหนดของ US EPA ทีมก
ี ารป้ องกันสูงสุด มีทางผิวหนัง
ระบบการหายใจ และตา คือระดับในข ้อใด
1 : A
2 : B
3 : C
4 : D

ข ้อที 124 :
ธิ

ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการปฐมพยาบาลผู ้ป่ วยทีกลืนกินกรดไฮโดรคลอริก


สท

1 : ห ้ามทําให ้อาเจียนโดยเด็ดขาด

2 : ใชนํ้ ายาบ ้วนปาก ถ ้าผู ้ป่ วยยังมีสติ


วน

3 : กระตุ ้นให ้อาเจียนทันที


4 : ให ้ดืมนม ถ ้าผู ้ป่ วยยังมีสติ
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 27/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 125 :


ข ้อใดไม่เกียวข ้องกับเอกสารข ้อมูลความปลอดภัยสารเคมี หรือ SDS (Safety Data Sheet)

กร
1 : ควรจัดให ้มีไว ้ในบริเวณปฏิบต ั งิ านใชอ้ ้างอิงได ้
ั งิ านเพือให ้ผู ้ปฏิบต
2 : มีข ้อมูลเกียวกับลักษณะของสารหรือวัตถุอน ั ตราย
3 : มีข ้อมูลของอาการทีเกิดขึนเมือสารพิษเข ้าสูร่ า่ งกาย

ิ ว
4 : ผู ้ปฏิบต ่ ้อมูลก่อนการใชงานสารเคมี
ั งิ านจําเป็ นต ้องใสข ้

าวศ
สภ
ข ้อที 126 :
ข ้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของเอกสารข ้อมูลความปลอดภัยสารเคมี หรือ SDS (Safety Data Sheet)
1 : ข ้อมูลสว่ นบุคคลทีเกียวกับผู ้ใชงานสารเคมี

2 : ข ้อมูลเกียวกับการกําจัด
3 : ข ้อมูลเกียวกับมาตรการปฐมพยาบาล
4 : ข ้อมูลเกียวกับพิษวิทยา

ข ้อที 127 :
ข ้อใด ไม่ใช่ ข ้อควรปฏิบต ี อันตราย
ั ใิ นการเก็บรวบรวมของเสย
1 : แยกการเก็บสารเคมีตามประเภทอันตราย
2 : ใชตู้ ้ดูดควัน เป็ นทีเก็บรวบรวมสารเคมี
3 : สารเคมีไวไฟ ควรเก็บให ้ห่างจากประกายไฟ
4 : บันทึกชนิดและปริมาณของเสย ี ทีเกิดขึน

ข ้อที 128 :
Acute toxicity test ไม่รวม ถึงการทดสอบใด
1 : การประมาณค่า LD50
2 : การทดสอบ eye limitation
3 : การประเมินผล skin irritation
4 : การประเมินฤทธิ ก่อกลายพันธ์

ข ้อที 129 :
ธิ

การทดสอบพิษทางพันธุกรรม คือข ้อใด


สท

1 : Ames Test
2 : Draize test

3 : LD50 test
วน

4 : TEA test
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 28/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 130 :
ข ้อใดไม่ใชโ่ รคทีเกิดจากพิษของโลหะหนัก

กร
1 : โรคไข ้ดํา
2 : โรคไข ้ดําโรคอิไต – อิไต

ิ ว
3 : โรคมินามะตะ

าวศ
4
สภ : โรคเด็กตัวเขียว (Blue Baby)

ข ้อที 131 :
ศาลปกครองสูงสุดก็ได ้มีคําพิพากษาให ้กรมควบคุมมลพิษ จ่ายค่าเสย ี หายชดเชยให ้แก่ประชาชนใน
หมูค่ ลิตล่
ี าง อําเภอทองผาภูม ิ จังหวัดกาญจนบุรี ทีได ้รับผลกระทบจากสารตะกัว โดยประชาชนใน
พืนทีมีลก ั ษณะอาการเจ็บป่ วยเชน ่ ไร
1 : อาการพิษทางประสาท และสมอง ทําให ้ทรงตัวไม่อยู่ เกิดอาการประสาทหลอน ซม ึ ไม่รู ้สก
ึ ตัว
ชกั มือและเท ้าตก เป็ นอัมพาต
2:
ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร ลําไส ้ คลืนไสอาเจี ้ ยน และท ้องร่วง ในกรณีทอาการรุ
ี นแรงอุจจาระ
อาจมีเลือดปน อ่อนเพลีย ชอ ็ กและเสย ี ชวี ต

3 : ไอและปวดศรี ษะอย่างรุนแรง ต่อมาจะมีอาการเป็ นไข ้ หายใจอึดอัด ต่อมาปากจะเปื อยเป็ นแผล
อักเสบ
4 : คลืนไส ้ วิงเวียน อ่อนเพลีย กล ้ามเนือกระตุก ม่านตาหรีเล็กลง นํ าลายฟูมปาก อุจจาระปั สสาวะ
ราด ชก ั หายใจลําบาก และหมดสติ

ข ้อที 132 :
ี ารกิน (oral route) สําหรับมนุษย์ ข ้อใดเรียงลําดับจากความเป็ นพิษมากไป
จากค่า LD50 ให ้โดยวิธก
น ้อยได ้ถูกต ้อง
สารพิษ Lethal dose

Aspirin (Salicylic acid) 0.2-0.5 g/kg

DDT (Dichlorodiphenyl trichloroethane ) 0.4 mg/kg

Malathion 1375 mg/kg

Parathion 3 mg/kg

1 : Aspirin > DDT> Parathion > Malathion


ธิ

2 : DDT> Parathion > Malathion > Aspirin


3 : Aspirin > Malathion > Parathion > DDT
สท

4 : Aspirin > DDT> Malathion > Parathion



วน
สง

ข ้อที 133 :
ข ้อใดไม่ใช ่ การจําแนกความเป็ นอันตราย (Hazard classification) ตาม ประกาศกระทรวง

อุตสาหกรรม เรือง ระบบการจําแนกและการสอสารความเป็ นอันตรายของวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2555
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 29/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : ความเป็ นอันตรายทางกายภาพ (Physical hazards)


2 : ความเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ (Health hazards)
3 : ิ
ความเป็ นอันตรายต่อสงแวดล ้อม (Environmental hazards)

กร
4 : ความเป็ นอันตรายต่อการเกิดเพลิงไหม ้ (Fire hazards)

ิ ว
าวศ
ข ้อที 134 :
Additive effect คือข ้อใด
สภ
1 : การตอบสนองต่อการเกิดพิษของสารพิษทีทําให ้เกิดพิษไปในทิศทางเดียวกัน การตอบสนอง
จะเป็ นผลรวมของการเกิดพิษของสารพิษแต่ละชนิด

2 : การตอบสนองต่อการเกิดพิษจากสารพิษชนิดหนึงซงปกติ ไม่เป็ นพิษต่ออวัยวะเป้ าหมาย แต่
สามารถเพิมการทําลาย หรือเป็ นพิษต่ออวัยวะนันโดยสารพิษอีกชนิดหนึงมากขึนเมือให ้เข ้าไป
พร ้อมกัน
3 : การทีสารพิษชนิดหนึงสามารถไปยับยังการเกิดพิษจากสารพิษอีกชนิดหนึงได ้ สารพิษดังกล่าว

ถูกนํ าไปใชในการแก ้พิษ
4 : การตอบสนองต่อการเกิดพิษทีเกิดขึนจากสารสองชนิด เป็ นอิสระต่อกัน

ข ้อที 135 :
ประชาชนในพืนทีร่อนพิบล
ู ย์ ทีดืมนํ าบาดาลปนเปื อนสารหนู มีอาการของพิษสารหนู (Arsenic: As)
อย่างไร
1:
ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร ลําไส ้ คลืนไสอาเจี
้ ยน และท ้องร่วง ในกรณีทอาการรุ
ี นแรงอุจจาระ
อาจมีเลือดปน อ่อนเพลีย ชอ ็ กและเสย
ี ชวี ต

2 : อ่อนเพลีย เบืออาหาร คลืนไส ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ ตับอาจถูกทําลาย เกิดการเปลียนส ี

ของผิวหนัง ทําให ้หนังด ้าน อาการนูนบวมแข็ง เกิดความผิดปกติของระบบขับเหงือและทําให ้เกิด
เนือตายบริเวณนิว
3 : มีอาการระบบประสาทกล ้ามเนือ มีอาการสนกระตุั กของกล ้ามเนือ เปลือกตาริมฝี ปาก ลิน และ
นิวมือเป็ นพักๆ
4 : ไอและปวดศรี ษะอย่างรุนแรง ต่อมาจะมีอาการเป็ นไข ้ หายใจอึดอัด ต่อมาปากจะเปื อยเป็ นแผล
อักเสบ

ข ้อที 136 :
สารหนู หรือ Arsenic มีคา่ No Observed Adverse Effect Level (NOAEL) ในหนูทดลองเท่ากับ
0.008 มก./กก./วัน
ธิ

หากกําหนดให ้ค่า safety factor = 100 เมือขนาดทีเหมาะสมทีประชาชนในพืนทีปนเปื อนด ้วยสารหนู


สท

ทีมีนําหนักตัว 50 กก. สามารถรับประทานได ้ในแต่ละวัน(Acceptable daily intake, ADI) ไม่ควรเกิน


เท่าใด
1 : 40 มก.
วน

2 : 4 มก.
3 : 0.04 มก.
สง

4 : 0.004 มก.
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 30/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 137 :

กร
ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง สําหรับ MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)
1 : ควรจัดให ้มีไว ้ในบริเวณปฏิบต ั งิ านใชอ้ ้างอิงได ้
ั งิ านเพือให ้ผู ้ปฏิบต

ิ ว
2 : มีข ้อมูลเกียวกับลักษณะของสารหรือวัตถุอน ั ตราย

าวศ
3 : มีข ้อมูลของอาการทีเกิดขึนเมือสารพิษเข ้าสูร่ า่ งกาย
4 : ถูกทุกข ้อ
สภ

เนือหาวิชา : 640 : 3. Treatment Processes

ข ้อที 138 :
่ ั จจัยของการเผาไหม ้ ในเตาเผาขยะอันตราย
ข ้อใดมิใชป
1 : เวลา (Time)
2 : สภาพความร ้อน (Thermal condition)
3 : ความปั นป่ วน (Turbulence)
4 : อุณหภูม ิ (Temperature)

ข ้อที 139 :
่ ารออกซไิ ดสท
สารในข ้อใดไม่ใชส ์ ใช ้
ี ในการบํ ี อันตราย
าบัดของเสย
1 : โอโซน
2 : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
3 : แคดเมียมคลอไรด์
4 : คลอรีน

ข ้อที 140 :
ข ้อใดไม่ใชต่ ะกอนผลึกอนินทรียท
์ เกิ
ี ดจากกระบวนการตกตะกอน(precipitation)
1 : hydroxides
2 : silicates
3 : glaciate
4 : carbonates
ธิ
สท

ข ้อที 141 :
วน

ข ้อพิจารณาในการเลือกใชวิ้ ธก ี อันตรายข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง


ี ารในการบําบัดและกําจัดของเสย
1 : ของเสย ี อันตรายทีมีคลอรีนเป็ นสว่ นประกอบ ควรนํ าไปบําบัดด ้วยวิธกี ารย่อยสลายทางชวี ภาพ
สง

2 : ของเสย ี อันตรายทีมีโครงสร ้างมีกงก


ิ ้านสาขาของสารอินทรียม์ าก สามารถย่อยสลายทางชวี ภาพ
ได ้ดีกว่าของเสย ี อันตรายทีมีโครงสร ้างมีกงก
ิ ้านสาขาของสารอินทรียน ์ ้อยๆ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 31/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : ของเสย ี อันตรายทีเป็ นสารประกอบ aromatic สามารถย่อยสลายได ้ยากกว่าสารประกอบ


อินทรียใ์ นกลุม่ aliphatic
4 : ของเสย ี อันตรายกลุม่ ของสารอินทรียท ี โพลีเมอร์เป็ นสว่ นประกอบ จะย่อยสลายทางชวี ภาพได ้
์ มี

กร
ดี

ิ ว
าวศ
ข ้อที 142 :
สารอันตรายชนิดใดต่อไปนีมีแนวโน ้มทีจะย่อยสลายทางชวี ภาพได ้ดีทสุ
ี ด
สภ
ี (C6H5NO2)
1 : ไนโตรเบนซน
2 : เอทานอล (C2H5OH)
3 : คลอโรฟอร์ม (CHCl3)
ิ (C6H5Cl)
4 : คลอโรเบนซน

ข ้อที 143 :
สารอันตรายใดต่อไปนีมีแนวโน ้มทีจะกําจัดด ้วยวิธ ี reduction ได ้ดีทสุ
ี ด
1 : CH3Cl
2 : CH2Cl2
3 : CHCl3
4 : CCl4

ข ้อที 144 :
สาร Pyrene มีลก
ั ษณะสมบัตต ิ อ่ ไปนี Structure: poly aromatic hydrocarbon (4 benzene rings),
log Kow = 5.32, KOH = 1x1010 M-1sec-1, ค่า H = 1.87x10-5 atm·m3/mole จงหาว่าในการ
ี วิธก
บําบัดสารนีออกจากนํ าเสย ิ ธิภาพตําทีสุด
ี ารใดมีแนวโน ้มให ้ประสท
1 : UV/ozone oxidation
2 : sorption by activated carbon
3 : membrane filtration
4 : air stripping
ธิ
สท

ข ้อที 145 :
สาร Carbon tetrachloride มีลกั ษณะสมบัตต ิ อ
่ ไปนี Structure: aliphatic hydrocarbon with 4

chlorines, log Kow = 2.73, KOH < 2x106 M-1sec-1, ค่า H' = 1.24 จงหาว่าในการบําบัดสารนี
วน

ออกจากนํ าเสยี วิธก ิ ธิภาพสูงทีสุด


ี ารใดมีแนวโน ้มให ้ประสท
1 : UV/ozone oxidation
สง

2 : sorption by activated carbon


3 : aerobic biodegradation
4 : air stripping
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 32/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 146 :

ิ ว
ี มีสาร Toluene และ 2,4 dichlorophenol ผสมอยูใ่ นนํ าเสย
ถ ้าในนํ าเสย ี เดียวกัน ควรจะบําบัดด ้วยวิธ ี

าวศ
การใด โดยพิจารณาจากลักษณะสมบัตข ิ องสารแต่ละชนิด คือ
Toluene : log Kow = 2.58, KOH = 3x109 M-1sec-1, ค่า H’ = 0.275
2,4 dichlorophenol: log Kow = 3.08, KOH = 4x109 M-1sec-1,H’ = 2.7x10-4
สภ
1 : air stripping
2 : UV/ozone oxidation
3 : activated carbon
4 : aerobic biodegradation

ข ้อที 147 :
Off-Site Treatment หมายถึงข ้อใด
1 : ี อันตรายทีใชเทคโนโลยี
การบําบัดของเสย ้ ทลํ
ี ายุค
2 : การบําบัดของเสยี อันตรายในโรงบําบัดทีปิ ดมิดชด ิ เพือกันการรัวไหลของสารอันตราย
3 : การบําบัดของเสย ี นอกพืนทีทีเป็ นแหล่งกําเนิดของเสย ี นัน
4 : ี
การบําบัดของเสยอันตรายทีไม่ได ้มาตรฐานและผิดกฎหมาย

ข ้อที 148 :

สารทีใชในการตกผลึ ี คือข ้อใด
กตะกอนของโครเมียมในนํ าเสย
1 : ั เฟอร์ไดออกไซด์ และปูนขาว
ซล
2 : สารสม้ และ ปูนขาว
3 : ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ และสารสม้
4 : สารสม้ และ เฟอร์รก
ิ ไดออกไซด์

ข ้อที 149 :
การบําบัดของเสย ี จากโรงงานชุบโลหะทีมีไซยาไนด์เจือปน ด ้วยการเติมสารละลายไฮโปคลอไรท์
เป็ นการบําบัดด ้วยวิธใี ด
1 : Neutralization
ธิ

2 : Coagulation
สท

3 : Oxidation
4 : Reduction

วน
สง

ข ้อที 150 :
่ ารบําบัดทางเคมี
การบําบัดวิธใี ด ทีไม่ใชก
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 33/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : Oxidation


2 : Precipitation
3 : Reverse Osmosis

กร
4 : Reduction

ิ ว
าวศ
ข ้อที 151 :
SDS –Safety Data Sheet คือข ้อใด
สภ
1 : เอกสารทีใชกํ้ ากับเพือติดตามการเกิด การขนสง่ และ การกําจัดของเสยี อันตราย
2 : ้
เอกสารบันทึกการใชสารอั นตราย เพือให ้เกิดความปลอดภัยในการใช ้
3 : เอกสารบันทึกการใชสารอั ้ นตราย เพือให ้เกิดความปลอดภัยในการใช ้
4 : การติดตามดูแลการจัดเก็บของเสย ี อันตรายของโรงงาน โดยภาครัฐ

ข ้อที 152 :
ให ้เรียงลําดับแนวคิดในการจัดการของเสย ี อันตรายต่อไปนี โดยเรียงจากทีพึงประสงค์มากทีสุดลงไป
1) การแลกเปลียน หรือขาย ให ้เป็ นวัตถุดบิ สําหรับโรงงานอืน 2) การเผาเพือนํ าพลังงานความร ้อน
และ/หรือ ไฟฟ้ ามาใช ้ 3) การแยก และลดปริมาณของเสย ี ทีเกิดขึน 4) การบําบัด 5) รีไซเคิลเพือใช ้

ซาในกระบานการผลิต 6) การลดการเกิด 7) การกําจัด
1 : 3), 1), 2), 5), 4), 6), 7)
2 : 6), 3), 4), 5), 2), 1),7)
3 : 6), 1), 3), 5), 4), 2), 7)
4 : 6), 3), 5), 1), 2), 4), 7)

ข ้อที 153 :
นํ าปนเปื อนด ้วย Benzene จะต ้องได ้รับการบําบัดจนความเข ้มข ้นลดลงจาก 200 ไมโครกรัมต่อลิตร
เหลือ 0.02 ไมโครกรัมต่อลิตร ในถังปฏิกริ ย ิ าไหลแบบกวนสมบูรณ์ โดยให ้ทําปฏิกริ ย ิ ากับ UV/Ozone
ถ ้าความเข ้มข ้นของ oxidant มีคา่ คงที โดยมีผลคูณค่าคงทีอัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าและความเข ้มข ้น
ของoxidant (k’) เป็ น 0.05 ต่อวินาที จงใชสู้ ตรทีให ้คํานวณเวลากักพักของถังปฏิกริ ยิ านี
ธิ
สท

วน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 34/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : 3 นาที

รข
2 : 8 นาที
3 : 22 นาที
4 : 33 นาที

วก
5 :


ข ้อที 154 : วศิ
สภ
ข ้อใดเป็ นระบบทีไม่เหมาะสมในการกําจัดสารอินทรียร์ ะเหยออกจากนํ า
1 : Air Stripping
2 : Activated Carbon Adsoprtion
3 : Chemical Oxidation
4 : Naturalization

ข ้อที 155 :
สารเคมีใดไม่เกียวข ้องกับปฏิกริ ย
ิ า Oxidation
1 : Ozone
2 : Hydrogen Peroxide
3 : Hydroxide ion
4 : Permanganate

ข ้อที 156 :
ิ ธิภาพและง่ายทีสุดในการบําบัดนํ าเสย
ข ้อใดเป็ นเป็ นกระบวนการหลักทีมีประสท ี ทีมีโลหะหนักปนเปื อน
อยูท่ ความเข
ี ้มข ้นสูงๆ
1 : Biological Process
2 : Filtration
3 : Reverse Osmosis
4 : Precipitation

ข ้อที 157 :
ข ้อใดเป็ นข ้อจํากัดของระบบ Air Stripping
ธิ

1 : เป็ นระบบทีมีขนาดใหญ่
สท

2 : ไม่สามารถใชกํ้ าจัดสารอินทรียร์ ะเหย


3 : อาจจะมีการสะสมของจุลชพ ี และตะกรันในระบบ
4 : ิ ธิภาพ
ไม่สามารถกําจัดสารอินทรียไ์ ด ้อย่างมีประสท
วน
สง

ข ้อที 158 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 35/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี อันตรายใดทีสามารถกําจัดด ้วยวิธไี ล่ด ้วยอากาศ
ของเสย

รข
1 : พวกตัวทําละลาย
2 : พวกโลหะหนัก

วก
3 : พวกกรด-ด่าง
4 : พวกสารกัมมันตภาพรังส ี

า วศิ
สภ
ข ้อที 159 :
ิ ผันกลับไม่ควรนํ ามาใชกํ้ าจัดสารในกลุม
การกรองแบบออสโมซส ่ ใด
1 : กําจัดสารอินทรียร์ ะเหย
2 : กําจัดของแข็งแขวนลอย
3 : กําจัดสารอนินทรียล ์ ะลาย
4 : กําจัดสารอินทรียล ์ ะลาย

ข ้อที 160 :
ข ้อใดผิดเกียวกับการย่อยสลายทางชวี ภาพ
1 : สารทีมีการแตกแขนงจะย่อยสลายยาก
2 : Aromatic จะย่อยสลายยากกว่า Aliphatic
3 : Aliphatic แบบโซย่ าวแนวเดียวจะย่อยสลายยาก
4 : Aromatic ทีมี Halogen เกาะจะย่อยสลายยาก

ข ้อที 161 :
ี จากแหล่งกําเนิดใดต่อไปนี ทีอาจจะบําบัดด ้วยระบบบําบัดทางชวี ภาพได ้
นํ าเสย
1 : นํ าทิงจากโรงพิมพ์
2 : นํ าทิงจากโรงพยาบาล
3 : นํ าทิงจากโรงงานแบตเตอรี
4 : นํ าทิงจากเหมืองแร่

ข ้อที 162 :
การบําบัดโดยกองดินไม่เหมาะสมกับกรณีใด
ธิ

1 : ดินปนเปื อนทีมีสารอินทรียน
์ ้อย
สท

2 : ดินปนเปื อนด ้วยสารฟี นอล นํ ามันดินจากถ่านหิน


3 : บริเวณพืนทีลุม่

4 : พืนทีทีไกลจากแหล่งนํ าชุมชน
วน
สง

ข ้อที 163 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 36/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี อันตรายทางกายภาพ (Physical Treatment)
ข ้อใดต่อไปนีจัดเป็ นการบําบัดของเสย

รข
1 : การดูดซบั ด ้วยคาร์บอน
2 : การย่อยสลายแบบ aerobic

วก
3 : การเผา
4 : การทํา Precipitation

า วศิ
สภ
ข ้อที 164 :
ี อันตรายทางเคมี (Chemical Treatment)
ข ้อใดต่อไปนีจัดเป็ นการบําบัดของเสย
1 : การกรอง
2 : การทําสะเทินกรดด่าง (Neutralization)
3 : การหมักทําปุ๋ย
4 : การเหวียงด ้วยแรงหนีศน
ู ย์กลาง

ข ้อที 165 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารกําจัดขยะอันตราย
1 : การปรับเสถียรและการฝั งกลบ
2 : การหมักทําปุ๋ย
3 : การเผาทําลายด ้วยเตาเผาปูนซเี มนต์
4 : ี ชุบโลหะ
การบําบัดนํ าเสย

ข ้อที 166 :
โดยปกติแล ้วเตาเผาขยะพิษหรือขยะอันตรายจะต ้องมีอณ
ุ หภูมไิ ม่ตํากว่าเท่าใด
1 : ี ส
500 องศาเซลเซย
2 : 800 องศาเซลเซยี ส
3 : 1500 องศาเซลเซย ี ส
4 : 2000 องศาเซลเซย ี ส

ข ้อที 167 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก ื
ี ารกําจัดมูลฝอยติดเชอตามกฎกระทรวงสาธารณสุ ื
ขว่าด ้วยการกําจัดมูลฝอยติดเชอ
ธิ

พ.ศ. 2545
สท

1 : ื ้วยสารเคมี (Chemical Disinfection)


การทําลายเชอด
2 : เตาเผา (Incineration)

3 : การทําลายเชอดื ้วยไอนํ า (Steam Sterilization / Autoclaving)


วน

4 : การทําลายเชอด ื ้วยแรงดัน (Pressure Sterilization)


สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 37/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 168 :
ข ้อใดเป็ นการกําจัดขยะอันตรายทีไม่ควรกระทํามากทีสุด

วก
1 : เผากลางแจ ้ง
2 : เผาในเตาเผาโรงปูนซเี มนต์
3 : การฝั งกลบแบบ Secure Landfill
4 : เผาในเตาเผาแบบ Multiple-chamber incinerators
า วศิ
สภ
ข ้อที 169 :
่ ้อดีของการกําจัดขยะอันตรายด ้วยเตาเผา
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใชข
1 : ประหยัดพืนที
2 : ลดมลพิษ
3 : ค่าใชจ่้ ายตํา
4 : ได ้พลังงานทดแทน

ข ้อที 170 :
ของเสย ี อันตรายในข ้อใดต่อไปนีทีสามารถทําการกําจัดด ้วยวิธไี ล่ด ้วยอากาศ
1 : กลุม
่ สารกัดกร่อน
2 : กลุม่ สารกัมมันตภาพรังส ี
3 : กลุม ่ ตัวทําละลาย
4 : กลุม ่ โลหะหนัก

ข ้อที 171 :
กระบวนการหลังการเผาโดยเตาเผา (Incinerator) เศษเถ ้าทีเหลือต่างๆจากกระบวนการเผาควรมีการ
จัดการอย่างไร
1 : ฝั งกลบลงในดิน
2 : ฝั งกลบอย่างปลอดภัย
3 : ี าว
เผาอีกครังจนได ้เถ ้าสข
4 : นํ าไปผ่านนํ ากลัน
ธิ

ข ้อที 172 :
สท

การทําลายเชอดื ้วยสารเคมีในมูลฝอยติดเชอควรราดด
ื ้วยสารใด

1 : Sodium Hydroxide
วน

2 : Sodium Hypochloride
3 : Ammonium Hydroxide
4 : Ammonium Hypochloride
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 38/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 173 :
่ ป
อุปกรณ์ในข ้อใดไม่ใชอ ุ กรณ์ในระบบ Air pollution control ของเตาเผาขยะอันตราย

วก
1 : electrostatic precipitator
2 : scrubber
3 : air sparking
4 : fabric filter
า วศิ
สภ
ข ้อที 174 :
ี ทีมีไซยาไนด์ปนเปื อนไม่สามารถกําจัดโดยสารเคมีชนิดใด
การบําบัดนํ าเสย
1 : โซเดียมไฮดรอกไซด์
2 : โซเดียมไฮโปคลอไรท์
3 : โซเดียมคลอไรด์
4 : ปูนขาว

ข ้อที 175 :
วิธกี ารทีเหมาะสมในการกําจัดและบําบัดกากสารกัมมันตรังส ี ได ้แก่ข ้อใด
1 : Cement Based
2 : Pozzolanic
3 : Surface Encapsulation
4 : Glassification

ข ้อที 176 :
่ ารทีเกิดจากการย่อยสลายเตตตระคลอโรเอทิลน
สารในข ้อใดไม่ใชส ี (PCE) ภายใต ้สภาวะไร ้อากาศ
1 : ไตรคลอโรเอทิลน ี (TCE)
2 : ไดคลอโรเอทิลน ี (DCE)
3 : ไวนิลคลอไรด์ (VC)
4 : เพนตะคลอโรเอทิลน ี (PCE)
ธิ

ข ้อที 177 :
ี อันตราย กระบวนการใดต่อไปนีทีไม่เหมาะสมในการบําบัดนํ าเสย
ในการบําบัดของเสย ี ทีมีโลหะหนัก
สท

1 : การแลกเปลียนอิออน

2 : การตกตะกอนทางเคมี
วน

3 : การเผาไหม ้
4 : ้
การใชเมมเบรน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 39/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 178 :

รข
ี อันตรายทีมีสารอินทรียค
ในการบําบัดของเสย ์ ลอรีน (chlorinated organics) ปนเปื อนด ้วยกระบวนการ
ใดทีเหมาะสมในการบําบัดของเสย ี นัน

วก
1 : การแลกเปลียนอิออน
2 : การตกตะกอนทางเคมี
3 : การเผาไหม ้ในเตาเผาอุณหภูมส
ิ งู
4 : การหล่อก ้อนแข็ง
า วศิ
สภ

ข ้อที 179 :
ข ้อใดไม่ใชก่ ารบําบัดด ้วยวิธ ี advanced oxidation
1 : Fenton’s reagent
2 : Ozone
3 : UV
4 : Activated Carbon Sorption

ข ้อที 180 :
ข ้อใดไม่ใชก่ ารบําบัดของเสย
ี อันตรายด ้วยกระบวนการทีใช ้ membrane
1 : Reverse osmosis
2 : Electrodialysis
3 : Ultrafiltration
4 : Sand Filtration

ข ้อที 181 :
ข ้อใดเป็ นการป้ องกันการเกิดสารกลุม ิ (Dioxin) และฟูราน (Furan) ในระหว่างการเผา
่ ไดออกซน
1 : เติมอากาศให ้เพียงพอขณะทําการเผาทีอุณหภูม ิ 340oC
2 : พ่นสารละลายคลอรีนในเตาเผา
3 : ติดตังระบบ Electrostatic precipitator ในเตาเผา
4 : เผาทีอุณหภูมสิ งู กว่า 1200 oC ให ้เกิดการเผาไหม ้ทีสมบูรณ์
ธิ

ข ้อที 182 :
สท

ข ้อใดเกียวข ้องกับการกําจัดขยะอันตราย

1 : Secure Landfill
2 : Sanitary Landfill
วน

3 : Composting
4 : Municipal Landfill
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 40/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 183 :
ของเสย ี อันตรายในข ้อใดไม่เหมาะสมในการบําบัดด ้วยกระบวนการ Chemical oxidation- reduction

วก
1 : นํ าทีปนเปื อน ้
Cr (VI) ใชกระบวนการ Reduction
2 : นํ าทีปนเปื อน ้
Fe (II) ใชกระบวนการ Oxidation
3 : นํ าทีปนเปื อน ้
สาร Phenol ใชกระบวนการ Oxidation
4 : นํ าทีปนเปื อน ้
Benzene ใชกระบวนการ Reduction
า วศิ
สภ
ข ้อที 184 :
ข ้อใดเป็ นวิธก
ี ารควบคุม NOx ในเตาเผาขยะอันตราย
1 : Selective catalytic reduction
2 : Bag filter house
3 : Electrostatic precipitator
4 : Cyclone

ข ้อที 185 :
ข ้อใดคือวิธก
ี ารควบคุมการเกิดแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ (CO) ในการเผาอันตราย
1 : ทําให ้เตาเผามีปริมาณออกซเิ จนเพียงพอ
2 : ทําให ้เตาเผามีความร ้อนเพียงพอ
3 : ื
ทําให ้เตาเผามีเชอเพลิ งเกินพอ
4 : ทําให ้เตาเผามีการกวนผสมอย่างสมําเสมอ

ข ้อที 186 :

ขยะติดเชอจากโรงพยาบาลควรกํ าจัดด ้วยวิธก
ี ารใด
1 : ฝั งกลบ
2 : เผาในเตาเผาขยะโรงพยาบาล
3 : ื
เติมสารเคมีเพือฆ่าเชอโรค แล ้วนํ าไปฝั งกลบ
4 : ื ้วย UV แล ้วทิงรวมกับขยะชุมชน
ฆ่าเชอด

ข ้อที 187 :
ธิ

ของเสย ี ในกลุม
่ ปนเปื อนด ้วยโลหะหนักควรกําจัดอย่างไร
สท

1 : Air stripping

2 : Landfill
วน

3 : Incineration
4 : Chemical fixation
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 41/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 188 :

รข
Afterburner ในเตาเผา Rotary Kiln ของเตาเผาขยะอันตรายมีไว ้เพืออะไร
1 : เพือกําจัดก๊าซพิษต่างๆจากการเผาให ้เหลือเพียง H2 และ O2

วก
2 : เพือกําจัด CO
3 : เพือกําจัด HCl
4 : เพือกําจัด CO2

า วศิ
สภ
ข ้อที 189 :

วิธใี ดใชในการแยกเถ ้าลอยออกจากก๊าซจากการเตาเผา
1 : Granular filtration
2 : Baghouse filter
3 : Filter press
4 : Belt press

ข ้อที 190 :
ี มีสาร Phenol 500 มก./ล. มีอต
นํ าเสย ้
ั ราการไหลเท่ากับ 200 ลบ.ม.ต่อวัน ใชสาร H2O2 และเหล็กใน
รูป Fe2+ เพือกําจัดสาร Phenol ได ้ถึง 99% จงคํานวณหาปริมาณของสาร H2O2 และ Fe2+ ที
ต ้องการใชกํ้ าจัด กําหนดให ้จะใช ้ 2.5 ก.H2O2 ต่อ 1 ก.Phenol พร ้อมด ้วย 0.05 มก.Fe2+ ต่อการใช ้ 1
มก.H2O2

้ ากับ 200 กิโลกรัมต่อวันและปริมาณ Fe2+ ทีต ้องการใชเท่


1 : ปริมาณ H2O2 ทีต ้องการใชเท่ ้ ากับ
10.00 กิโลกรัมต่อวัน
้ ากับ 250 กิโลกรัมต่อวันและปริมาณ Fe2+ ทีต ้องการใชเท่
2 : ปริมาณ H2O2 ทีต ้องการใชเท่ ้ ากับ
17.50 กิโลกรัมต่อวัน
้ ากับ 250 กิโลกรัมต่อวันและปริมาณ Fe2+ ทีต ้องการใชเท่
3 : ปริมาณ H2O2 ทีต ้องการใชเท่ ้ ากับ
12.50 กิโลกรัมต่อวัน
้ ากับ 300 กิโลกรัมต่อวันและปริมาณ Fe2+ ทีต ้องการใชเท่
4 : ปริมาณ H2O2 ทีต ้องการใชเท่ ้ ากับ
15.00 กิโลกรัมต่อวัน
ธิ

ข ้อที 191 :
สท

ี ทีมีโลหะหนักละลายปนเปื อนอยูไ่ ด ้แก่


กระบวนการบําบัดและกําจัดของเสย

1 : Coagulation + Sedimentation + Solidification + Landfill


2 : Precipitation + Stabilization + Solidification + Landfill
วน

3 : Activated Sludge + Precipitation + Landfill


4 : Neutralization + Coagulation + Sedimentation + Landfill
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 42/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 192 :
ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้องตามหลักวิชาการในการปรับเสถียรขยะอันตราย
1 : กากอุตสาหกรรมอันตรายทีเป็ นสารอนินทรีย ์ เชน ่ เถ ้าลอยทีมีโลหะหนัก สามารถนํ าไปฝั งกลบ

วก
ได ้เลย โดยไม่ต ้องผ่านการปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็ง
2 : การปรับเสถียรไม่สามารถประยุกต์ใชกั้ บการฟื นฟูพนดิ
ื นปนเปื อนสารมลพิษในบริเวณกว ้าง
3 : กากทีผ่านกระบวนการปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็งจะสามารถซม ึ ผ่านนํ าได ้ดีขน

วศิ
4 : ต ้องปรับเสถียรของเสยี ทีปนเปื อนด ้วยโลหะหนักและหล่อก ้อนแข็งด ้วยปูนซเี มนต์กอ ่ นฝั งกลบ
ในหลุมฝั งกลบขยะอันตราย

สภ

ข ้อที 193 :
ข ้อใดไม่ใชม่ ลพิษทีอาจจะเกิดจากการเผาขยะอันตราย
1 : ก๊าซกรด
2 : โลหะหนัก
3 : ไดออกซน ิ
4 : ไบโอติน

ข ้อที 194 :
ข ้อพิจารณาในการเลือกใชวิ้ ธก ี อันตรายข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ี ารในการบําบัดและกําจัดของเสย ู ต ้อง
1 : ของเสย ี อันตรายทีเป็ นสารอินทรียท ์ มี ี โครงสร ้างทางเคมีแบบแขนงจะถูกดูดซบ ั ได ้ง่ายกว่าแบบ

เสนตรง
2 : ของเสย ี อันตรายทีเป็ นสารอินทรียท ์ แตกตั
ี วได ้น ้อยจะถูกดูดซบ ั ได ้ดีกว่าสารอินทรียท ์ แตกตั
ี วได ้
มาก
3 : ของเสย ี อันตรายทีเป็ นสารอินทรียท ์ มี ี นําหนักโมเลกุลน ้อยจะถูกดูดซบ ั ได ้ดีกว่าสารอินทรียท ์ มี

นํ าหนักโมเลกุลมาก
4 : ของเสย ี อันตรายทีเป็ นสารอินทรียท ์ ละลายนํ
ี าได ้น ้อยจะถูกดูดซบ ั ได ้ดีกว่าสารอินทรียท ์ มี
ี ละลาย
นํ าได ้ดี

ข ้อที 195 :
ของเสย ี จากโรงงานปิ โตรเลียมไม่เหมาะจะจัดการด ้วยวิธใี ด
1 : Conventional Anaerobic Digestion
2 : Land Farming
3 : Augmented Activated Sludge
ธิ

4 : High Temperature Incineration


สท

วน

ข ้อที 196 :
สง

ข ้อใดไม่ใชต่ ะกอนผลึกอนินทรียท
์ เกิ
ี ดจากกระบวนการตกตะกอน(precipitation)
1 : hydroxides
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 43/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


2 : silicates


3 : glaciate
4 : carbonates

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 197 :
สารเคมีใดนิยมใช้ในการตกตะกอนนําเสี ยจากอุตสาหกรรมชุบโลหะ
1 : โซเดียมไฮดรอกไซด์
สภ
2 : เฟอร์ ริกคลอไรด์
3 : กรดไนตริ ก
4 : กรดบอริ ก

ข ้อที 198 :
วิธกี ารใดต่อไปนี ทีไม่เหมาะสมกับการกําจัดขยะอินทรียอ
์ น
ั ตรายทีสุด
1 : Secure landfill
2 : Incineration
3 : Solidification
4 : Co-processing

ข ้อที 199 :
ี ทีต ้องทดสอบก่อน
Density, Leachability, Compressive Strength เป็ นคุณสมบัตจิ ําเป็ นของของเสย
นํ าไปกําจัดแบบใด
1 : เผา
2 : ฝั งกลบในหลุมฝั งกลบปลอดภัย
3 : การตกตะกอน
4 : รีไซเคิล

ข ้อที 200 :
วิธีการ Chemical Fixation ใช้กาํ จัดของเสี ยประเภทใด
1 : ของเสี ยทีระเหยได้ง่าย
ธิ

2 : ของเสี ยทีทําปฏิกิริยาได้ง่าย
สท

3 : ของเสี ยทีเป็ นโลหะหนัก


4 : ของเสี ยทีไวไฟ
วน
สง

ข ้อที 201 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 44/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


การทําให้เตาเผามีปริ มาณออกซิเจนเพียงพออยูต่ ลอดเวลามีจุดประสงค์เพืออะไร


1 : เพือควบคุมการเกิดแก๊สมีเทน

กร
2 : เพือควบคุมการเกิดแก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน
3 : เพือควบคุมการเกิดไดออกซน ิ

ิ ว
4 : เพือควบคุมการเกิดแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์

าวศ
สภ
ข ้อที 202 :
การบําบัดนําเสี ยทีมีไซยาไนด์ปนเปื อนสามารถกําจัดได้ดว้ ยสารเคมีชนิดใด
1: โซเดียมคลอไรด์
2: โซเดียมไฮโปคลอไรท์
3: แคลเซียม ไฮดรอกไซด์
4: แคลเซียมคาร์บอเนต

ข ้อที 203 :

วัสดุชนิดใดทีนิยมใชในการดู ั สลัดจ์ทปนเปื
ดซบ ี อนนํ ามัน( Oil sludge)
1 : Soil
2 : Fly ash
3 : Kiln dust
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 204 :

กระบวนการใดนิยมใชในการจั ี ประเภทนิวเคลียร์ (Nuclear waste)
ดการของเสย
1 : Jaceting Systems
2 : Macroencapsulation
3 : Thermoplastic Microencapsulation
4 : Vitrification

ข ้อที 205 :
ธิ

จงหาประสท ิ ธิภาพในการทําลายฤทธิของสลัดจ์อาร์เซนิก ซงมี


ึ ปริมาณอาร์เซนิกในสลัดจ์กอ่ นบําบัด
สท

เท่ากับ 0.724 มก./ล. และปริมาณอาร์เซนิกในสลัดจ์หลังการบําบัดเท่ากับ 0.049 มก./ล.


1 : ิ ธิภาพในการลดอาร์เซนิกเท่ากับร ้อยละ
ประสท 67.5
2 : ประสทิ ธิภาพในการลดอาร์เซนิกเท่ากับร ้อยละ 93.2
วน

3 : ประสท ิ ธิภาพในการลดอาร์เซนิกเท่ากับร ้อยละ 13.8


4 : ประสท ิ ธิภาพในการลดอาร์เซนิกเท่ากับร ้อยละ 77.3
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 45/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 206 :

การกําจัดมูลฝอยติดเชอตามกฎกระทรวงสาธารณสุ ื พ.ศ. 2545
ขว่าด ้วยการกําจัดมูลฝอยติดเชอ

กร
กําหนดอุณหภูมใิ นเตาเผาเป็ นเท่าไร
ื ณหภูมไิ ม่ตํากว่า
1 : ห ้องเผามูลฝอยติดเชออุ ี ส ห ้องเผาควันอุณหภูมไิ ม่ตํากว่า
300 องศาเซลเซย

ิ ว
500 องศาเซลเซย ี ส

าวศ
2 : ห ้องเผามูลฝอยติดเชออุื ณหภูมไิ ม่ตํากว่า ี ส ห ้องเผาควันอุณหภูมไิ ม่ตํากว่า
760 องศาเซลเซย
1000 องศาเซลเซย ี ส
3 : ห ้องเผามูลฝอยติดเชออุ ื ณหภูมไิ ม่ตํากว่า ี ส ห ้องเผาควันอุณหภูมไิ ม่ตํากว่า
800 องศาเซลเซย
สภ
1000 องศาเซลเซยส ี
4 : ห ้องเผามูลฝอยติดเชออุ ื ณหภูมไิ ม่ตํากว่า ี ส ห ้องเผาควันอุณหภูมไิ ม่ตํากว่า
800 องศาเซลเซย
1200 องศาเซลเซย ี ส

ข ้อที 207 :
การเผาทําลายกากอุตสาหกรรมในเตาเผาปูนซเี มนต์ในประเทศไทย มักเป็ นเตาเผาประเภทใด
1 : เตาเผาแบบแผงตะกรับกล (Mechanism Stoker Incinerator)
2 : เตาเผาแบบใชตั้ วกลางนํ าความร ้อน (Fluidized Bed Incinerator)
3 : เตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln)
4 : เตาเผาแบบแผงตะกรับหมุน (Rotary Grate Stoker Incinerator)

ข ้อที 208 :
ี อันตรายโดยการเผาในเตาเผาปูนซเี มนต์ มีอณ
การกําจัดของเสย ุ หภูมใิ นการเผาประมาณเท่าใด
1 : ี ส
500 องศาเซลเซย
2 : 1200 องศาเซลเซยี ส
3 : 1400 องศาเซลเซย ี ส
4 : 2000 องศาเซลเซย ี ส

ข ้อที 209 :
ข ้อใดไม่ใชข่ ้อดีของการกําจัดของเสย
ี อันตรายโดยการเผาในเตาเผาปูนซเี มนต์
1 : ลดปั ญหามลพิษ เนืองจากอุณหภูมห ิ ้องเผาเฉลียสูงกว่าเตาเผาของเสย ี โดยทัวไป ซงสามารถ

เผาทําลายของเสย ี ได ้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
2 : เถ ้าจากการเผากําจัดของเสย ี กลายเป็ นปูนเม็ดได ้เชน่ กัน ซงต่
ึ างจากเตาเผาทัวไป ทีต ้องนํ าเถ ้า
ธิ

ไปกําจัดอีกครัง โดยสารจําพวกโลหะหนักจะถูกดูดซบ ั อยูใ่ นปูนเม็ด



3 : สามารถใชของเส ี ทดแทนวัตถุดบ
ย ื
ิ และเชอเพลิ ง ในกระบวนการผลิตปูนได ้
สท

4 : มีระบบดักจับมลพิษทางอากาศ ทัง NOx SOx และ Dioxin



วน
สง

ข ้อที 210 :
โรงงานแห่งหนึง ได ้สง่ ของเสยี จาระบีใชแล
้ ้วมากําจัดโดยการเผาในเตาเผาปูนซเี มนต์ ของเสย
ี ดัง
้ นเชอเพลิ
กล่าวมีคา่ ความร ้อน 10,000 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม จะสามารถใชเป็ ื งทดแทน แทนถ่านหิน ที
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 46/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


มีคา่ ความร ้อน 5,000 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม


1 : ื
เชอเพลิ งทดแทน 1 ตัน ต่อ ถ่านหิน 2 ตัน

กร
2 : ื
เชอเพลิ งทดแทน 2 ตัน ต่อ ถ่านหิน 1 ตัน
3 : ื
เชอเพลิ งทดแทน 1 ลบ.ม. ต่อ ถ่านหิน 2 ลบ.ม.
4 : เชอเพลิ ื งทดแทน 2 ลบ.ม. ต่อ ถ่านหิน 1 ลบ.ม.

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 211 :
กฎกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรือง กําหนดหลักเกณฑ์และวิธก ี ารจัดการกากกัมมันตรังส ี
พ.ศ. 2546 กําหนดให ้เก็บกักกากกัมมันตรังสรี ะดับรังสต ี ํา ครึงชวี ต ั ทีมีคา่ ครึงชวี ต
ิ สน ิ น ้อยกว่าหนึงร ้อย
วัน ไว ้กีวันก่อนทีจะระบายเข ้าสูร่ ะบบระบายนํ าทิง หรือขจัดรวมกับมูลฝอยทัวไปได ้
1 : ห ้าเท่าของครึงชวี ต

2 : ิ เท่าของครึงชวี ต
สบ ิ
3 : ิ เท่าของครึงชวี ต
ห ้าสบ ิ
4 : หนึงร ้อยเท่าของครึงชวี ติ

ข ้อที 212 :
ี กากกัมมันตรังสข
หน่วยงานใดรับผิดชอบในการกําจัดของเสย ี องโรงงานอุตสาหกรรม
1 : สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ
2 : สํานักงานปรมาณูแห่งชาติ
3 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม
4 : กรมควบคุมมลพิษ

ข ้อที 213 :
ี มี
ข ้อใดเป็ นการกําจัดกากกัมมันตรังสท ี ครึงชวี ต ี งู ทีเหมาะสมทีสุด
ิ ยาว และมีระดับความแรงรังสส
1 : ตกตะกอนเคมี แล ้วฝั งกลบแบบปลอดภัย
2 : เผาให ้สลายตัวทีอุณหภูมส
ิ งู ภายใต ้แรงดันสูง
3 : ั
ดูดซบด ้วย Activated Carbon ทีเคลือบด ้วย Silver Nitrate
4 : ทําเสถียรด ้วยคอนกรีตแล ้วฝั งกลบแบบปลอดภัย
ธิ

ข ้อที 214 :
้ ้วทีดีทสุ
ข ้อใดเป็ นการจัดการนํ ามันเครืองใชแล ี ด
สท

1 : การใชเป็้ นเชอเพลิ
ื งทางเลือกสําหรับเตาเผาปูนซเี มนต์


2 : การนํ าไปใชประโยชน์ (reuse) เชน่ ใชทาไม
้ ้แบบสําหรับคอนกรีต ใชทาไม
้ ้ป้ องกันปลวก มอด
วน

และ แมลง ใสข ่ าตู ้กับข ้าวเพือป้ องกันมด


3 : นํ าไปรีไซเคิล (recycle) โดยกรองเอาสงสกปรกออก ิ และเติมสารโซเดียมคลอไรด์
4 : นํ าไปผ่านกระบวนการเพือนํ ากลับมาใชใหม่ ้ ด ้วยการกลัน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 47/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 215 :
ข ้อใดเป็ นวิธก ิ จากอากาศทีเกิดจากเตาเผาขยะทีถูกต ้อง
ี ารกําจัดไดออกซน

กร
1 : ระบบบําบัดอากาศแบบเปี ยก (Wet Scrubber System)
2 : ระบบเครืองดักฝุ่ น (Dust Collection System)

ิ ว
3 : ระบบถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon System)

าวศ
4
สภ : ระบบกรองชวี ภาพ (Biofiltration System)

ข ้อที 216 :
ี ของแข็งปนเปื อนสารอินทรียใ์ นรูปของแข็ง
ข้อใดไม่เหมาะสมกับการบําบัดของเสย
1 : Land Treatment
2 : Composting
3 : Air stripping
4 : Soil Piles

ข ้อที 217 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก ี หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ใชแล
ู ต้องเกียวกับกําจัดของเสย ้ ้ว
ิ กๆ แล ้วผสมกับปูนซเี มนต์ หล่อเป็ นก ้อนแข็ง จากนันนํ าไปฝั งกลบแบบ
1 : บดให ้เป็ นชนเล็
ปลอดภัย
2 : นํ าไปแยกปรอท และฟอสฟอรัสออก จากนันบดแก ้วให ้เป็ นชนเล็ ิ กๆ ก่อนนํ าไปหลอมใชใหม่

3 : นํ าไปเผาทีเตาเผาของเสยี อันตราย จากนันนํ ากากไปฝั งกลบแบบปลอดภัย
4 : นํ าไปแยกปรอทออก จากนันนํ าไปปรับเสถียรแล ้วฝั งกลบในหลุมฝั งกลบขยะอันตราย

ข ้อที 218 :
ี ปนเปื อนไซยาไนด์ จากเหมืองทอง ทีเหมาะสมทีสุด
ข ้อใดเป็ นการกําจัดนํ าเสย
1 : การไล่ด ้วยไอนํ า (Air Stripping)
2 : การออกซเิ ดชน ั ทางเคมี (Chemical Oxidation)
3 : ั
การดูดซบด ้วยถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon Adsorption)
4 : การกําจัดด ้วยถังกรองชวี ภาพ (Bio Filtration)
ธิ

ข ้อที 219 :
สท

ข ้อใดไม่ใชส่ ารทีใชในการทํ
้ ิ าของกระบวนการออกซเิ ดชน
าปฏิกริ ย ั ทางเคมี (Chemical Oxidation)

1 : โอโซน
วน

2 : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
3 : Chlorinated Hydrocarbon
4 : คลอรีน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 48/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 220 :
การดูดซบ ั ด ้วยถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon Adsorption) เหมาะสมในการกําจัดสารมลพิษในข ้อ

กร
ใด
1 : สารอินทรียร์ ะเหยง่ายในอากาศ

ิ ว
2 : โลหะหนัก

าวศ
3 : DNAPLs ในนํ า
4 : ไซยาไนด์ในนํ าเสยี
สภ

ข ้อที 221 :
ั ด ้วยถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon Adsorption)
กลไกใดทีไม่ได ้เกิดขึนเมือมีการดูดซบ
1 : การแพร่ผา่ นในรูพรุน
2 : การเคลือนทีในชนฟิั ลม ์
3 : การทําปฏิกริ ย
ิ าทีพืนผิว
4 : การดูดติดผิว

ข ้อที 222 :
ของเสย ี ชนิดใดทีเหมาะสมสําหรับการกําจัดเตาเผาปูนซเี มนต์
1 : ผ ้าและถุงมือทีเปื อนนํ ามัน
2 : กากของเสย ี ปนเปื อนโลหะหนัก
3 : กากของเสย ี ทีมีกม
ั ตรังสรี ะดับตํา
4 : กากตะกอน CaSO4

ข ้อที 223 :
ไอโอดีน-131 มีคณ ี มี
ุ สมบัตเิ ป็ นสารกัมมันตรังสท ้
ี ความคงตัวตํา ใชในการรั กษามะเร็งต่อมไทรอยด์
หรือคอหอยพอก มีคา่ ครึงชวี ต ิ ของการสลายตัวประมาณ 8 วัน ตามกฎกระทรวงกฎกระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรือง กําหนดหลักเกณฑ์และวิธก ี ารจัดการกากกัมมันตรังส ี พ.ศ. 2546
ต ้องเก็บไอโอดีน-131 ไว ้กีวันจึงจะสามารถทิงได ้
1 : 40 วัน
2 : 80 วัน
3 : 400 วัน
4 : 800 วัน
ธิ
สท

วน

ข ้อที 224 :
่ องสาร ในกระบวนการออกซเิ ดชน
ข ้อใดเป็ นการจับคูข ั ทางเคมี (Chemical Oxidation) ทีไม่ถก
ู ต ้อง
สง

ิ ากับ โครเมียม 6+
1 : คลอรีน ทําปฏิกริ ย
ิ ากับ โครเมียม 6+
ั เฟต ทําปฏิกริ ย
2 : เฟอร์รัสซล
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 49/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : โอโซน ทําปฏิกริ ย
ิ ากับ ไซยาไนด์


4 : โอโซน ทําปฏิกริ ยิ ากับ สารอินทรีย ์ (CH2Cl2)

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 225 :
ในการกําจัดด ้วยระบบการไล่ด ้วยอากาศ (Air Stripping) หากต ้องการกําจัด นํ าทีปนเปื อนด ้วย โทลู
ี 100 ลบ.ม. ต่อวัน โดยค่าคงทีของเฮนรี
อีน 100 มก./ล. ให ้มีความเข ้มข ้น 1 มก./ล. มีปริมาณนํ าเสย
ของ โทลูอน ี คือ 0.27 ที 25 องศาเซลเซย ี ส (หน่วยของค่าคงทีคือ ความเข ้มข ้น/ความเข ้มข ้น เทียบ
สภ
ในปริมาตรทีเท่ากัน) จงคํานวณอัตราการไหลของอากาศทีต ้องการในระบบ
1 : 271 ลบ.ม./ วัน
2 : 265.3 ลบ.ม./ วัน
3 : 365.3 ลบ.ม./ วัน
4 : 369.3 ลบ.ม./ วัน

ข ้อที 226 :
การกําจัดมลพิษด ้วยระบบ การไล่ด ้วยอากาศ (Air Stripping) เหมาะสมสําหรับของเสย
ี ประเภทใด
ี ทีปนเปื อนด ้วยเบนซน
1 : นํ าเสย ี (Benzene) ค่าคงทีเฮนรี 4.4 x 10-3 atm-m3/mol ความเข ้มข ้น
100 มคก./ล.
2 : นํ าใต ้ดินทีปนเปื อนด ้วยคลอโรฟอร์ม (Chloroform) ค่าคงทีเฮนรี 2.95 x 10-3 atm-m3/mol
ความเข ้มข ้น 100 มก./ล.
3 : นํ าใต ้ดินทีปนเปื อนด ้วย เอนดริน (Endrin) ค่าคงทีเฮนรี 4.00 x 10-7 atm-m3/mol ความเข ้ม
ข ้น 300 มก./ล.
4 : ดินปนเปื อนด ้วยแอนทราซน ี (Atrazine) ค่าคงทีเฮนรี 2.63 x 10-9 atm-m3/mol ความเข ้มข ้น
100 มคก./ล.

ข ้อที 227 :
การกําจัดมลพิษด ้วยระบบการไล่ด ้วยไอนํ า (Stream Stripping) เหมาะสมสําหรับของเสย
ี ประเภทใด
ี ทีปนเปื อนด ้วยเบนซน
1 : นํ าเสย ี (Benzene) ค่าคงทีเฮนรี 4.4 x 10-3 atm-m3/mol ความเข ้มข ้น
100 มคก./ล.
2 : นํ าใต ้ดินทีปนเปื อนด ้วยคลอโรฟอร์ม (Chloroform) ค่าคงทีเฮนรี 2.95 x 10-3 atm-m3/mol
ความเข ้มข ้น 10 มคก./ล.
3 : นํ าใต ้ดินทีปนเปื อนด ้วยเอนดริน (Endrin) ค่าคงทีเฮนรี 4.00 x 10-7 atm-m3/mol ความเข ้ม
ธิ

ข ้น 300 มก./ล.
สท

4 : ดินปนเปื อนด ้วยแอนทราซน ี (Atrazine) ค่าคงทีเฮนรี 2.63 x 10-9 atm-m3/mol ความเข ้มข ้น

100 มคก./ล.
วน
สง

ข ้อที 228 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 50/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ตามกฎกระทรวงสาธารณสุขว่าด ้วยการกําจัดมูลฝอยติดเชอ ื พ.ศ. 2545 กําหนดให ้ตรวจสอบวิเคราะห์


ื วใด เมือมีการกําจัดมูลฝอยติดเชอด
เชอตั ื ้วยวิธอ ื ทีไม่ใชเ่ ตาเผา
ี นๆ

กร
1 : ื คเตรี
เชอบั
2 : ื
เชอไวรั ส
3 : ปาราสต ิ

ิ ว
4 : ื
เชอบะซ ิ ลัสสะเทียโรเธอร์โมฟิ ลลัส

าวศ
สภ
ข ้อที 229 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการกรองผ่านเยือกรองแบบ Reverse Osmosis
1 : ตัวถูกละลายจะถูกแยกจากสารละลายโดยใชความดั ้ นทีมีคา่ สูงกว่าความดันออสโมติกเป็ นตัว
บังคับให ้ไหลผ่านเยือกรอง
2 : นํ าและตัวถูกละลายทีมีโมเลกุลขนาดเล็กจะเคลือนทีผ่านเยือกรองขณะทีตัวถูกละลายโมเลกุล
ขนาดใหญ่จะติดค ้างบนเยือกรอง

3 : เยือกรองจะแยกประจุชนิดต่างๆ ออกจากนํ าโดยการใชความต่ างศก ั ย์ไฟฟ้ าเป็ นแรงขับดันให ้
เกิดการแยกสารเจือปนทีแตกตัวเป็ นอิออนสนามไฟฟ้ า
4 : ตัวถูกละลายทีมีคา่ คงทีเฮนรีตําจะแยกผ่านเยือกรองขณะทีสารอืนจะค ้างอยูบ ่ นเยือกรอง

ข ้อที 230 :
ในการกําจัด trichloroethylene (TCE) ด ้วยโอโซน ค่าคงทีอัตราเร็วปฏิกริ ย
ิ าอันดับหนึงมีคา่ 0.001/
วินาที ครึงชวี ต
ิ ของปฏิกริ ย
ิ ามีคา่ เป็ นเท่าไร
สมการปฏิกริ ยิ าอันดับหนึง คือ ln(C/C0)=-kt
1 : 1693.14 วัน
2 : 693.14 วินาที
3 : 993.56 วินาที
4 : 356.45 วินาที

ข ้อที 231 :
สารกัมมันตรังสซ ี เี ซย
ี ม -137 (Cs-137) มีคา่ ครึงชวี ต
ิ 30 ปี ค่าคงทีอัตราเร็วปฏิกริ ย
ิ าอันดับหนึงมีคา่
เท่าไร
สมการปฏิกริ ยิ าอันดับหนึง คือ
1 : 0.693 ปี
2 : 0.693 ต่อปี
ธิ

3 : 30 ปี
4 : 0.023 ต่อปี
สท

วน

ข ้อที 232 :
สง

จงคํานวณปริมาณออกซเิ จนทีต ้องการในการย่อยสลายอย่างสมบูรณ์ของ Alkene (C7H12) ทางทฤษฎี


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 51/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : 6.66 กรัม O2/ กรัม Alkene


2 : 3.33 กรัม O2/ กรัม Alkene

กร
3 : 10.0 กรัม O2/ กรัม Alkene
4 : 96 กรัม O2/ กรัม Alkene

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 233 :
ในการกําจัดของเสย ี สารอินทรียด ี างชวี วิทยา ค่าคงทีอัตราเร็วปฏิกริ ย
์ ้วยวิธท ิ าอันดับหนึงในการย่อย
สลายเท่ากับ 0.2 /วัน หากโรงงานมีนําเสย ี ปนเปื อนของเสยี ดังกล่าว 1 ลบ.ม./วัน ความเข ้มข ้น 10
มก./ล. และต ้องบําบัดให ้ความเข ้มข ้นลดลงเหลือ 1 มก./ล. ต ้องใชถั้ งปฏิกริ ย ิ าทีมีขนาดบรรจุ
ของเหลวเท่าไร (สมการปฏิกริ ย ิ าอันดับทีหนึง คือ C/C0 = e ) -kt

1 : 11.51 ลบ.ม.
2 : 23.03 ลบ.ม.
3 : 0.5 ลบ.ม.
4 : 50 ลบ.ม.

ข ้อที 234 :
ี ทีปนเปื อนไซยาไนด์ ในรูป NaCN ความเข ้มข ้น 500 มก./ล. ปริมาณ 100 ลบ.ม./วัน ต ้องใช ้
นํ าเสย
ี มีความเข ้มข ้นลดลงเหลือ 10 มก./ล.
คลอรีนเท่าไรในการกําจัดให ้นํ าเสย
ปฏิกริ ย
ิ า ทีเกิดขึน คือ
2NaCN + 5 Cl2 +12 NaOH --> N2 + Na2CO3 +10NaCl + 6H2O
นํ าหนักโมเลกุล Cl = 35.5, Na =23, C=12, N=14
1 : 3.5 กก./วัน
2 : 49 กก./วัน
3 : 35.5 กก./วัน
4 : 88.7 กก./วัน

ข ้อที 235 :
ต ้องใชถ่้ านกัมมันต์ปริมาณเท่าไร ในการบําบัดนํ าเสย
ี ทีมีการปนเปื อนของ xylene ทีมีความเข ้มข ้น
200 มก./ล. ให ้เหลือ 20 มก./ล. ปริมาณนํ าเสย ี 100 ลบ.ม. ต่อวัน กําหนดให ้ค่าคงทีของฟรุนดิช (K)
มีคา่ 50 มก./ก. และค่า 1/n มีคา่ 0.2 โดยที X/M = KCf1/n
ธิ

1 : 197.7 กก./วัน
สท

2 : 1,977.40 กก./วัน

3 : 163.8 กก./วัน
4 : 1,638.50 กก./วัน
วน
สง

เนือหาวิชา : 641 : 4. Stabilization and Solidification


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 52/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 236 :
ข ้อใดไม่ใชผ่ ลของการใชกระบวนการปรั
้ บเสถียรภาพ(stabilizer)

กร
1 : ่ งแวดล
ลดการเคลือนทีออกของสารปนเปื อนสูส ิ ้อม
2 : ปรับค่าพีเอชของสารปนเปื อน

ิ ว
3 : ลดความเป็ นพิษ

าวศ
4
สภ : บําบัดของเสยี

ข ้อที 237 :
การทดสอบการชะละลายเพือตรวจสอบสมบัตห ิ รือลักษณะการเป็ นของเสย ี อันตราย (TCLP) ตามข ้อ

กําหนดของ US EPA โดยใชกรดอะซ ิ ก
ต ิ (Acetic acid) เป็ นนํ าชะละลาย นันเป็ นการจําลอง
สถานการณ์ใด
1 : การเทของเสย ี อันตรายร่วมกับขยะจากบ ้านเรือน
2 : การเทของเสย ี อันตรายใน monofill
3 : การทิงบนดิน
4 : การทิงในแม่นําลําคลอง

ข ้อที 238 :
ของเสย ี อันตรายทีหล่อให ้เป็ นก ้อนแข็งก่อนนํ าไปฝั งกลบไม่จําเป็ นต ้องทดสอบลักษณะสมบัตข
ิ ้อใด
1 : Hardness
2 : Compressive Strength
3 : Leachability
4 : Density

ข ้อที 239 :
ข ้อใดไม่ไชว่ ต
ั ถุประสงค์ในการนํ ากากอุตสาหกรรมอันตรายมาปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็ง
1 : เพือลดความเป็ นพิษของกากอุตสาหกรรมอันตราย
2 : ้
เพือนํ ากากอุตสาหกรรมกลับมาใชในกระบวนการผลิ ตใหม่
3 : เพือลดอัตราการปลดปล่อยสารพิษของกากอุตสาหกรรมอันตราย
4 : เพือบําบัดกากอุตสาหกรรมอันตรายก่อนนํ าไปฝั งกลบ
ธิ
สท

ข ้อที 240 :

ข ้อใดไม่จัดเป็ นกลไกการปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็ง


วน

1 : Macroencapsulation และ Microencapsulation


2 : Adsorption และ Absorption
3 : Precipitation
สง

4 : Vapolization
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 53/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 241 :

กร
สารในข ้อใดเหมาะสําหรับการปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็งกากปนเปื อนนํ ามันทีสุด

ิ ว
1 : ซเี มนต์

าวศ
2 : ปูนขาว
3 : ดินเหนียวดัดแปลง
4 : Pozzolans
สภ

ข ้อที 242 :
้ เี มนต์
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการปรับเสถียรและทําเป็ นก ้อนแข็งโดยใชซ
1 : ไม่เหมาะกับกากปนเปื อนโลหะหนัก
2 : ไม่เหมาะกับกากปนเปื อนสารทําละลายอินทรีย ์
3 : ไม่สามารถบําบัดกรดได ้
4 : ื ง
ไม่เหมาะกับกากทีมีความชนสู

ข ้อที 243 :
ั ไฟด์กอ
ตะกอนโลหะหนักชนิดใดทีต ้องเปลียนรูปให ้เป็ นโลหะซล ่ ระบวนการทําให ้เป็ นก ้อนต่อ
่ นเข ้าสูก
ไป
1 : อาร์เซนิค
2 : โครเมียม
3 : แมงกานีส
4 : ปรอท

ข ้อที 244 :

สารเคมีชนิดใดนิยมใชในกระบวนการปรั ี อันตราย
บเสถียรของเสย
1 : โซเดียมไฮดรอกไซด์
2 : โซเดียมไฮโปคลอไรท์
3 : แคลเซยี มออกไซด์
4 : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ธิ
สท

ข ้อที 245 :

การกําจัดตะกอนทีมีแคดเมียมปนเปื อนต ้องเติมสารเคมีชนิดใด เพือให ้อยูใ่ นรูปตะกอนทีไม่ละลายนํ า


วน

1 : ปูนขาว
2 : ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
สง

3 : ไฮโดรเจนซลั ไฟด์
4 : โซเดียมไฮโปคลอไรท์
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 54/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 246 :
สารประกอบของโลหะหนักชนิดใดมีสถานะทีเสถียร เมือหล่อให ้เป็ นก ้อนแข็งก่อนนํ าไปฝั งกลบ

ิ ว
1 : ปรอทไฮดรอกไซด์

าวศ
2 : ปรอทซล ั ไฟด์
3 : แคดเมียมไฮดรอกไซด์
4 : โครเมียมไซยาเนต
สภ

ข ้อที 247 :
ของเสย ี อันตรายทีหล่อให ้เป็ นก ้อนแข็งก่อนนํ าไปฝั งกลบต ้องมีลก ่ ใด
ั ษณะสมบัตเิ ชน
1 : ปริมาณความเข ้มข ้นของสารอันตรายในนํ าสกัด ตํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
2 : มีลก
ั ษณะสมบัตเิ ป็ นกลาง

3 : สามารถรับแรงอัด ซงทดสอบตามมาตรฐาน ASRM D – 2166 ได ้ไม่น ้อยกว่า 3.5 กิโลกรัม
ต่อตารางเซนติเมตร
4 : มีคา่ ความหนาแน่นไม่ตํากว่า 1.15 ตันต่อลูกบาศก์เมตร

ข ้อที 248 :
ค่าสดั สว่ นนํ าต่อซเี มนต์ (w/c) ทีนิยมใชในการหล่
้ ี อันตรายให ้เป็ นก ้อนแข็งมีคา่ เท่าใด
อของเสย
1 : 0.25
2 : 0.50
3 : 0.75
4 : 1.00

ข ้อที 249 :
ของเสย ี ชนิดใดใชผสมกั
้ ี อันตรายในกระบวนการหล่อให ้เป็ นก ้อนแข็งได ้
บของเสย
1 : ตะกอนของเสย ี อุตสาหกรรม
2 : เถ ้าลอย
3 : ี ชุมชน
ตะกอนนํ าเสย
4 : ตะกอนจากระบบแอนแอโรบิก
ธิ
สท

ข ้อที 250 :

ปฏิกริ ย ี อุตสาหกรรมด ้วยซเี มนต์ คือข ้อใด


ิ าทีเกิดในกระบวนการหล่อของเสย
วน

1 : Neutralization
2 : Oxidation
สง

3 : Pozzolanic
4 : Reduction
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 55/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 251 :

มาตรฐานกําลังรับแรงอัดของสงปฏิกลู ทีผ่านกระบวนการทําให ้เป็ นก ้อนแข็งตามประกาศกระทรวง

ิ ว
อุตสาหกรรม ฉบับที 6 (พ.ศ. 2540)

าวศ
1 : ไม่ตํากว่า 15 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร
2 : ไม่ตํากว่า 1.5 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร
3 : ไม่ตํากว่า 35 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร
สภ
4 : ไม่ตํากว่า 3.5 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร

ข ้อที 252 :
มาตรฐานความหนาแน่นของสงปฏิิ กลู ทีผ่านกระบวนการทําให ้เป็ นก ้อนแข็งตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม ฉบับที 6 (พ.ศ. 2540)
1 : ไม่ตํากว่า 1.15 ตัน ต่อลูกบาศก์เมตร
2 : ไม่ตํากว่า 11.5 ตัน ต่อลูกบาศก์เมตร
3 : ไม่ตํากว่า 11.5 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
4 : ไม่ตํากว่า 1.15 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร

ข ้อที 253 :
์ ใช
การทําเสถียรหลอดฟลูออเรสเซนสท ้ ้ว ต ้องใชสารเคมี
ี แล ้ ประเภทใด
1 : คลอไรด์
2 : ไฮดรอกไซด์
3 : ซลั ไฟด์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 254 :
สารในข ้อใดต่อไปนี ทีไม่สามารถใชเป็ ้ นตัวประสาน (binder) ในการทําเสถียรและทําให ้เป็ นก ้อน
(stabilization/solidification) ได ้
1 : ซเี มนต์
2 : ดินเหนียว
3 : เถ ้าลอยถ่านหิน
ธิ

4 : ZEOLITE
สท

วน

ข ้อที 255 :
ในการทําเสถียรและทําให ้เป็ นก ้อนโดยใชปู้ นซเี มนต์นัน สารประกอบใดในซเี มนต์ทสร
ี ้างความแข็งแรง
สง

เมือทําปฏิกริ ย
ิ ากับนํ า
ี มออกไซด์
1 : แคลเซย
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 56/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี มซล
2 : แคลเซย ั เฟต


3 : แคลเซยี มคาร์บอเนต
4 : แคลเซย ี มซลิ เิ กต

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 256 :
ในการทําเสถียรและทําให ้เป็ นก ้อนโดยใชปู้ นซเี มนต์นัน วัสดุใดทีสามารถชว่ ยสร ้างความแข็งแรง เมือ
ทําปฏิกริ ย ี มไฮดรอกไซด์ทเกิ
ิ ากับแคลเซย ี ดจากปฏิกริ ย ิ าไฮเดรชนั ของปูนซเี มนต์กบั นํ า
สภ
1 : ปอซโซลาน
2 : มวลรวม
3 : หินปูน
4 : ไฟเบอร์กลาส

ข ้อที 257 :
ี ทีมีโลหะหนักด ้วยการตกตะกอนนัน โลหะหนักใดทีจําเป็ นต ้องผ่านกระบวนการทํา
ในการบําบัดของเสย

เสถียรโดยใชสารเคมีกอ่ น
1 : Pb
2 : Ba
3 : As (III)
4 : As (V)

ข ้อที 258 :
ี ของการบําบัดแบบ Solidification
อะไรคือข ้อเสย
1 : ราคาแพง
2 : เกิด Sludge
3 : ไม่เหมาะสําหรับของเสย
ี ทีมีสารอินทรีย ์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 259 :

วัสดุข ้อใดทีมักใชในการจั ดการขยะอันตรายให ้อยูใ่ นสภาวะเสถียรมากทีสุด
ธิ

1 : Portland cement
2 : Pozzolans
สท

3 : Lime

4 : ถูกทุกข ้อ
วน
สง

ข ้อที 260 :
การทดสอบในข้อใดทีไม่ได้แสดงประสิ ทธิภาพในการปรับเสถียร
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 57/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : leaching test


2 : toxicity test
chemical test

กร
3 :
4 : biological test

ิ ว
าวศ
ข ้อที 261 :
ข้อใดต่อไปนีถูกต้องมากทีสุ ดในการปรับเสถียรและทําก้อนแข็งกากอุตสาหกรรม
สภ
1 : เป็ นการกําจัดกากอุตสาหกรรมขันสุ ดท้าย
2 : สามารถลดความเป็ นพิษและปริ มาตรกากอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
3 : กากมีการเปลียนแปลงน้อยมากหลังจากผ่านกระบวนการนี
4 : สามารถใช้กบ ั กากอุตสาหกรรมทุกประเภท

ข ้อที 262 :
ข้อใดคือวิธีในการบําบัด Cr (VI)
1: ในการทําเสถียรและทําให้เป็ นก้อนโดยใช้ปูนซีเมนต์นนั จําเป็ นต้องผ่านกระบวนการทําเสถียรโดยใช้สาร
เคมีก่อน
2 : ในการทําเสถียรและทําให้เป็ นก้อนโดยใช้ปูนซี เมนต์นน ั จําเป็ นต้องผ่านกระบวนการทําเสถียรโดยผ่าน
ความเย็นก่อน
3 : ในการทําเสถียรและทําให้เป็ นก้อนโดยใช้ปูนซี เมนต์นน ั จําเป็ นต้องผ่านกระบวนการทําเสถียรโดยผ่าน
ความร้อนก่อน
4 : ในการทําเสถียรและทําให้เป็ นก้อนโดยใช้ปูนซี เมนต์นน ั จําเป็ นต้องผ่านกระบวนการทําเสถียรโดยใช้กรด
ชะล้างก่อน

ข ้อที 263 :
ตะกอนปรอทเป็ นโลหะหนักทีต้องเปลียนรู ปให้อยูใ่ นรู ปใดก่อนเข้าสู่ กระบวนการทําให้เป็ นก้อนต่อไป
1: โลหะคลอไรด์
2: โลหะฟลูออไรด์
3: โลหะออกไซต์
โลหะซัลไฟต์
ธิ

4:
สท

วน

ข ้อที 264 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต้องเกียวกับกระบวนการ Vitrification
สง

1 : ใชกั้ บของเสย ี ทีมีความเป็ นพิษสูง


2 : ใชอุ้ ณหภูม ิ 1000-1200 องศาเซลเซย ี ส
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 58/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : ค่าใชจ่้ ายในการดําเนินการสูง



4 : ใชของเส ี ผสมกับกระบวนการหลอมแก ้ว

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 265 :
วัสดุชนิดใดไม่จัดเป็ น Natural pozzolanic materials
1 : Volcanic lava masses
สภ
2 : Deposits of hydrated silicic acid
3 : Fly ash
4 : Diatomaceous earth

ข ้อที 266 :

สารเคมีข ้อใดไม่สามารถใชในการปรั บเสถียรได ้
1 : แคลเซยี มไฮดรอกไซด์
2 : โซเดียมซล ั ไฟด์
3 : แคลเซย ี มไฮโปคลอไรด์
4 : เมโซพอร์รัส ซลิ กิ า

ข ้อที 267 :
ข ้อใดคือกลไก detoxification
1 : เปลียนจากองค์ประกอบเดิมทางเคมี ไปเป็ นองค์ประกอบทีมีความเป็ นพิษน ้อยลง หรือไม่เป็ น
พิษเลย
2 : สารเคมีอน
ั ตรายจะถูกดูดติดผิวของสารตัวกลาง
3 : สารเคมีอน ั ไว ้ในผลึกโครงสร ้างขนาดเล็ก
ั ตรายจะถูกดูดซบ
4 : การย่อยสลายทางชวี ภาพ ไปเป็ นองค์ประกอบทีมีความเป็ นพิษน ้อยลง หรือไม่เป็ นพิษเลย

ข ้อที 268 :
ข ้อใดไม่ใชปั้ ญหาของการใชซ
้ เี มนต์ในการทําเสถียรของเสย
ี ประเภทสารประกอบอะโรมาติก
ไฮโดรคาร์บอน
1 : อาจเกิดสารระเหยออกมาในชว่ งของการผสม
ธิ

2 : เกิดปั ญหาของการคงตัวในระยะยาว
3 : อาจทําให ้แข็งตัวชา้
สท

4 : อาจเกิดการระเบิดได ้

วน
สง

ข ้อที 269 :
สารทีใชทํ้ าก ้อนแข็งแบบใดทีไม่เหมาะสมสําหรับสารกัมมันตรังส ี
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 59/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : ซเี มนต์


2 : เทอร์โมพลาสติก
3 : ปูนขาว

กร
4 : Vitrification

ิ ว
าวศ
ข ้อที 270 :
การทําเสถียรในข ้อใดทีทําให ้ปริมาตรลดลง
สภ
1 : ซเี มนต์
2 : เทอร์โมพลาสติก
3 : ปูนขาว
4 : Vitrification

ข ้อที 271 :
รหัสเลข 3 หลัก ของการปรับเสถียร/ตรึงทางเคมีโดยใชซ ้ เี มนต์หรือวัสดุ pozzolanic (chemical
fixation using cementitious and/or pozzolanic material) ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง

การกําจัดสงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548 คือข ้อใด
ี ใชแล
1 : 068
2 : 071
3 : 073
4 : 099

ข ้อที 272 :
ิ า hydration ในการทําให ้เป็ นก ้อนแข็งด ้วยซเี มนต์
ข ้อใดคือปฏิกริ ย
1 : Al2(SO4)3. 18 H2O + 6 HCO3- ---> 2Al(OH)3 + 3 SO42- +6CO2 + 18 H2O
2 : 3 Zn + 2 FeCl3 ---> 3 ZnCl2 + 2 Fe
3 : 2(3CaO.SiO2) + 6 H2O ---> 3 CaO.2SiO2.3H2O + 3 Ca(OH)2
4 : Me(OH)2 + H2CO3 ---> MeCO3 + 2 H2O

เนือหาวิชา : 642 : 5. Land Disposal


ธิ
สท

ข ้อที 273 :
ี ําคัญทีสุดในการคัดเลือกพืนทีสําหรับการฝั งกลบของเสย
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นเกณฑ์ทส ี อันตราย
วน

1 : ระยะห่างระหว่างแหล่งกําเนิดของเสยี และพืนทีฝั งกลบ


2 : สภาพทางธรณีวท ิ ยาของพืนทีฝั งกลบ
สง

3 : สภาพภูมปิ ระเทศของพืนทีฝั งกลบ


4 : ระบบนิเวศวิทยาในบริเวณพืนทีฝั งกลบ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 60/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 274 :

ิ ว
ิ ต ้องให ้ความสําคัญมากทีสุดในการฝั งกลบของเสย
สงที ี อันตรายคือข ้อใด

าวศ
1 : ก๊าซมีเทนทีเกิดขึน
2 : การทรุดตัวของพืนทีหลังการฝั งกลบ
3 : การปนเปื อนของนํ าใต ้ดิน
สภ
4 : กลิน และพาหะนํ าโรค

ข ้อที 275 :
ิ ําคัญของ Secure Landfill
ข ้อใดคือคุณสมบัตส
1 : ั นซม
มีชนกั ึ รองพืนหลุมอย่างน ้อย 2 ชนั
2 : มีทอ่ ระบายนํ าชะขยะเฉพาะชนกัั นซม ึ ชุดล่างสุด
3 : ท่อระบายนํ าชะขยะต ้องทําด ้วยกระเบืองเท่านันเพือกันการกัดกร่อน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 276 :
ข ้อใดไม่จัดเป็ นการกําจัดแบบ Land Disposal
1 : Landfill
2 : Injection Well
3 : Drying Bed
4 : Waste Piles

ข ้อที 277 :
Secure Landfill เหมาะกับขยะประเภทใด
1 : ี ประเภทกระดาษ
ของเสย
2 : ของเสยี จากครัวเรือน
3 : ของเสย ี จากตลาดสด
4 : ของเสย ี ประเภทภาชนะบรรจุสารเคมี
ธิ
สท

ข ้อที 278 :
แผ่นพลาสติกทีใชปู้ ดาดในหลุมฝั งกลบของเสย
ี อันตรายทําจากวัสดุในข ้อใด
วน

1 : High Density Polypropylene


2 : High Density Polyethylene
สง

3 : Low Density Polypropylene


4 : Low Density Polyethylene
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 61/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 279 :

ิ ว
ข ้อใดทีไม่ควรพบในหลุมฝั งกลบขยะอันตราย

าวศ
1 : Double layer Liner System
2 : Leachate control system
3 : Enriched gas เชน่ Methane
สภ
4 : Cover system

ข ้อที 280 :
Extraction Well หมายถึงข ้อใด
1 : บ่อทีใชส้ ําหรับบําบัดนํ าเสยี อันตราย ด ้วยการดูดสารอันตรายออกจากนํ า
2 : บ่อทีใชอั้ ดนํ าดีเพือเจือจางนํ าใต ้ดินทีถูกปนเปื อนให ้อยูใ่ นมาตรฐานทียอมรับได ้
3 : บ่อทีใชดู้ ดนํ าใต ้ดินทีถูกปนเปื อนขึนมาเพือนํ าไปบําบัด
4 : บ่อทีใชอั้ ดนํ าเสยี อันตรายทีบําบัดแล ้วสูช่ นใต
ั ้ดิน

ข ้อที 281 :
ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบหลักของระบบฝังกลบกากอุตสาหกรรม
1 : ระบบป้ องกันนําชะ
2 : ระบบควบคุมและระบายก๊าซ
3 : ระบบระบายนําใต้ดิน
4 : พืนทีกันชน

ข ้อที 282 :
ข้อใดไม่ใช่ระบบป้องกันและติดตามผลกระทบสิ งแวดล้อมในหลุมฝังกลบ
1 : ระบบติดตามนําชะกากอุตสาหกรรม
2 : ระบบติดตามตรวจสอบก๊าซ
3 : ระบบติดตามตรวจสอบดิน
4 : ระบบติดตามตรวจสอบนําใต้ดิน
ธิ
สท

ข ้อที 283 :
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการปิ ดทับหลุมฝังกลบ
วน

1 : ช่วยลดปริ มาณนําชะกากของเสี ย
2 : ช่วยป้ องกันกลิน
สง

3 : ช่วยป้ องกันการกัดเซาะ
4 : ช่วยเพิมอัตราการย่อยสลาย
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 62/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 284 :
สาเหตุใดจึงจําเป็ นต้องมีปิดทับหลุมฝังกลบ

ิ ว
าวศ
1 : ช่วยลดปริ มาณนําชะกาก
2 : ช่วยป้ องกันกลิน
3 : ช่วยป้ องกันการกัดเซาะ
สภ
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 285 :
ปั จจุบน ี ชนิดใดโดย Secure Landfill
ั ไม่อนุญาตให ้กําจัดของเสย
1 : PCBs
2 : Cyanides
3 : Halogenated organic compounds
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 286 :
ข ้อใดกล่าวถูกต้องเกียวกับ Secure Landfill
1 : ั งกลบต ้องสูงกว่าระดับนํ าใต ้ดินอย่างน ้อย 10 ฟุต
ชนฝั
2 : ั งกลบต ้องปูด ้วยแผ่น HDPE อย่างน ้อย 2 ชน
ชนฝั ั
3 : ั งกลบต ้องปูด ้วยแผ่น flexible-membrane lining
บนชนฝั
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 287 :
หลุมฝั งกลบอย่างปลอดภัย (Secure Landfill) ทีนํ าวัสดุทไม่ ้ ้วทีเป็ นของเสย
ี ใชแล ี อันตรายทีอยูใ่ นรูป
ทีคงตัว (เสถียร) ไปฝั งกลบ จัดเป็ นโรงงานประเภทใด
1 : โรงงานประเภท 101
2 : โรงงานประเภท 104
3 : โรงงานประเภท 105
4 : โรงงานประเภท 106
ธิ
สท

ข ้อที 288 :
วน

ข ้อใดไม่ใชอ่ งค์ประกอบของหลุมฝั งกลบทีต ้องมี ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง การกําจัดสงิ


ปฏิกลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548
ี ใชแล
สง


1 : ระบบกันซม
2 : ระบบรวบรวมก๊าซ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 63/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


3 : ระบบการตรวจสอบการรัวไหล



4 : ระบบบําบัดนํ าเสย

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 289 :
ั องกันของหลุมฝั งกลบของเสย
ข ้อใดเป็ นหน ้าทีของ Geotextile ในชนป้ ี อันตราย
1 : ป้ องกันการซม ึ ผ่านของนํ าชะ
สภ
2 : มีลกั ษณะเป็ นตาข่ายเพือการระบายนํ า
3 : รองรับนํ าหนักของหลุมฝั งกลบให ้มีความแข็งแรงและสามารถรองรับนํ าหนักได ้หลังจากปิ ดหลุม
แล ้ว
4 : ชว่ ยกรองเศษขยะขนาดเล็ก เพือป้ องกันการอุดตันของชนทราย

ข ้อที 290 :
ั นเหนียวในชนป้
ข ้อใดเป็ นหน ้าทีของชนดิ ั องกันของหลุมฝั งกลบของเสย
ี อันตราย
1 : ป้ องกันการซม ึ ผ่านของนํ าชะ

2 : เป็ นชนรองรั บการซม ึ ผ่านของนํ าชะ หาก HDPE ชนที
ั สองชาํ รุดหรือเสอมสภาพ

3 : รองรับนํ าหนักของหลุมฝั งกลบให ้มีความแข็งแรงและสามารถรองรับนํ าหนักได ้หลังจากปิ ดหลุม
แล ้ว
4 : ชว่ ยกรองเศษขยะขนาดเล็ก เพือป้ องกันการอุดตันของชนทราย

ข ้อที 291 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก ี อันตราย
ู ต ้องเกียวกับพืนทีทีไม่เหมาะสมกับการเป็ นทีตังหลุมฝั งกลบของเสย
1 : พืนทีนํ าท่วม (Flood plains) จะเป็ นการยุง่ ยากมากถ ้าในกรณีหลุมฝั งกลบเกิดนํ าท่วม
2 : พืนทีชุม่ นํ า (Wetland) เพราะว่าจะเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์พนทีื ชุม ่ นํ าได ้ ตลอดจนการ
ควบคุมการ ทํางานฝั งกลบจะเกิดความลําบากและต ้องลงทุนสูง
3 : แม่นํา (River) ไม่ควรเลือกสถานทีฝั งกลบใกล ้แม่นํามากเกินไป กล่าวคือ ควรอยูห ่ า่ งจากแม่นํา
มากกว่า 5 กิโลเมตร เป็ นอย่างน ้อย ทังนีเพือป้ องกันภัยจากแม่นําและการปนเปื อนจากหลุมฝั งกลบ
่ ม่นํา
ไปสูแ
4 : พืนทีทีไม่คงตัว (Unstable Areas) ได ้แก่ บริเวณทีเกิดจากการพังทลายของดินหรือโคลน
พืนทีบริเวณทีมีการยุบตัวของดิน ควรหลีกเลียงมากทีสุด
ธิ

ข ้อที 292 :
สท

ข ้อใดไม่ใชเ่ กณฑ์การเลือกทีตังด ้านทางธรณีวท


ิ ยาของพืนที สําหรับหลุมฝั งกลบของเสย
ี อันตราย

1 : ไม่ขวางทางนํ าเพือป้ องกันการชะและการแพร่กระจายของมลสารสูแ ่ หล่งนํ าธรรมชาติ


2 : มีแนวกันชนรอบพืนทีเพือป้ องกันความรําคาญทีอาจก่อให ้แก่พนทีื ข ้างเคียง
วน

3 : สามารถรองรับนํ าหนักได ้มากกว่านํ าหนักของเสยี และอุปกรณ์ทจะกดทั


ี บบนหลุมเพือป้ องกัน
ั น
การทรุดตัวของชนดิ
สง

ั นเป็ นดินเหนียว เพือป้ องกับการซม


4 : ควรตังบนพืนทีทีมีชนดิ ึ ผ่านของนํ าชะขยะสูส่ งแวดล
ิ ้อม
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 64/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 293 :

กร
บ่อตรวจสอบนํ าใต ้ดิน (Monitoring well) มีไว ้เพืออะไร
1 : เพือตรวจสอบโอกาสปนเปื อนของมลพิษจากหลุมฝั งกลบต่อแหล่งนํ าใต ้ดิน

ิ ว
2 : เพือตรวจสอบระดับนํ าใต ้ดิน (well head)

าวศ
3 : เพือตรวจสอบการปนเปื อนของของมลพิษจากหลุมฝั งกลบจาก Surface Runoff
4 : เพือตรวจสอบคุณภาพนํ าชะกากตามแนวทาง Toxicity characteristic leaching procedure
สภ

ข ้อที 294 :
การเก็บนํ าใต ้ดินของบ่อตรวจสอบนํ าใต ้ดิน ต ้องวิเคราะห์พารามิเตอร์ใด
1 : pH, EC, TDS, BOD5, COD, Hydrocarbon
2 : pH, EC, TDS, Alkalinity, Chloride, BOD, COD, Hydrocarbon
3 : pH, EC, TDS, As, Cu, Cr, Cd, Pb, Hg, Ni, Zn
4 : pH, EC, TDS, As, Cu, Cr, Cd, Pb, Hg, Ni, Zn, Hydrocarbon

ข ้อที 295 :
ี อันตรายในชว่ งดําเนิน
ความถีของการตรวจสอบบ่อติดตามตรวจสอบนํ าใต ้ดินของหลุมฝั งกลบของเสย
การ คือ
1 : สป ั ดาห์ละ 1 ครัง
2 : เดือนละ 1 ครัง
3 : ปี ละ 2 ครัง
4 : ปี ละ 1 ครัง

ข ้อที 296 :
ความถีของการตรวจสอบบ่อติดตามตรวจสอบนํ าใต ้ดิน ในชว่ งการดูแลหลุมฝั งกลบของเสย
ี อันตราย
ภายหลังการปิ ดทับถาวร คือ
1 : สป ั ดาห์ละ 1 ครัง
2 : เดือนละ 1 ครัง
3 : ปี ละ 2 ครัง
4 : ปี ละ 1 ครัง
ธิ
สท

ข ้อที 297 :
ี อันตรายด ้วยวิธก
บริษัทในข ้อใดรับอนุญาตให ้กําจัดของเสย ี อันตราย
ี ําจัดโดยหลุมฝั งกลบของเสย
วน

1 : บริษัท ปูนซเี มนต์นครหลวง จํากัด (มหาชน)


2 : บริษัท ิ
บริหารและพัฒนาเพือการอนุรักษ์ สงแวดล ้อม จํากัด
สง

3 : บริษัท บางปู เอนไวรอนเมนทอล คอมเพล็กซ ์ จํากัด


4 : บริษัท สยามเวสท์ แมเนจเม ้นท์ คอนซล ั แทนท์ จํากัด
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 65/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 298 :

ิ ว
จากประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง การกําจัดสงปฏิ ิ กล ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548 ข ้อใดที ผู ้
ี ใชแล

าวศ

บําบัดและกําจัดสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ไม่จําเป็ นต ้องปฏิบต
ี ใชแล ั ิ
้ ากับการขนสง่
1 : ต ้องใชใบกํ
2 : ต ้องมีข ้อมูลผลวิเคราะห์ทางเคมีและกายภาพของสงปฏิ ิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วก่อนการดําเนิน
ี ใชแล
สภ
การบําบัดหรือกําจัด

3 : ต ้องมีผู ้ควบคุมดูแลระบบป้ องกันสงแวดล ้อม
4 : ต ้องมีวศ ิ
ิ วกรสงแวดล ้อมเพือควบคุมการดําเนินงานให ้เป็ นไปตามหลักวิชาการ

ข ้อที 299 :
ข ้อใดไม่ถก ี อันตรายจากชุมชนทีแนะนํ า
ู ต ้องเกียวกับเกณฑ์การคัดเลือกพืนทีจัดตังศูนย์กําจัดของเสย
โดยกรมควบคุมมลพิษ
1 : ไม่ตงอยู
ั ํ
ใ่ นพืนทีนํ าท่วมถึง พิจารณาคาบการเกิดซาในช ว่ ง 100 ปี
2 : ไม่ตงอยูั ใ่ นพืนทีลุม ั ที 1 และ 2
่ นํ าชน
3 : สภาพภูมป ิ ระเทศ ความลาดชน ั ไม่เกิน 15%
4 : อยูเ่ หนือระดับนํ าใต ้ดินอย่างน ้อย 1.5 เมตร

ข ้อที 300 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับคุณสมบัตข ั นเหนียวทีใชเป็
ิ องชนดิ ้ นวัสดุกน ึ ในชนป้
ั ซม ั องกันของหลุมฝั ง
กลบของเสย ี อันตราย
1 : ึ ผ่านนํ า
มีคา่ การซม 10-5 ซม./วินาที หนาอย่างตํา 0.3 เมตร
2 : มีคา่ การซมึ ผ่านนํ า 10-7 ซม./วินาที หนาอย่างตํา 0.9 เมตร
3 : มีคา่ การซม ึ ผ่านนํ า 10-12 ซม./วินาที หนาอย่างตํา 0.3 เมตร
4 : มีคา่ การซม ึ ผ่านนํ า 10-12 ซม./วินาที หนาอย่างตํา 0.9 เมตร

ข ้อที 301 :

ข ้อใดเป็ นการจัดการสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่
ี ใชแล้ ้ว ทีเป็ นของเสย
ี อันตราย ตามประกาศกระทรวง

อุตสาหกรรม เรือง การกําจัดสงปฏิ กลู หรือวัสดุทไม่
ี ใชแล ้ ้ว พ.ศ. 2548
ธิ

1 : ฝั งกลบตามหลักสุขาภิบาล
สท

2 : ั นใต ้ทะเล
อัดฉีดลงบ่อใต ้ดินหรือชนดิ

3 : หมักทําปุ๋ยหรือสารปรับปรุงคุณภาพดิน
4 : ถมทะเลหรือทีลุม ่ (land reclamation)
วน
สง

ข ้อที 302 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 66/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับตําแหน่งของระบบตรวจสอบ (Monitoring) นํ าใต ้ดิน


1 : มีจํานวนบ่ออย่างน ้อย 3 บ่อ อยูต
่ ําแหน่งเหนือทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 1 บ่อ และใต ้

กร
ทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ
2 : มีจํานวนบ่ออย่างน ้อย 4 บ่อ อยูต่ ําแหน่งเหนือทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ และใต ้
ทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ

ิ ว
3 : มีจํานวนบ่ออย่างน ้อย 5 บ่อ อยูต ่ ําแหน่งเหนือทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 1 บ่อ และใต ้

าวศ
ทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ และรอบข ้างอีก 2 บ่อ
4 : มีจํานวนบ่ออย่างน ้อย 6 บ่อ อยูต ่ ําแหน่งเหนือทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ และใต ้
ทิศทางการไหลของนํ าใต ้ดิน 2 บ่อ และรอบข ้างอีก 2 บ่อ
สภ

ข ้อที 303 :
ข ้อใดไม่ใชก่ ารออกแบบการปิ ดหลุมฝั งกลบ
1 : การปิ ดหลุมฝั งกลบตามทีออกแบบไว ้ด ้วยดินถมบดอัดแน่นหนา 30 เซนติเมตร
2 : ผิวดินมีความลาดชน ั อย่างน ้อยร ้อยละ 3 เพือลดการซม
ึ ผ่านของนํ าลงสูช่ นของเส
ั ี


3 : ชนระบายนํ า ประกอบด ้วย วัสดุสงั เคราะห์แบบ geonet ทีมีคา่ สม
ั ประสท
ิ ธิการซม
ึ ผ่านของนํ า
ไม่มากกว่า 3x10-5 ตารางเมตร/วินาที

4 : ดินชนบนเป็ นดินธรรมดาทีเหมาะสมสําหรับปลูกพืชคลุมดินเป็ นชนบนสุั ดมีความหนา 90
เซนติเมตร

ข ้อที 304 :
ข ้อใดไม่ใชข่ ้อควรปฏิบต
ั ห ี อันตราย
ิ ลังจากปิ ดหลุมฝั งกลบของเสย
1 : ดูแลรักษาระดับและความลาดชน ั ของผิวดินและพืชทีใชปกคลุ
้ มหลุมฝั งกลบ
2 : ตรวจสอบการปนเปื อนนํ าใต ้ดิน ต่อไปอีกเป็ นเวลาอย่างน ้อย 30 ปี
3 : รายงานผลการติดตามตรวจสอบการปนเปื อน ทังดิน นํ า และอากาศ แก่หน่วยงานทีเกียวข ้อง
4 : ดูแลระบบรวบรวมกาซมีเทนเพือไปผลิตกระแสไฟฟ้ าให ้อยูใ่ นสภาพทีดี

ข ้อที 305 :
หลุมฝั งกลบของเสย ี อันตรายของ บริษัท โปรเฟสชนแนล
ั เวสต์ เทคโนโลยี (1999) จํากัด (มหาชน)
ตังอยูจ่ ังหวัดอะไร
1 : นครนายก
2 : ระยอง
3 : สระแก ้ว
ธิ

4 : อยุธยา
สท

วน

ข ้อที 306 :
ข ้อใดไม่ใชข่ ้อควรคํานึงในการบําบัดของเสย
ี อันตรายแบบอัดฉีดลงบ่อใต ้ดิน (underground
สง

injection)
ั นมีชอ
1 : ชนหิ ่ งรูพรุนทีจะรับของเสย
ี อันตราย และโดยรอบเป็ นชนที
ั นํ าซม
ึ ผ่านไม่ได ้
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 67/89
4/19/2021 สภาวิศวกร



2 : ต ้องอัดฉีดนํ าให ้ลึกลงไปถึงชนเกลื ั ไม่ลก
อหิน หรือชนที ั าจืด
ึ กว่าชนนํ


3 : บ่อรับของเสย ี อันตรายต ้องตังในพืนทีมีความเสถียร ไม่มรี อยเลือนในชนหิ
ั น ไม่มค ี
ี วามเสยงของ
การเกิดแผ่นดินไหว

กร
4 : ไม่ตงอยู
ั ใ่ นพืนทีป่ าสงวนทีมีความอุดมสมบูรณ์ทางชวี ภาพ

ิ ว
าวศ
ข ้อที 307 :

ข ้อใดคือความเสยงของการบํ ี อันตรายแบบอัดฉีดลงบ่อใต ้ดิน (underground injection)
าบัดของเสย
สภ
1 : การกระจายของมลพิษ ออกสูช ่ นนํ
ั าใต ้ดิน เนืองจากความบกพร่องของบ่อเก็บของเสย

2 : การกระจายของมลพิษ ออกสูช ่ นนํ
ั าใต ้ดิน เนืองการฉีกขาดของแผ่นวัสดุกน ึ
ั ซม
3 : การเกิดเพลิงไหม ้ เนืองจากกาซมีเทนจากการย่อยสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
4 : การกระจายของมลพิษสูส ่ งแวดล
ิ ้อม เนืองจากการปนเบือนในนํ าผิวดิน

ข ้อที 308 :
รหัสเลข 3 หลัก ของการฝั งกลบอย่างปลอดภัยเมือทําการปรับเสถียรหรือทําให ้เป็ นก ้อนแข็งแล ้ว
(secure landfill of stabilized and/or solidified wastes) ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือง

การกําจัดสงปฏิ กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว พ.ศ. 2548 คือข ้อใด
ี ใชแล
1 : 068
2 : 071
3 : 073
4 : 099

ข ้อที 309 :
ึ 2 ชน
ข ้อใดเรียงลําดับถูกต ้องจากข ้างบนไปข ้างล่าง ระบบกันซม ั ของหลุมฝั งกลบแบบปลอดภัย

1 : ชนทราย 30 ซม. ปูทบ ั ด ้วย Geotextile / ระบบรวบรวมนํ าชะ/ HDPE 1.5 มม. / Geonet ปูทบ ั
ด ้วย Geotextile/ ระบบรวบรวมนํ าชะ/ HDPE 1.5 mm มม. /ชนดิ ั นเหนียว 90 ซม./ ชนดิ ั นเดิมอัด
แน่น

2 : ชนทราย 60 ซม. ปูทบ ั ด ้วย Geotextile / ระบบรวบรวมนํ าชะ/ HDPE 1.5 มม. /ชนดิ ั นเหนียว/

HDPE 1.5 mm มม. /ชนระบายอากาศ/ช ั นเหนียว 60 ซม./ ชนดิ
นดิ ั นเดิมอัดแน่น
3 : ชนทรายั 60 ซม. ปูทบ ั นเหนียว 60 ซม. / Geonet ปู
ั ด ้วย Geotextile / HDPE 1.5 มม. /ชนดิ
ทับด ้วย Geotextile/ HDPE 1.5 mm มม. /ชนดิ ั นเหนียว 60 ซม./ ชนดิั นเดิมอัดแน่น
4 : ชนทราย ั 30 ซม. ปูทบ ั
ั ด ้วย Geotextile / ระบบรวบรวมนํ าชะ/ ชนระบายอากาศ/HDPE 1.5 มม.
/ Geonet ปูทบ ั ด ้วย Geotextile/ ระบบรวบรวมนํ าชะ/ HDPE 1.5 mm มม. /ชนดิ ั นเหนียว 90 ซม./
ั นเดิมอัดแน่น
ชนดิ
ธิ
สท

วน

ข ้อที 310 :
ข ้อใดไม่ใชเ่ งือนไขทีกรมโรงงานอุตสาหกรรมได ้กําหนดให ้ บริษัท โปรเฟสชนแนลั เวสต์ เทคโนโลยี
สง

(1999) จํากัด (มหาชน) ปิ ดหลุมฝั งกลบเพือให ้ปรับปรุงแก ้ไข เพือแก ้ไขปั ญหาร ้องเรียน ใน ปี พ.ศ.
2553
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 68/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : ให ้ปรับปรุงคุณภาพนํ าใต ้ดินให ้มีคณ
ุ ภาพเป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพนํ าใต ้ดิน


่ มแซมและจัดหาวัสดุทใช
2 : ให ้ดําเนินการซอ ี ปิ้ ดคลุมหลุมฝั งกลบของเสย
ี อันตราย และหลุมฝั ง
ี ี
กลบของเสยทีไม่เป็ นของเสยอันตรายทังหมด

กร
3 : ให ้ปรับปรุงคุณภาพดินให ้มีคณ ้
ุ ภาพเป็ นไปตามมาตรฐานคุณภาพดินทีใชประโยชน์ เพือการอยู่
อาศยั และการเกษตรกรรม

ิ ว
4 : ให ้ปรับปรุงคุณภาพอากาศให ้ได ้มาตรฐาน

าวศ
สภ
ข ้อที 311 :
ข ้อใดเป็ นปั ญหาสําคัญของ geotextile ทีใชในหลุ
้ ี อันตราย ในระยะดําเนินการ
มฝั งกลบของเสย
1 : ความคงทนต่อ ultraviolet light
2 : clogging
3 : ความคงทนต่อ abrasion
4 : Impact resistance

เนือหาวิชา : 643 : 6. Site Remediation

ข ้อที 312 :
กระบวนการบําบัดและฟื นฟูพนที
ื ทีถูกปนเปื อนในข ้อใด ทีสามารถทําในดิน ณ จุดทีถูกปนเปื อนนันเลย
ได ้ (in-situ remediation)
1 : การเผา (Incineration)
2 : รีเวอร์ส ออสโมซส ิ (Reverse osmosis)
3 : การสกัดไอระเหยจากดิน (Soil vapor extraction)
4 : การล ้างดิน (Soil washing)

ข ้อที 313 :
Superfund เป็ นกองทุนทีจัดตังในสหรัฐอเมริกามีวต
ั ถุประสงค์เพือข ้อใด
1 : ชว่ ยเหลือผู ้ประสบภัยจากอุบต ั ภิ ย
ั ทีเกิดจากสารอันตราย
้ นค่าใชจ่้ ายในการทําความสะอาดพืนทีทีปนเปื อนสารอันตรายทีไม่สามารถหาผู ้รับผิดชอบ
2 : ใชเป็
ได ้
3 : จัดตังหน่วยงานตอบโต ้อุบต ั ภ
ิ ยั กรณีฉุกเฉินจากสารอันตราย
4 : ชว่ ยเหลือประเทศยากจนทีมีปัญหาสงแวดล ิ ้อมทีถูกปนเปื อนด ้วยสารอันตราย
ธิ
สท

ข ้อที 314 :
วน

In-Situ Treatment หมายถึงข ้อใด


1 : การบําบัดของเสยี อันตรายทีใชเทคโนโลยี
้ ทลํ
ี ายุค
สง

2 : การบําบัดของเสย ี อันตรายในโรงบําบัดทีปิ ดมิดชด ิ เพือกันการรัวไหลของสารอันตราย


3 : การบําบัดของเสย ี ภายในบริเวณพืนทีทีเป็ นแหล่งกําเนิดของเสย ี นัน
4 : การบําบัดและกําจัดของเสย ี อันตราย ณ จุดทีเป็ นพืนทีทีปนเปื อนสารอันตราย
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 69/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 315 :

ิ ว
การทํา Containment หมายถึงข ้อใด

าวศ
1 : การป้ องกันการซม ึ ของสารอันตรายสูช ่ นใต
ั ้ดิน
2 : ภาชนะทีจัดเตรียมพิเศษสําหรับบรรจุของเสย ี อันตรายก่อนนํ าไปกําจัด
3 : ภาชนะใสส ่ ารดูดซบ ั ของเสย
ี อันตรายกรณีเกิดการหกหล่น หรือรัวไหล
ี อันตรายด ้วยวิธท
สภ
4 : ถังบําบัดของเสย ี างเคมี

ข ้อที 316 :
ข ้อใด ไม่ใชก่ ารทํา Bioremediation
1 : การเติมจุลน
ิ ทรียพ
์ เิ ศษลงในดินทีถูกปนเปื อนเพือทําลายสารพิษในดิน
2 : การเติมสารอาหารให ้จุลน ิ ทรียท์ มี
ี อยูแ
่ ล ้วในดินเพือเพิมประสทิ ธิภาพในการทําลายสารพิษของ
จุลน
ิ ทรีย ์
3 : การเติมอากาศให ้กับจุลน ิ ทรียท ์ มี
ี อยูแ ั าใต ้ดินเพือเพิมประสท
่ ล ้วในดินหรือชนนํ ิ ธิภาพในการ
ทําลายสารพิษของจุลน ิ ทรีย ์
4 : การเติมสารเคมีลงในดินเพือทําลายสารพิษในดิน

ข ้อที 317 :
ิ ขาดไม่ได ้คือข ้อใด
ในการสกัดสารระเหยง่ายออกจากดินสงที
1 : การบําบัดก๊าซหรือไอของสารปนเปื อนก่อนปล่อย
2 : สํารวจว่าความดันปั มคงทีหรือไม่
3 : ้ ด
เปลียนตัวทําละลายทีใชสกั
4 : นํ าไประเหยเอาไอนํ าออกให ้หมด

ข ้อที 318 :
ข ้อใดไม่ใชข่ ้อดีของการนํ าขึนมากําจัด
1 : สามารถเลือกวิธก ี ําจัดได ้ง่าย
2 : มีแนวโน ้มทีจะกําจัดได ้ง่าย
3 : ไม่กอ ่ ให ้เกิดมลพิษบริเวณพืนดิน
ิ ธิภาพทีแท ้จริงของการบําบัด
ธิ

4 : รู ้ถึงประสท
สท

วน

ข ้อที 319 :
ี อันตรายประเภทใดมากทีสุด
ในประเทศไทย พบของเสย
สง

1 : ตะกอนและของแข็งโลหะหนัก
2 : ตัวทําละลาย (solvent)
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 70/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี ล ้างอัดรูป
3 : นํ าเสย


4 : ขยะติดเชอ ี

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 320 :
ในการบําบัดของเสย ี อันตรายด ้วยวิธท
ี างชวี ภาพ (Bioremediation) ทีปนเปื อนในชนดิ
ั นถ ้าหาก พบว่า
ั นมีคา่ สูงควรจะเลือกการบําบัดอย่างไร
ค่า permeability ของชนดิ
สภ
1 : In situ
2 : Ex situ
3 : Out situ
4 : Above situ

ข ้อที 321 :
กระบวนการในข ้อใดต่อไปนี ทีเป็ นการให ้ความร ้อนทีไม่สงู แก่ ดิน สลัดจ์ ตะกอนทีปนเปื อน เพือระเหย
สารอินทรียร์ ะเหยง่าย (Volatile organic compound) ออกโดยไม่ทําให ้เกิดการเผาไหม ้
1 : Air sparging
2 : Soil venting
3 : Thermal desorption
4 : Catalytic oxidation

ข ้อที 322 :
ข ้อใดเป็ นกระบวนการบําบัดฟื นฟูทปนเปื
ี ้
อน โดยใชกระบวนการทางธรรมชาติ
ในการเก็บกักและลด
ปริมาณความปนเปื อนลง
1 : Natural Attenuation
2 : Natural Elimination
3 : Self Purification
4 : Conservation

ข ้อที 323 :
ในการบําบัดฟื นฟูพนที ื ปนเปื อนเมือต ้องเข ้าไปสํารวจอาคารทีเก็บถังสารเคมีทไม่
ี ทราบชนิด ผู ้ปฏิบต
ั ิ
งานต ้องใสชด่ ่
ุ ป้ องกันสวนบุคคล (Personal Protective Equipment) ระดับใด
ธิ

1 : A
สท

2 : B

3 : C
4 : D
วน
สง

ข ้อที 324 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 71/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


วิธก
ี ารบําบัดฟื นฟูพนที
ื ปนเปื อนในข ้อใด ทีเป็ นวิธท
ี ได ้
ี ้รับการยอมรับ ใชมานานและมี
ข ้อมูลประกอบการ


ตัดสน ิ ใจมาก (Established technology)

กร
1 : Phytoremediation
2 : Pump and treat
3 : Microwave extraction

ิ ว
4 : Vitrification

าวศ
สภ
ข ้อที 325 :
การบําบัดฟื นฟูพนที
ื ในพืนทีทีปนเปื อนด ้วย Benzene ทีมีดน
ิ เป็ นดินร่วนปนทราย ในข ้อใดเหมาะสม
ทีสุด
1 : In-situ Stabilization/Solidification
2 : Thermal desorption
3 : In-situ vartification
4 : Soil Vapor extraction

ข ้อที 326 :
ในการบําบัดฟื นฟูพนที
ื ปนเปื อน การขุดดินปนเปื อนขึนมาเพือทําการบําบัดแบบ ex-situ จะก่อให ้เกิด
ผลกระทบในข ้อใด
1 : ค่าใชจ่้ ายสูง
2 : เกิดปั ญหาเนืองจากฝุ่ น
3 : ่ รรยากาศ
ทําให ้สารปนเปื อนระเหยสูบ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 327 :
ั นทีชุม
ชนดิ ่ ด ้วยนํ าบาดาล เรียกว่าอย่างไร
1 : Vadose zone
2 : Saturated zone
3 : Aquifer
4 : Aquitard
ธิ

ข ้อที 328 :
สท

ั นทีอยูเ่ หนือระดับนํ าบาดาลและไม่อมตั


ชนดิ ่ นํ าบาดาล เรียกว่าอย่างไร
ิ วหรือชุม

1 : Vadose zone
วน

2 : Saturated zone
3 : Aquifer
4 : Aquitard
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 72/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 329 :
ดินชนิดใดต่อไปนีมี Hydraulic conductivity ตําสุด

กร
1 : ดินเหนียว
2 : ดินร่วน

ิ ว
3 : ดินทราย

าวศ
4
สภ : กรวด

ข ้อที 330 :
จงเรียงลําดับความสําคัญในการบําบัดฟื นฟูพนที
ื ปนเปื อน จากมากไปน ้อย
1 : นํ าบาดาล นํ าผิวดินปนเปื อน ดินปนเปื อน
2 : ถังสารเคมีรัว ดินปนเปื อน นํ าบาดาลปนเปื อน
3 : ดินปนเปื อน ถังสารเคมีรัว นํ าบาดาลปนเปื อน
4 : นํ าผิวดินปนเปื อน นํ าบาดาลปนเปื อน ดินปนเปื อน

ข ้อที 331 :
ข ้อใดไม่อยูใ่ นขันตอนในการบําบัดฟื นฟูพนที
ื ปนเปื อนสารอันตราย
1 : การปล่อยให ้ธรรมชาติบําบัด โดยมีการตรวจติดตามและดูแล
2 : ้
การจํากัดหรือกําหนดการใชประโยชน์ ทดิ
ี น
3 : การตรวจภาพถ่ายทางอากาศในอดีต ของบริเวณทีมีการปนเปื อน
4 : ้
การนํ าสารทีปนเปื อนกลับไปใชใหม่

ข ้อที 332 :

ข ้อใดเป็ นการบําบัดดินปนเปื อน โดยใชความร ้อนในการเผาไหม ้สารอินทรียร์ ะเหยง่ายและกึงระเหย
ง่าย
1 : Thermal destruction
2 : Thermal desorption
3 : Vitrification
4 : Soil vapor extraction
ธิ

ข ้อที 333 :
สท


ข ้อใดเป็ นการบําบัดดินปนเปื อน โดยใชความร ้อนในการระเหยสารอินทรียร์ ะเหยง่ายและกึงระเหยง่าย

ออกจากดินทีปนเปื อนนัน
วน

1 : Thermal destruction
2 : Thermal desorption
3 : Vitrification
สง

4 : Soil vapor extraction


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 73/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 334 :

กร
สารในข ้อใดเมือปนเปื อนในดินและนํ าบาดาลจะเกิด Light Aqueous Phase Liquid (LNAPL)

ิ ว
1 : ไตรคลอโรอีธน ี (TCE)

าวศ
2 : เบนซน ี (Benzene)
3 : โครเมียม (Chromium)
4 : ถูกทุกข ้อ
สภ

ข ้อที 335 :
สารในข ้อใดเมือปนเปื อนในดินและนํ าบาดาลจะเกิด Dense Aqueous Phase Liquid (DNAPL)
1 : ไตรคลอโรอีธน ี (TCE)
2 : เบนซน ี (Benzene)
3 : โครเมียม (Chromium)
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 336 :
ข ้อใดต่อไปนีผิด เกียวกับการบําบัดดินทีปนเปื อนแบบ ex-situ bioremediation
1 : ้
โดยทัวไปแล ้ว จะใชเวลาในการบํ าบัดน ้อย
2 : ้
โดยทัวไปแล ้ว จะมีคา่ ใชจ่ายสูง
3 : ิ ธิภาพไม่ด ี ในการบําบัดดินทีแบ่งชนมาก
อาจมีประสท ั
4 : ้
อาจใชกระบวนการหมั ก (composting)

ข ้อที 337 :
การบําบัดฟื นฟูพนที ้ ช
ื ปนเปื อนแบบใดต่อไปนี เป็ นการบําบัดโดยใชพื
1 : Bioventing
2 : Phytoremediation
3 : Soil flushing
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ
สท

ข ้อที 338 :
การบําบัดฟื นฟูพนที ้
ื ปนเปื อนแบบใดต่อไปนี เป็ นการบําบัดโดยใชไฟฟ้ ั ย์สงู ทําให ้สงที
าความต่างศก ิ

ถูกปนเปื อน เชน่ ดิน กลายเป็ นแก ้ว ซงจะคลุ


ึ ิ
มทับสงปนเปื อนไว ้
วน

1 : solidification
2 : chemical extraction
สง

3 : vitrification
4 : incineration
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 74/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 339 :
ถ ้าพบว่า soil distribution coefficient (Kd) ของ Cr(VI) ในหน ้าดินทีปนเปื อนด ้วยกรดโครมิกมีคา่
0.63 mL/g หน ้าดินนีจะเป็ นแหล่งทีทําให ้นํ าบาดาลปนเปื อนจากการซม ึ ชะของนํ าฝนหรือไม่

ิ ว
าวศ
1 : ใช ่ เนืองจาก Cr(VI) จะถูกชะละลายไปอย่างชาๆ ้
2 : ใช ่ เนืองจาก Cr(VI) จะถูกชะละลายไปอย่างรวดเร็ว
3 : ไม่ใช ่ เนืองจาก Cr(VI) จะไม่ถก
ู ชะละลาย
4 : ไม่ใช เนืองจาก Cr(VI) จะถูกรีดวิ ซเ์ ป็ น Cr(III) อย่างรวดเร็ว

สภ

ข ้อที 340 :

ดินทีปนเปื อนด ้วยไซลีน (xylene) ในปริมาณ 3500 mg/kg จะต ้องใชเวลาบํ าบัดอย่างน ้อยเท่าใด เพือ
ให ้เหลือความปนเปื อนของไซลีนในดิน 100 mg/kg เมือการย่อยสลายทางชวี ภาพมีคา่ คงทีอัตราเร็ว
ของปฏิกริ ย
ิ าอันดับทีหนึง เท่ากับ 0.032 /วัน
1 : 36 วัน
2 : 114 วัน
3 : 235 วัน
4 : 479 วัน

ข ้อที 341 :
ั าบาดาล เพือไล่ให ้สารเคมีระเหยง่าย
ในการ กระบวนการใดต่อไปนีทีเป็ นการเป่ าอากาศลงไปในชนนํ
หรือกึงระเหยง่ายออกจากนํ าบาดาลนัน
1 : Air stripping
2 : Air sparging
3 : aeration
4 : soil venting

ข ้อที 342 :
ผลการวิเคราะห์ดน ้
ิ จากพืนทีปนเปื อนของโรงงานทีใชกรดโครมิ ก มีดงั นี
ปริมาณ Cr(VI) ในนํ าชะละลาย ปริมาณ Cr(VI) ในดิน
ตัวอย่าง
(มิลลิกรัมต่อลิตร) (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
1 31.0 17.0
ธิ

2 20.0 10.0
สท

3 13.0 7.5
4 10.0 7.0

5 7.1 4.5
วน

ค่า soil distribution coefficient (Kd) ของ Cr(VI) เป็ นเท่าใด

1 : 0.50 มิลลิลต
ิ รต่อกรัม
สง

2 : 0.59 มิลลิลติ รต่อกรัม


3 : 0.63 มิลลิลต ิ รต่อกรัม
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 75/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


4 : 0.70 มิลลิลต
ิ รต่อกรัม


กร
ิ ว
ข ้อที 343 :

าวศ
ข ้อใดเป็ นการบําบัดฟื นฟูพนที ี อันตรายแบบทีทําในพืนที (in-situ remediation)
ื ปนเปื อนของเสย
1 : Supercritical fluid extraction
2 : Incineration
สภ
3 : Soil vapor extraction
4 : มีข ้อถูกมากกว่า 1 ข ้อ

ข ้อที 344 :
ข ้อใดเป็ นการบําบัดฟื นฟูพนที ี อันตรายแบบทีทํานอกพืนที (ex-situ remediation)
ื ปนเปื อนของเสย
1 : Air sparging
2 : Bioventing
3 : Permeable reactive barrier
4 : Thermal desorption

ข ้อที 345 :
ข ้อใดถูกต ้องเกียวกับการบําบัดฟื นฟูพนที ี อันตรายด ้วยวิธ ี in-situ bioremediation
ื ปนเปื อนของเสย
1 : ปริมาณออกซเิ จนมักเป็ นตัวจํากัดอัตราเร็วปฏิกริ ยิ า
2 : ้
สามารถใชไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ในการเติมออกซเิ จนได ้
3 : เพือให ้ปฏิกริ ย
ิ าดําเนินไปอย่างรวดเร็ว อาจต ้องมีการเติมสารอาหารทีจําเป็ นด ้วย
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 346 :
ถ ้าไตรคลอโรเอธิลน ี (TCE) ทีปนเปื อนในนํ าใต ้ดินมีการย่อยสลายทางชวี ภาพ และมีเวลาครึงชวี ติ
(half life) เท่ากับ 10 ปี สมมติวา่ การย่อยสลายนีเป็ นแบบ exponential ไตรคลอโรเอธิลน ี จะมีคา่ คงที
ของอัตราเร็วปฏิกริ ยิ าเป็ นเท่าไร
1 : 14.4 ต่อวัน
2 : 0.069 ต่อวัน
ธิ

3 : 0.00019 ต่อวัน
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
สท

วน

ข ้อที 347 :
สง

ื ปนเปื อนทางชวี ภาพ (bioremediation) ในข ้อใดทีเป็ นการให ้สารอาหาร


กระบวนการบําบัดฟื นฟูพนที

และออกซเจนแก่จล ุ น
ิ ทรียท
์ มี
ี อยูแ
่ ล ้วในพืนที เพือให ้เกิดการย่อยสลายได ้
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 76/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


1 : Bioventing


2 : Bioconcentration
3 : Biostimulation

กร
4 : Bioaugmentation

ิ ว
าวศ
ข ้อที 348 :
่ ํ าใต ้ดิน มีวธิ ก
เมือมีรัวไหลของสาร DNAPL (Dense Non Aqueous Phase Liquid) ลงสูน ี ารจัดการ
สภ
อย่างไร
1 : Vertical Barrier Wall
2 : Air Sparging
3 : Horizontal Barrier
4 : Air Stripping

ข ้อที 349 :
ข ้อใดเป็ นวิธก
ี ารทีเหมาะสมในการจัดการพืนทีทีมีการปนเปื อนด ้วยสารอินทรียร์ ะเหย (Volatile
Organic Compound: VOC)
1 : Pump and Treat
2 : Vertical Barrier Wall
3 : Soil Vapor Extraction (SVE)
4 : Horizontal Barrier

ข ้อที 350 :
ถังบรรจุ PCE (Perchloroethylene) มีสาร PCE อยู่ 20 ลิตร ถูกเททิงลงบ่อนํ าใต ้ดินทีมีปริมาตร
500,000 ลบ.ม. จงคํานวณหาค่าความเข ้มข ้นของสาร PCE ในนํ าใต ้ดิน (กําหนดให ้ความหนาแน่นของ
สาร PCE = 1.623 กิโกรัมต่อลิตร)
1 : 52.5 ไมโครกรัมต่อลิตร
2 : 64.9 ไมโครกรัมต่อลิตร
3 : 74.5 ไมโครกรัมต่อลิตร
4 : 75.9 ไมโครกรัมต่อลิตร
ธิ

ข ้อที 351 :
สท

ี ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เมตร ถูกทิงลงบนดินทีมีมวลเท่ากับ 1100 กิโลกรัม โดยนํ าเสย


นํ าเสย ี ดังกล่าวมี

ความเข ้มข ้นของสารแคดเมียมเท่ากับ 20 มิลลิกรัมต่อลิตร จงคํานวณหาค่าความเข ้มข ้นของสาร


แคดเมียมในดินในหน่วย มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
วน

1 : 151.25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
2 : 165.11 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
สง

3 : 170.45 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
4 : 181.82 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 77/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 352 :

ิ ว
ในบ่อนํ า 4000 ลูกบาศก์เมตร มีสาร Malathion หกกระจายลง ทําให ้นํ าในบ่อมีความเข ้มข ้นของสาร

าวศ

Malathion ถึง 8 มิลลิกรัมต่อลิตร วิศวกรสงแวดล ้อมได ้เสนอใชดิ้ น 800 กิโลกรัม เพือทําหน ้าทีดูดซบ

สาร Malathion ในบ่อได ้ โดยมีคา่ คงทีของ Langmuir Isotherm a เท่ากับ 0.01 และ b เท่ากับ 4.5
จงคํานวณหาว่านํ าในบ่อจะมีสาร Malathion เหลืออยูก ่ มิ
ี ลลิกรัมต่อลิตร
สภ
1 : 5.27 มิลลิกรัมต่อลิตร
2 : 5.83 มิลลิกรัมต่อลิตร
3 : 6.07 มิลลิกรัมต่อลิตร
4 : 6.44 มิลลิกรัมต่อลิตร

ข ้อที 353 :
ข้อใดเป็ น การทํา Bioremediation
1: การเติมจุลินทรี ยล์ งไปในดินทีถูกปนเปื อนเพือทําลายสารพิษในดิน
2 : การเติมอากาศและสารอาหารให้กบ ั จุลทรี ยท์ ีมีอยูแ่ ล้วในดินเพือเพิมประสิ ทธิภาพในการทําลายสารพิษใน
ดิน
3 : การสร้างจุลินทรี ยช์ นิ ดพิเศษ เพือให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมพืนทีดินทีต้องการทําลายสารพิษทีปน
เปื อน
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 354 :
วิธีการบําบัดแบบ In-Situ Treatment หมายถึงข้อใด
1 : การบําบัดของเสี ยอันตรายชนิ ดพิเศษทีต้องใช้เทคโนโลยีสร้างขึนโดยเฉพาะ
2 : การบําบัดของเสี ยอันตราย ณ จุดทีบนพืนทีปนเปื อนโดยตรง
3 : การบําบัดของเสี ยอันตรายโดยนําของเสี ยออกจากบริ เวณปนเปื อนแล้วไปบําบัดในห้องปฏิบตั ิการ
4 : มีขอ้ ถูกมากกว่า 1 ข้อ
ธิ

ข ้อที 355 :
สท

บ่อทีใช้อดั นําเสี ยอันตรายทีบําบัดแล้วสู่ ชนใต้


ั ดิน หมายถึงบ่อใด

1: Recharge Well
วน

2: Confined Aquifer Well


3: Extraction Well
สง

4: Observed Well
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 78/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 356 :

กร
สารปนเปื อนชนิดใดยังไม่สามารถใช้ Phytoremediation ประยุกต์ในการบําบัดได้
1 : PCBs

ิ ว
2 : PAHs

าวศ
3 : Chlorinated solvents
4 : ถูกทุกข้อ
สภ

ข ้อที 357 :
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกียวกับ Phytoremediation
1 : สารอินทรี ยท
์ ุกชนิดสามารถดูดซึมได้ดว้ ยพืช
2 : ความสามารถในการดูดซึ มสารอินทรี ยพ ์ ิจารณาจากค่า Kow
3 : ethylbenzene ไม่สามารถดูดซึ มได้บริ เวณรากของพืช
4 : benzene มีความสามารถในการระเหยได้ตากว่ ํ า toluene

ข ้อที 358 :
ข้อใดไม่ใช่การบําบัดแบบ Phytoremediation
1 : Phytoextraction
2 : Phytodegradation
3 : Phytovolatilization
4 : Phytooxidation

ข ้อที 359 :
ข ้อใดเป็ นวิธป ี อันตรายออกไปสูส
ี ้ องกันของเสย ่ งแวดล
ิ ้อมรอบนอก
1 : ขุดสร ้างกําแพงดินเหนียวรอบพืนทีปนเปื อน
2 : ี อันตรายระเหยขึนมา
เพิมอุณหภูมใิ ต ้ดินเพือให ้ของเสย
3 : ขุดสร ้างกําแพงดินเหนียวรอบพืนทีและสูบนํ าออก
4 : สูบของเสย ี อันตรายออกจากพืนทีโดยตรง
ธิ
สท

ข ้อที 360 :

ี อันตรายด ้วยกระบวนการทางชวี วิทยาคือข ้อใด


การบําบัดดินทีปนเปื อนของเสย
วน

1 : อัดอากาศลงไปใต ้ดินเพือไล่ของเสย ี อันตรายออก


2 : ี อันตรายระเหยขึนมา
เพิมอุณหภูมใิ ต ้ดินเพือให ้ของเสย
สง

3 : เติมอาหารและอากาศลงใต ้ดินเพือให ้แบคทีเรียกําจัดของเสย ี อันตราย


4 : สูบอากาศใต ้ดินทีปนเปื อนของเสย ี อันตรายออกมาบําบัด
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 79/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
เนือหาวิชา : 644 : 7. Management

ิ ว
าวศ
ข ้อที 361 :
Manifest คือข ้อใด
1 : เอกสารทีใชกํ้ ากับเพือติดตามการเกิด การขนสง่ และ การกําจัดของเสย ี อันตราย
สภ
2 : การเก็บรวบรวมขยะอันตรายด ้วยแรงคนเป็ นหลัก
3 : ี ารใช ้ และวิธแ
เอกสารกํากับสารอันตราย เพือให ้รายละเอียดตัวสาร วิธก ี ก ้ไขกรณีหกหล่น
4 : การติดตามดูแลการจัดเก็บของเสย ี อันตรายของโรงงาน โดยภาครัฐ

ข ้อที 362 :
ี อันตรายโดยตรง
หน่วยงานใดของรัฐมีหน ้าทีรับผิดชอบเกียวกับของเสย
1 : สํานักงานแผนและนโยบายสงแวดล
ิ ้อม
2 : การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
3 : กรมควบคุมมลพิษ
4 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ข ้อที 363 :
ลําดับความสําคัญในการจัดการของเสย ี อันตราย (Hazardous Waste Management Hierarchy) ที
กําหนดโดย U.S. EPA ในข ้อใดต่อไปนีทีเรียงลําดับได ้อย่างถูกต ้อง 1) การบําบัด 2) การทิง 3) การ

ลดทีจุดกําเนิด 4) การนํ ากลับมาใชใหม่
1 : 2-1-3-4
2 : 3-4-2-1
3 : 3-4-1-2
4 : 1-2-3-4

ข ้อที 364 :
หน่วยงานใดดังต่อไปนีของประเทศสหรัฐอเมริกา ทีมีหน ้าทีรับผิดชอบคล ้ายกับกรมควบคุมมลพิษ
ของประเทศไทย
ธิ

1 : U.S.GS
สท

2 : U.S.MC

3 : U.S.DOE
4 : U.S.EPA
วน
สง

ข ้อที 365 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 80/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี อันตราย ข ้อปฏิบต
ในแง่ของการคัดแยกของเสย ั ใิ ดไม่ควรกระทํา


1 : แยกของเสย ี อันตรายทีเป็ นอันตรายออกจากขยะทัวไป

กร
2 : ใชนํ้ าฉีดล ้างพืนทีมีวสั ดุอน ่ นพืนบางสว่ น
ั ตรายอยูบ
3 : ไม่นําของเสย ี อันตรายทีเป็ นของแข็งผสมกับนํ าแล ้วทิงลงท่อระบายนํ า
4 : มีแบบพิมพ์เขียวแสดงรายละเอียดการวางท่อระบายนํ า

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 366 :
รถขนขยะประเภทใดไม่เหมาะทีจะใชกั้ บขยะอันตรายและขยะรีไซเคิล
1 : รถอัดขยะชนิด 6 ล ้อ
2 : รถยนต์บรรทุกขยะแบบเปิ ดข ้าง
3 : รถบรรทุกเทท ้าย 6 ล ้อ
4 : รถยนต์บรรทุกขยะแบบขอเกียว

ข ้อที 367 :
การเก็บไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ควรทําอย่างไร เพือป้ องอันตรายอันอาจเกิดขึนได ้
1 : จัดเก็บในขวดสช ี า เพือลดความรุนแรงจากแสงแดด
2 : เก็บในตู ้เย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
3 : เก็บให ้ห่างจากนํ าและความร ้อน
4 : เก็บในทีมืดและอากาศถ่ายเทได ้ดี

ข ้อที 368 :
การเก็บอีเทอร์ควรทําอย่างไร เพือป้ องอันตรายอันอาจเกิดขึนได ้
1 : จัดเก็บในขวดสช ี า เพือลดความรุนแรงจากแสงแดด
2 : เก็บในตู ้เย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
3 : เก็บให ้ห่างจากนํ าและความร ้อน
4 : เก็บในทีมืดและอากาศถ่ายเทได ้ดี

ข ้อที 369 :
ิ ต ้องมีการกําหนดสําหรับการขนสง่ กากของเสย
สงที ี อันตราย คือข ้อต่อไปนี ยกเว ้นข ้อใด
ธิ

1 : ้
เสนทางที ้
ใชในการเดิ นทางโดยละเอียด
สท

2 : ื
รายชอคนขับ และผู ้ร่วมทาง
3 : ้
ชนิดของยานพาหนะทีใชในการขนส ง่

4 : ปริมาณของสารเคมีทใช ้
ี ในการขนส ง่
วน
สง

ข ้อที 370 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 81/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


การคัดแยกกระป๋ องสเปรย์ทใช ้ ้วให ้ทําดังต่อไปนี ยกเว ้นข ้อใด
ี แล


1 : ิ เชน
จัดเก็บไว ้ในภาชนะทีปิ ดมิดชด ่ ลังไม ้

กร
2 : เจาะกระป๋ องและบีบให ้แบนไล่อากาศออกให ้หมด
3 : ถอดฝาฉีดสเปรย์ออก
4 : แยกเป็ นขยะประเภทกระป๋ องโลหะ

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 371 :
Poly Chlorinated Biphenyls (PCBs) เป็ นสารอันตรายและไม่มก
ี ารนํ าเข ้ามาตังแต่ ปี 2518 แล ้ว แต่
ยังพบได ้ในกากของเสยี ประเภทไหน
1 : ถังเก็บประจุไฟฟ้ า
2 : กากของเสย ี จากกิจกรรมล ้างภาพ
3 : กากของเสย ี จากโรงงานชุบโลหะ
4 : ไม่มกี ารพบอีก ตังแต่ปี 2520 เป็ นต ้นมา

ข ้อที 372 :
ี อันตราย
ข ้อใดคือปั ญหาของของเสย
1 : การเก็บรวบรวมและขนสง่ ของเสย ี อันตรายยังไม่ถก
ู ต ้องเหมาะสม
2 : การขาดการบําบัดหรือกําจัดอย่างถูกวิธ ี
3 : การลักลอบทิงของเสยี อันตรายในสถานทีสาธารณะ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 373 :
ี อันตรายคือข ้อใด
สาเหตุของปั ญหาของเสย
1 : ระบบการจัดการของเสย ี อันตรายยังไม่ครอบคลุมครบทุกแหล่งกําเนิด
ี อันตรายทีมีอยูไ่ ม่เพียงพอ
2 : ระบบกําจัดของเสย
ี อันตรายทีขาดการ
3 : ประชาชนยังขาดความรู ้ และความเข ้าใจถึงอันตรายทีจะเกิดขึน จากของเสย
จัดการทีถูกต ้อง
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ

ข ้อที 374 :
อนุสญั ญาสตอกโฮล์มว่าด ้วยสารมลพิษทีตกค ้างยาวนาน คืออะไร
สท

1 : SOPs

2 : POPs
วน

3 : STPs
4 : OPTs
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 82/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 375 :


สนธิสญ ั ญาทีเกียวข ้องกับการเคลือนย ้ายของเสย
ี อันตรายข ้ามเขตแดนคือข ้อใด

กร
1 : ั ญาเกียวโต
สนธิสญ
2 : สนธิสญั ญาบาเซล
ั ญาเจนนีวา

ิ ว
3 : สนธิสญ
4 : สนธิสญ ั ญาสตอกโฮล์ม

าวศ
สภ
ข ้อที 376 :
อนุสญั ญาใดเกียวข ้องกับการคุ ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสงแวดล
ิ ้อมจากสารมลพิษที
ตกค ้างยาวนาน
1 : ั ญาเกียวโต
สนธิสญ
2 : สนธิสญั ญาบาเซล
3 : สนธิสญ ั ญาเจนนีวา
4 : สนธิสญ ั ญาสตอกโฮล์ม

ข ้อที 377 :
ี ี (PCB) มีหมายเลข 4 ตัวตามหลังชอทางการค
ผลิตภัณฑ์ทางการค ้าของสารพีซบ ื ึ
้าซงหมายเลข 2 ตัว
หลังหมายถึงข ้อใด
1 : ็ ต์คลอรีน
เปอร์เซน
2 : จํานวนอะตอมคลอรีน
3 : เปอร์เซน็ ต์ฟอสเฟต
4 : จํานวนอะตอมฟอสเฟต

ข ้อที 378 :

สงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วดังต่อไปนี ได ้รับการยกเว ้นไม่ต ้องปฏิบต
ี ใชแล ั ต
ิ ามประกาศกระทรวง

อุตสาหกรรม เรืองการกําจัดสงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว (พ.ศ. 2548)
ี ใชแล
1 : กากกัมมันตรังส ี
2 : ี ทีสง่ ไปบําบัดนอกบริเวณโรงงานทางท่อสง่
นํ าเสย
3 : ิ
สงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วทีไม่เป็ นของเสย
ี ใชแล ี อันตราย จากสํานักงาน บ ้านพักอาศย

4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ
สท

ข ้อที 379 :


ตามกฎหมาย ผู ้ประกอบการต ้องไม่ครอบครองสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้วไว ้ภายในโรงงานเกินระยะ
ี ใชแล
วน

เวลาเท่าใด
1 : 30 วัน
สง

2 : 60 วัน
3 : 90 วัน
4 : 120 วัน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 83/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 380 :

ิ ว

สงใดที ิ
ผู ้ประกอบกิจการบําบัดหรือกําจัดสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ต ้องมีตามกฎหมาย
ี ใชแล

าวศ
1 : แผนการป้ องกันอุบต
ั ภ
ิ ย
ั เพือรองรับเหตุฉุกเฉิน
2 : รายงานการเงินประจําปี
3 : รายงานกระบวนการบําบัดและสารเคมีทใช ้
ี โดยละเอี
ยด
สภ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 381 :
ี อันตรายในข ้อใดต่อไปนี ทีได ้รับการยกเว ้นให ้ไม่ต ้องปฏิบต
ผู ้ครอบครองของเสย ั ต ี
ิ ามกฎหมายของเสย
อันตราย
1 : ี อันตรายในครอบครอง 2000 กิโลกรัมต่อเดือน ขึนไป
มีของเสย
2 : มีของเสยี อันตรายในครอบครอง 1000 กิโลกรัมต่อเดือน ขึนไป
3 : มีของเสย ี อันตรายในครอบครองไม่เกิน 500 กิโลกรัมต่อเดือน
4 : มีของเสย ี อันตรายในครอบครองไม่เกิน 100 กิโลกรัมต่อเดือน

ข ้อที 382 :
ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับรหัสของชนิดและประเภทของสงปฏิิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ตามประกาศ
ี ใชแล
กระทรวงอุตสาหกรรม เรืองการกําจัดสงปฏิิ กล
ู หรือวัสดุทไม่
ี ใชแล้ ้ว (พ.ศ. 2548)

1 : มีการกําหนดรหัสเฉพาะของสงปฏิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว โดยใชรหั
ี ใชแล ้ สเลข 7 หลัก
2 : เลข 2 หลักกลาง แสดงถึงกระบวนการเฉพาะในการประกอบกิจการทีทําให ้เกิดสงปฏิ ิ กล
ู หรือ
วัสดุทไม่ ้ ้ว
ี ใชแล
3 : เลข 2 หลักแรกแสดงถึงประเภทของการประกอบกิจการ
4 : เลข 2 หลักสุดท ้าย แสดงถึงลักษณะเฉพาะของสงปฏิิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว
ี ใชแล

ข ้อที 383 :
การทดสอบสงปฏิ ิ กล
ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว โดยนํ ามาสกัดด ้วยวิธ ี Waste Extraction Test (WET) จะ
ี ใชแล
ทําขึนก็ตอ่ เมือ ค่าความเข ้มข ้นทังหมด (Total Concentration) ของสารอันตรายใดๆ เป็ นไปตามข ้อ
ใด
ธิ

1 : มีคา่ ไม่เกินค่า TTLC แต่มค ี า่ เท่ากับหรือมากกว่าค่า STLC ของสารนัน


2 : มีคา่ ไม่เกินค่า STLC แต่มคี า่ เท่ากับหรือมากกว่าค่า TTLC ของสารนัน
สท

3 : มีคา่ ไม่เกินค่า STLC แต่มค ี า่ เท่ากับหรือมากกว่าค่า TCLP ของสารนัน


4 : มีคา่ ไม่เกินค่า TCLP แต่มค


ี า่ เท่ากับหรือมากกว่าค่า STLC ของสารนัน
วน
สง

ข ้อที 384 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 84/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรืองการกําจัดสงปฏิิ กล ู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว (พ.ศ. 2548) กําหนดให ้
ี ใชแล


แผนป้ องกันอุบต
ั ภ
ิ ย
ั และแผนฉุกเฉิน ต ้องประกอบด ้วยรายละเอียดในข ้อใดต่อไปนี

กร
1 : ขันตอนและวีธกี ารปฏิบต
ั ิ ในการตอบสนองต่ออัคคีภย
ั การระเบิด หรือการรัวไหล
2 : การเตรียมการกับหน่วยงานท ้องถิน
3 : แผนการหนีภยั สําหรับบุคลากรของสถานประกอบการ

ิ ว
4 : ถูกทุกข ้อ

าวศ
สภ
ข ้อที 385 :

การสกัดด ้วยวิธ ี Waste Extraction Test (WET) เพือวิเคราะห์หาค่าสารทีระเหยได ้ เชน
trichloroethylene จะต ้องปฏิบตั ต
ิ ามข ้อใด
1 : เติมนํ าสกัดลงในตัวอย่าง จากนันนํ าของผสมไปไล่อากาศด ้วยก๊าซไนโตรเจน
2 : ไล่อากาศและออกซเิ จนออกจากนํ าสกัด ก่อนทีจะเติมลงในตัวอย่าง
3 : ใสน่ ํ าสกัดลงในตัวอย่างในขวดทีมีฝาปิ ดมิดชด

4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 386 :
้ ธ ี Waste Extraction Test (WET) เป็ นสารใด
นํ าสกัดทีใชในวิ
1 : ั ฟิ วริกและกรดไนตริก
กรดซล
2 : กรดอะซต ิ ก

3 : กรดซติ ริก
4 : กรดไฮโดรคลอริก

ข ้อที 387 :
โรงงานทีจะประกอบกิจการปรับสภาพของเสย ี รวม ทีเป็ นสงปฏิ
ิ กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ต ้องขอใบ
ี ใชแล
อนุญาตเป็ นโรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
1 : 101
2 : 105
3 : 106
4 : ผิดทุกข ้อ
ธิ

ข ้อที 388 :
สท


โรงงานทีจะประกอบกิจการคัดแยก และ/หรือฝั งกลบสงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ต ้องขอใบอนุญาต
ี ใชแล

เป็ นโรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
วน

1 : 101
2 : 105
3 : 106
สง

4 : ผิดทุกข ้อ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 85/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 389 :

กร

โรงงานทีจะประกอบกิจการนํ ากลับมาใชประโยชน์ ิ
สงปฏิ
กลู หรือวัสดุทไม่ ้ ้ว ต ้องขอใบอนุญาตเป็ น
ี ใชแล
โรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ิ ว
1 : 101
2
3
4
าวศ
:
:
:
105
106
ผิดทุกข ้อ
สภ

ข ้อที 390 :
การปฏิบต ั ใิ นข ้อใด ไม่ จัดเป็ นการลดมลพิษทีแหล่งกําเนิด
1 : การลดการใชนํ้ าในการล ้างผลิตภัณฑ์
2 : การบําบัดโลหะหนักในนํ าเสยี ให ้ได ้มาตรฐานก่อนปล่อยสูส
่ งแวดล
ิ ้อม
3 : การจัดระเบียบสถานทีในโรงงานให ้เรียบร ้อยและเป็ นระเบียบ
4 : ้
การเปลียนไปใชสารเคมี ทเป็
ี นอันตรายน ้อยลงในกระบวนการผลิต

ข ้อที 391 :
การปฏิบต ั ใิ นข ้อใดเป็ นการลดมลพิษทีแหล่งกําเนิด
1 : การแยกของเสย ี อันตรายออกจากของเสย ี ไม่อน
ั ตราย
2 : ้
การนํ าสารเคมีกลับมาใชใหม่ ในกระบวนการผลิต
3 : การเผาทําลายของเสย ี ในโรงงาน
4 : การแลกเปลียนของเสย ี กับโรงงานอืน

ข ้อที 392 :
ข ้อใดเป็ นการปฏิบต
ั ท
ิ ไม่
ี ถกู ต ้อง
1 : การแยกของเสย ี อันตรายออกจากของเสย ี ไม่อน
ั ตราย
2 : ี นกรดหรือด่าง ก่อนสง่ บริษัทรับกําจัดของเสย
การทําสะเทินสารเคมีทเป็ ี
3 : การเก็บสารเคมีในห ้องทดลองให ้เป็ นระเบียบบนชน ั เรียงตามตัวอักษรของชอสาร

4 : มีคําตอบมากกว่าหนึงข ้อ
ธิ
สท

ข ้อที 393 :


ข ้อใดต่อไปนีทีกําหนดให ้ผู ้ผลิตเครืองใชไฟฟ้ าทีสง่ ไปจําหน่ายในประเทศในกลุม
่ EU รับซากเครืองใช ้
วน

ไฟฟ้ านันกลับมาบําบัดเอง
1 : WEEE
สง

2 : ISO
3 : GRI
4 : EMS
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 86/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 394 :

ิ ว
ข ้อใดต่อไปนีมีการกําหนดปริมาณโลหะหนักในผลิตภัณฑ์ตา่ งๆที สง่ ไปจําหน่ายในประเทศในกลุม
่ EU

าวศ
1 : WEEE
2 : RoHS
3 : IEEE
สภ
4 : EMS

ข ้อที 395 :
ข ้อใดไม่เกียวข ้องกับ “Resource Conservation and Recovery Act (RCRA)”
1 : “Cradle-to-grave” concept
2 : Hazardous waste identification system
3 : Hazard Ranking System
4 : Manifest system

ข ้อที 396 :
ข ้อใดคือคําจํากัดความของ Material safety data sheet (MSDS)
1 : เอกสารกํากับการขนสง่ แสดงรายละเอียดการติดตามการขนสง่ วัตถุอน ั ตราย
2 : เอกสารชุดตัวเลขโดยแต่ละชุดจะหมายถึง สารทีสามารถแสดงสูตรได ้ในเชงิ อะตอม การจับของ

อะตอม และโครงสร ้าง 3 มิต ิ ซงประกอบด ้วยชุดตัวเลขไม่เกิน 9 หลัก (xxxxxx-xx-x) ใชส้ ําหรับ
ตรวจสอบความถูกต ้องของตัวเลขทังชุดด ้วยคอมพิวเตอร์
3 : เอกสารข ้อมูลความปลอดภัยเคมีภณั ฑ์ แสดงรายละเอียดความปลอดภัยเบืองต ้นทางด ้านข ้อมูล
กายภาพ อันตรายต่อสุขภาพอนามัย การปฐมพยาบาล การดับเพลิง การจัดการกรณีหกรัวไหล
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบุคคล
4 : ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 397 :
ิ ดกระบวนการดําเนินการตามระบบเอกสารกํากับการขนสง่ ของเสย
เมือสนสุ ี อันตราย (Manifest
ี อันตราย (Hazardous waste generator) จะต ้องมีเอกสารกํากับการขนสง่
system) ผู ้กําเนิดของเสย

ของเสยอันตราย (Hazardous waste manifest document) จํานวนรวมทังหมดกีฉบับ (ฉบับใดบ ้าง)
ธิ

1 : 1 ฉบับ (ฉบับที 1)
สท

2 : 2 ฉบับ (ฉบับที 1 และ 2)


3 : 1 ฉบับ (ฉบับที 2)
4 : 2 ฉบับ (ฉบับที 2 และ 6)
วน
สง

ข ้อที 398 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 87/89
4/19/2021 สภาวิศวกร


ี อันตรายต ้องขออนุญาตองค์กรใด
การขนย ้ายของเสย


1 : ิ
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงแวดล ้อม

กร
2 : สํานักจัดการของเสย
ี และขยะอันตราย
3 : การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
4 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 399 :
กองทุนประเภท Superfund เป็ นกองทุนทีจัดตังในทีใด และเพือจุดประสงค์ใด
1: จัดทีเยอรมัน เพือช่วยเหลือผูท้ ีประสบภัยจากสารอันตราย
2 : จัดทีเยอรมัน เพือช่วยเหลือสําหรับโรงงานทีต้องการค่าใช้จ่ายในการบําบัดจากการปนเปื อนสารอันตราย
3 : จัดทีอเมริ กา เพือเป็ นค่าใช้จ่ายในการทําความสะอาดพืนทีทีปนเปื อนสารอันตรายทีไม่สามารถหาผูม้ ารับผิด
ชอบได้
4 : จัดทีอเมริ กา เพือแก้ปัญหาทีเกิดจากการปนเปื อนของเสี ยอันตรายในแหล่งแม่นาํ หรื อ มหาสมุทร

ข ้อที 400 :
ข้อใดไม่ใช่ผลประโยชน์จากการทีไทยได้เข้าร่ วมลงนามกับอนุสญ
ั ญาบาเซล (Basel Convention)
1: ได้รับสิ ทธิในการส่ งออกของเสี ยอันตราย ไปกําจัดในประเทศภาคีซึงมีเทคโนโลยีทีเหมาะสม และมีความ
สามารถใน การกําจัดของเสี ยอันตราย
2 : จะได้รับความคุม ้ ครอง และความช่วยเหลือทังทางด้านวิชาการ และด้านการเงิน จากกองทุนหมุนเวียน เพือ
แก้ไขปั ญหากรณี เกิดอุบตั ิเหตุ อันเนืองมาจากการขนส่ ง เคลือนย้าย และกําจัดของเสี ยอันตราย
3 : จะได้รับความช่วยเหลือด้านวิชาการ และเทคโนโลยีต่างๆ จากประเทศภาคีทีพัฒนาแล้ว เพือปรับปรุ ง แก้ไข
ปั ญหาการจัดการของเสี ยอันตรายภายในประเทศ
4 : สามารถค้าขายกับประเทศภาคี และนอกภาคี ในการส่ งออก และนําเข้าเกียวกับของ เสี ยอันตรายได้ทุกชนิ ด
และทุกวิธีการ

ข ้อที 401 :
ข้อใดไม่ใช่ กฎหมายหลัก 3 ฉบับทีเกียวข้องกับการจัดการสารอันตรายในประเทศไทย
1: พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย
ธิ

2: พระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์
สท

3: พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน

4: พระราชบัญญัติเทศบาล
วน
สง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 88/89
4/19/2021 สภาวิศวกร

ข อ
สภาวิศวกร 487/1 ซอย รามคําแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310
สายด่วน 1303 โทรสาร 02-935-6695

กร
ิ ธิ 2555 สภาวิศวกร : ติดต่อสภาวิศวกร | Contact
@ สงวนลิขสท

ิ ว
าวศ
สภ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=92&aDb=0 89/89

You might also like